ความพึงพอใจของผู้จัดการร้าน 7-Eleven ที่มีต่อนักเรียน

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย ... วิทยาศาสตร์ ... ข้อสอบ...

5 downloads 256 Views 3MB Size
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก

โดย นางสาวอรอุมา

สิงห์สวัสดิ์

วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก

โดย นางสาวอรอุมา

สิงห์สวัสดิ์

วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556

ก ชื่อโครงการวิจัย : คณะผู้วิจัย

:

พ.ศ.

:

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก นางสาวอรอุมา สิงห์สวัสดิ์ อาจารย์ประจาแผนกวิชาพื้นฐานสามัญ ภาควิชาพื้นฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เมษายน 2557

บทคัดย่อ ในสังคมปัจจุบันนี้คอมพิวเตอร์ถือเป็นสิ่งสาคัญอีกอย่างในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในทุก ๆ ด้าน ดังเช่น ด้านการศึกษาคอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยในการนาเสนอสิ่งต่าง ๆได้อย่างน่าสนใจและเป็นระบบ และเป็น ระบบมัลติมีเดีย ทาให้เกิดความเพลิดเพลินจากสีสัน เสียงและรูปแบบในการนาเสนอ ทาให้ผู้ที่ทาการเรียนรู้ เกิดประสบการณ์และมีกระบวนการในการเรียนรู้ที่เป็นระบบและเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังสามารถใช้ ในการทบทวนซ้าแล้วซ้าเล่าได้อีกเป็นอย่างดี เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม มีข้อสอบเพื่อใช้ทดสอบความสามารถ ในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) จึงมีความจาเป็นในการ เรียนรู้ของนักเรียนในยุคปัจจุบัน ผู้ทาวิจัยทาการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ จึงมีความประสงค์ จะสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก เพื่อใช้เป็นสื่อการสอนเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนมีความ สนใจในบทเรียนและสามารถนา บทเรียนกลับไปทบทวนได้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียน วิธีการวิจัยได้รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบ ประเมินประสิทธิภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก โดยครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชาพื้นฐาน จานวน 5 คน เป็นผู้ประเมินประสิทธิภาพของสื่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ผลการวิจัย พบว่าผลการประเมินประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ด้านที่ 1 ความถูกต้องด้านเนื้อหา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.2 ระดับ คุณภาพ ดี ด้านที่ 2 ด้านการใช้ภาษา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.3 ระดับคุณภาพ ดี ด้านที่ 3 ด้านเทคนิคภาพ ระดับ คะแนนเฉลี่ย 4.3 ระดับคุณภาพ ดี

ข กิตติกรรมประกาศ การวิจัย ฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยดีเพราะได้รับความกรุณาอย่างสูงจาก อาจารย์วิสิทธิ์ งามเลิศชัย ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ดร.กิตติ รัตนราษี รองผู้อานวยการ สานักบริหารวิชาการ วิทยาลัย เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ซึ่งเป็นอาจารย์ผู้ส่งเสริมและควบคุมในการทาวิจัยใน ครั้งนี้ บริษัท CP-ALL จากัด มหาชน ได้ให้ทุนสนั บสนุนในการทาการวิจัยในครั้งนี้ เจ้าหน้าที่ด้านหลักสูตรและการสอนได้กรุณาให้ คาแนะนา แนวคิดและข้อเสนอแนะ อาจารย์ภาคบริหารธุรกิจ อาจารย์แผนกคอมพิวเตอร์ได้ให้คาแนะนาในการ จัดทาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อาจารย์ผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ วิทยาลัย เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 4 ท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ในการประเมินประสิทธิภาพของสื่อ ตลอดจนแก้ไข ข้อบกพร่องและอานวยความสะดวกในการติอต่อประสานงานต่างๆ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ท้ายสุดนี้ ขอกราบ ขอบพระคุณ คณะผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู- อาจารย์- เจ้าหน้าที่ วิทยาลัย เทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ที่ได้ให้ความสะดวกกับผู้วิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณมา ณ โอกาศนี้ ผู้จัดทา

ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ...............…………………………………………………..…………….…………..…….. ก กิตติกรรมประกาศประกาศ.……………………………………………..……………………...…… ข สารบัญ...……………………………………………………..……….………………..………...…... ค สารบัญตาราง………………………………………………..……………….……………..………… จ สารบัญภาพ………………………………………………..……………….……………..…...……… ฉ บทที่ 1 บทนา …………………………………………………………………………………...…… 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา .................................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ........................................................................................... 1 ความสาคัญของการวิจัย.............................................................................................. 1 ขอบเขตของการวิจัย................................................................................................... 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ..................................................................... 3 นิยามศัพท์เฉพาะ ....................................................................................................... 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ………………….……..……..…….………………………... 4 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรัปรุง 2546)................... 4 ทฤษฎีบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง…………….……………………. 8 หลักการพื้นฐานในการพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูป ....................................................... 11 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน................................................................................................ 13 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง .................................................................................................... 16 บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย…………………………………………………………..…….…...……... 18 ประชากร ……………………………..…………………………….…………...… 18 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ......................................................................... 18 การเก็บรวบรวมข้อมูล ……………………......………………………....…...……. 19 วิธีวิเคราะห์ข้อมูล ……….………………....….…...……………………...………. 21 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ………………..……...…...………..….…………. 21

สารบัญ (ต่อ)

ง หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ……………………………………………..…………………..…… 22 บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ .................................................................................... 23 บรรณานุกรม ....................................................................................................................................... 37 ภาคผนวก ………………………………………….………………………………………………...26 ประวัติผู้วิจัย

จ สารบัญตาราง ตารางที่ 3.2 4.1

หน้า กาหนดช่วงเวลาของกิจกรรม................................................................................... 20 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน .....................23 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก

ฉ สารบัญภาพ ภาพที่

หน้า

3.1. แสดงขั้นตอนการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน..........................………….….…...……..19

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาการวิจัย ในสังคมปัจจุบันนี้คอมพิวเตอร์ถือเป็นสิ่งสาคัญอีกอย่างในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในทุกทุกด้าน ดังเช่น ด้านการศึกษาคอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยในการนาเสนอสิ่งต่าง ๆได้อย่างน่าสนใจและเป็นระบบ และเป็น ระบบมัลติมีเดีย ทาให้เกิด ความเพลิดเพลินจากสีสัน เสียงและรูปแบบในการนาเสนอ ทาให้ผู้ที่ทาการเรียนรู้ เกิดประสบการณ์และมีกระบวนการในการเรียนรู้ที่เป็นระบบและเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังสามารถใช้ ในการทบทวนซ้าแล้วซ้าเล่าได้อีกเป็นอย่างดี เมื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติม มีข้อสอบ เพื่อใช้ทดสอบความสามารถ ในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี เพราะเมื่อผู้เรียนได้หัดทาข้อสอบมากเท่าไรก็ตามผู้เรียน ก็จะเกิดการ เรียนรู้และมีความชานาญและเกิดเป็นประสบการณ์ทางการเรียนรู้ในวิชานั้นต่อไป เพราะฉะนั้นบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI ) จึงมีความจาเป็นในการเรียนรู้ของนักเรียนในยุคปัจจุบัน ผู้วิจัยทาการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ จึงมีความประสงค์ จะ จัดพัฒนาสื่อการสอน โดยจัดทาสื่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก เพื่อ ใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI ) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI ) เรื่อง ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีกในการพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) 1.3 ความสาคัญของการวิจัย 1. เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนและใช้ในการทบทวนเนื้อหา รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) หัวข้อเรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อพัฒนาสื่อการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2 1.4 ขอบเขตของการวิจัย 1.4.1. ผู้ศึกษาและกลุ่มประชากร 1.4.1.1 ผู้ศึกษาวิจัย ในฐานะ ครูผู้สอน หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชาสามัญวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 1.4.1.2 กลุ่มประชากร ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์จานวน 5 ท่าน แผนกพื้นฐาน สามัญ ภาควิชาพื้นฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 1.4.2. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 1.4.2.1 เนื้อหา การวิจัยครั้งนี้เป็นการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เพื่อพัฒนาสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในเนื้อหาสาระต่อไปนี้ 1.4.2.1.1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.4.2.2 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในงานวิจัยในครั้งนี้ ใช้โปรแกรม Microsoft Power Point 2007 1.4.2.3 กลยุทธ์ ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ใช้กลยุทธ์ นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ที่ผลิตขึ้น นาไปหาประสิทธิภาพโดยการประเมิน ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดย ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชาพื้นฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จานวน 5 คน 1.4.2.4 วิธีดาเนินการ 1.4.2.4.1 ศึกษาหลักสูตรและวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) ของระดับชั้น ปวช.1 สาขาธุรกิจค้าปลีก เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ) พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง 2546) สาขาวิชาพาณิชยการหมวดวิชาสามัญ กลุ่มวิชาสามัญทั่วไป คู่มือครู หนังสือและตาราต่าง ๆ 1.4.2.4.2 รวบรวมข้อมูลการจัดทาสื่อการเรียนการสอน 1.4.2.4.3 วางแผนขั้นตอนการทางาน 1.4.2.4.4 จัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1.4.2.4.5 ประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับกลุ่ม ประชากร 1.4.2.4.6 สรุปผลโดยใช้แบบประเมินประสิทธิภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

3 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 1. เพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อนามาพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI ) หมายถึง สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) ระดับชั้น ปวช. สาขางาน ธุรกิจค้าปลีก 2. ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชาพื้นฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก หมายถึง เนื้อหาในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2000-1401 โดยบูรณาการกับสมรรถนะสาขางานค้าปลีก

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยการทดลองใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000- 1401 ) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ประกอบด้วย 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรัปรุง 2546) 2.6.1 จุดประสงค์ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 2.6.2 โครงสร้างหลักสูตร 2.6.3 จุดประสงค์รายวิชา (Objectives) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) 2.6.4 มาตรฐานรายวิชา (Subject Standard)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) 2.6.5 คาอธิบายรายวิชา (Course Description) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) 2.2 ทฤษฎีบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้และการรู้ด้วยตนเอง 2.2.2 ชนิดและรูปแบบบทเรียนสาเร็จรูป 2.2.3 หลักการพื้นฐานในการพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูป 2.3 คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน 2.3.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.3.2 ชนิดและรูปแบบบทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์ 2.3.3 บทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้และการฝึกทักษะ 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง 2546) วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401 ระดับชั้น ปวช. วิชา สามัญทั่วไป 2 หน่วยกิต

ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน หมวดวิชาสามัญ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ 3 ชั่วโมง

5 2.1.1 คาอธิบายรายวิชา (Course Description) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรม โครงงาน วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม หรือโครงงานวิชาชีพ การรักษาดุลยภาพของร่างกาย พืช สัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โครงสร้างอะตอม สมบัติสาร และตารางธาตุ พันธะเคมี แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน 2.1.2 จุดประสงค์รายวิชา (Objectives) 2.1.2.1. เข้าใจทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.1.2.2. เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ 2.1.2.3. เข้าใจสมบัติและองค์ประกอบโครงสร้าง อะตอม ธาตุและตารางธาตุ 2.1.2.4. เข้าใจขนิดของแรง การเคลื่อนที่ของวัตถุ งาน และพลังงาน 2.1.2.5. นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจาวัน 2.6.4 มาตรฐานรายวิชา (Subject Standard)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (2000-1401) 2.6.4.1. อธิบายการใช้ประโยชน์และทักษะกระบวนการในทางวิทยาศาสตร์ 2.6.4.2. อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ และทรัพยากรธรรมชาติ 2.6.4.3. ป้องกันและหลีกเหลี่ยงพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.6.4.4. สังเกตและอภิปรายองค์ประกอบของโครงสร้างอะตอม ธาตุ และ ตารางธาตุ 2.6.4.5. สังเกตและอภิปรายชนิดของแรง การเคลื่อนที่ของวัตถุ งาน และพลังงาน จากหลักสูตรประกาศนัยบัติวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง 2546) วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401 เป็นวิชาในหมวดวิชาสามัญ วิชาสามัญทั่วไป ภาคเรียน 3 คาบ/สัปดาห์ 2 หน่วยกิต จากคาอธิบายรายวิชา สามารถแยกเป็นสาระการเรียรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานได้ดังนี้ สาระการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทเคโนโลยี สาระการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต สาระการเรียนรู้ที่ 3 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร สาระการเรียนรู้ที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่ สาระการเรียนรู้ที่ 6 งานและพลังงาน สาหรับเนื้อหาที่ผู้วิจัยได้คิดมาเพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นเนื้อหาที่อยู่ในสาระ การเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทเคโนโลยี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 โดยเวลา

6 ในการเรียน 6 คาบ/สัปดาห์ คาบละ 50 นาที มาจัดทาเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยประกอบด้วยเนื้อหา ดังต่อไปนี้ 1. ความหมายของวิทยาศาสตร์ 2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมต่อไปนี้ 1. บอกความมหมายของวิทยาศาสตร์ได้ 2. บอกความแตกต่างของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 3. จาแนกประเภทของวิทยาศาสตร์ได้ 4. ระบุวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ 5. ระบุทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ 6. วิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่นาไปใช้ในร้านค้าปลีกได้

7 ตารางที่ 2.1 แสดงสาระการเรียนการสอนของแผนการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน แผนการสอน รหัสวิชา 2000-1401 วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน สัปดาที่ หัวข้อเรื่องที่สอน จานวนคาบ 1 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทเคโนโลยี - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 - โครงงานวิทยาศาสตร์ 3 2 สาระการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต - หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 3 - การรักษาดุลยภาพของเซลล์และร่างกายพืช สัตว์ 3 3 สาระการเรียนรู้ที่ 3 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม - ระบบนิเวศ 3 - สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3 4 สาระการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร - สารและสมบัติของสาร 3 - โครงสร้างอะตอม 3 5 สาระการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร - ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ 3 - พันธะเคมี 3 6 สาระการเรียนรู้ที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่ แรงและชนิดของแรง 6 7 สาระการเรียนรู้ที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่ (ต่อ) - การเคลื่อนที่ของวัตถุ 6 8 สาระการเรียนรู้ที่ 6 งานและพลังงาน - งาน 6 - พลังงานและการอนุรักษ์ 9 สาระการเรียนรู้ที่ 6 งานและพลังงาน (ต่อ) - พลังงานกับการดารงชีวิต 6 10 - ทบทวนก่อนสอบปลายภาค 11 สอบปลายภาค -

8 2.2 ทฤษฎีบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทเรียนสาเร็จรูปมีอยู่ด้วยกันหลายชนิดซึ่งแต่ละชนิดก็มีรูปแบบลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แต่โดย ส่วนใหญ่แล้วบทเรียนสาเร็จรูปที่สร้างขึ้นมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นหลัก 2.2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้และการรู้ด้วยตนเอง ในการพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูปต้องอาศัยวิธีการระบบ ( System approach) และการนาหลักจิตวิทยา (Psychology) มาใช้จะต้องคานึงถึงทฤษฎีการเรียนรู้และกระบวนการการเรียนรู้ซึ่งเป็นกระบวนการถาวรที่ทาให้คน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการฝึกหัด ฝึกฝน เช่น การอ่าน การนับเลข นอกจากนี้ยังหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างที่ซับซ้อน เช่น การเรียนรู้นามธรรม อารมณ์ การคิดหาเหตุผล และอื่นๆ อีกด้วย กาเยน์ (Gagne) ได้สรุปลาดับขั้นการเรียนรู้ออกเป็น 8 ระดับ แต่พฤติกรรมที่ต้องจัดประสบการณ์เรียนรู้ ในสถานศึกษา มีอยู่ด้วยกัน 4 ระดับดังนี้ การเรียนรู้แยกแยะสิ่งต่างๆ (Multiple Discrimination Learning) เป็นการเรียนรู้ที่ขยายตัว จากการเรียนรู้แบบลูกโซ่ให้สูงขึ้น ซึ่งการเรียนรู้แบบลูกโซ่นั้น เป็นการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการเรียนรู้สิ่งเร้าและการ ตอบสนอง การเรียนรู้มโนทัศน์ (Concept Learning) เป็นการรวบรวมสิ่งต่างๆ ให้เป็นความคิดรวบยอด การเรียนหลักการ (Principle Learning) เป็นการขยายการเรียนรู้มโนทัศน์หลายๆมโนทัศน์ เพื่อรวบรวมเป็นกฎเกณฑ์ เช่น การเรียนสูตรคณิตศาสตร์ สูตรเคมี การเรียนรู้แก้ปัญหา (Problem-Solving Learning) เป็นการนาหลักการหลายๆ หลักการ มาใช้สาหรับการแก้ปัญหาหรือเป็นการเลือกหลักการที่ดีที่สุดจากหลายหลักการ การประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการออกแบบบทเรียนนั้นตามที่ Jonassen และ Hannum กล่าวไว้มี องค์ประกอบอยู่ด้วยกัน 4 ประการคือ การออกแบบสิ่งเร้าหรือเนื้อหา (Design of the stimulus) หลักการในการออกแบบ คือ ผู้เรียนสามารถ เห็นเนื้อหา ความรู้หรือข้อมูล ซึ่งผู้เรียนจะเกิดความเข้าใจและสามารถจาได้มาก อาจจะมีคาบรรยาย คาถาม แบบฝึกหัด ตัวชี้นา (Cue) และเสียงประกอบ เพื่อให้ผู้เรียนมีการตอบสนองจากสิ่งเร้าหรือเนื้อหานั้นๆ รูปแบบของ บทเรียนอาจจะเป็นเกมส์การศึกษา การฝึกทักษะและทาแบบฝึกหัดซึ่งเน้นการเสนอเนื้อหาบนจอภาพ การตอบสนองของผู้เรียน (Learner Responses) การตอบสนองของผู้เรียนจะบ่งบอกถึงคุณภาพของ ผู้ออกแบบบทเรียน การตอบสนองไม่จาเป็นที่จะต้องแสดงออกให้เห็นเสมอไป คาถามที่ถามควรเป็นคาถามที่ สามารถกระตุ้นผู้ เรียนให้ตอบสนอง ผู้เรียนสามารถประเมินผลตนเองได้จากความเข้าใจใน เนื้อหาที่เรียน อาจใช้ วิธีการประเมินจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากเพื่อน จากครูหรือจากแบบฝึกหัดบทเรียนจะต้องมีการวาง

9 แผนการตบสนองให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์จัด กระบวนการคิดของผู้เรียนให้สาม ารถเชื่อมโยง ความรู้ใหม่กับความรู้เดิมได้ ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) การให้ข้อมูลย้อนกลับหรือ Feedback หลังจากผู้เรียนมีการตอบสนองจัดได้ว่า เป็นขบวนการของการสื่อสารอย่างหนึ่ง ซึ่งชนิดของการให้ข้อมูลย้อนกลับประการแรกนั้นจะต้องมีความสัมพันธ์กันกับ การตอบสนองของผู้เรียนประการที่สององค์ประกอบทางด้านเวลา ความถี่และการถ่วงเวลาในการให้ข้อมูลย้อนกลับ จะ เป็นการเสริมแรง คือ ผู้เรียนจะต้องมีความต้องการ ในการได้รับข้อมูลย้อนกลับจากการตอบสนองในแต่ละครั้งจัดได้ว่า เป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบบทเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับจะเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่ จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า หรือเนื้อหาความรู้ที่เสนอให้ การควบคุมบทเรียน (Lesson control) สิ่งสาคัญที่สุดในการออกแบบบทเรียนอีกองค์ประกอบหนึ่งก็คือ การ ที่ผู้เรียนสามารถควบคุมบทเรียนได้ด้วยตนเอง สามารถตัดสินใจเลือกเนื้อหาที่จะเรียน เลือกวิธีการเรียน เลือกรูปแบบ การเรียน จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพอใจที่จะเรียนรู้ผู้เ รียนสามารถเรียนได้ตามความรู้ ความสามารถของตนเอง เป็นการ สนองความแตกต่าง ระหว่างผู้เรียนได้ดี ซึ่งลักษณะเช่นนี้เป็นคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ 2.2.2 ชนิดและรูปแบบบทเรียนสาเร็จรูป บทเรียนสาเร็จรูปเป็นรูปแบบการเสนอเนื้อหาการสอนที่ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองซึ่ง ชนิดของบทเรียนสาเร็จรูปตามที่ ไพโรจน์ ตีรณธนากุล กล่าวไว้ สามารถพบได้เป็น 3 รูปแบบคือ 2.2.2.1 รูปแบบของหนังสือ หรือชุดเอกสารการสอนบทเรียนสาเร็จรูป 2.2.2.2. รูปแบบของเครื่องมือช่วยสอน 2.2.2.3. รูปแบบที่เป็นส่วนหนึ่งของชุดการสอนคือ บทเรียนสาเร็จรูปที่นาสื่อหลายประเภทมาใช้ ร่วมกัน เช่น ภาพกราฟิก กับภาพวีดีทัศน์และเสียงบรรยาย โดยรูปแบบของสื่อที่นามา จัดสร้างบทเรียนสาเร็จรูปสามารถแยกได้เป็น - มัลติมีเดีย (Multimedia) - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน - บทเรียนสาเร็จรูปวีดีทัศน์ - บทเรียนสาเร็จรูปเทปบันทึกเสียง - บทเรียนสาเร็จรูป สไลด์ประกอบเสียง - บทเรียนแบบคีลเลอร์แพลน (Keller Plan) - บทเรียนสาเร็จรูปโมดูลลา

10 - บทเรียนสาเร็จรูปโปรแกรม สาหรับรูปแบบการสร้างบทเรียนสาเร็จรูปที่พบในปัจจุบัน จะมีลักษณะรูปแบบการสร้างเป็น 3 รูปแบบ คือ - บทเรียนสาเร็จรูปแบบเรียงลาดับเส้นตรง (Linear Program) รูปแบบบทเรียนจะ แบ่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ ที่ต่อเนื่องกันโดยเริ่มจากง่ายไปหาสิ่งยาก ผู้เรียนจะเรียนทีละหน่วยจากหน่วยแรกและ ก้าวต่อไปตามลาดับ จะข้ามหน่วยหนึ่งไม่ได้ เด็ดขาด สิ่งที่เรียนจากหน่วยแรกๆ จะเป็นพื้นฐานของหน่วยถัดไป ลักษณะบทเรียนประเภทนี้มักจะเป็นแบบให้ตอบคาถามแบบถูกผิดบทเรียนเป็นการให้ผู้เรียนสร้างคาตอบด้วย ตนเองหรือเป็น (Constructed Response Type) จากคาถามและคาตอบที่เติมลงไปจะสร้างเป็นข้อความที่สมบูรณ์ ที่จะให้ความรู้แก่ผู้เรียนตามที่กาหนดไว้หรือเติมคาในช่องว่างและให้ผู้เรียนตรวจคาตอบในหน่วยถัดไปได้ ลักษณะโครงสร้าง - บทเรียนแบบแตกแขนง (Branching Program) เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่สร้างเพื่อ คานึงถึงความแตกต่างของบุคคลเป็นหลัก โดยการแบ่งบทเรียนเป็นหน่วยย่อยและ จะมีหน่วยที่เป็นกรอบหลัก หรือกรอบยืน(Home Page) ซึ่งทุกคนจะต้องเรียนนอกจากนี้จะมีหน่วยย่อยแตกเขนงออกไปเพื่อเสริมความเข้าใจ สาหรับบุคคลบางคนที่ต้องการเมื่อผ่านไปยังหน่วยแขนงแล้วจะกลับมายังหน่วยหลักอีกและจะเรียนต่อไปตาม ผลของการตอบสนอง การเรียนแบบ Intrinsic นี้จะควบคุมลาดับให้สามารถเรียนรู้เนื้อหาได้ตลอด โครงสร้าง ของบทเรียนแบบนี้ จะสลับซับซ้อนและยุ่งยากกว่าแบบเรียงลาดับเป็นเส้นตรง - บทเรียนสาเร็จรูปแบบแอ๊ดจังทีฟ (Adjunctive Program) เป็นบทเรียนสาเร็จรูปที่มี ลักษณะแบบแตกแขนงแต่การเสนอเนื้อหาจะมากกว่า และการตอบคาถามจะกระทาในตอนท้ายบทแล้วอาจข้าม ไปยังหน่วยย่อยอื่นเลย ถ้าผู้เรียนสามารถแสดงให้รู้ว่ามีความรู้ในส่วนที่จะข้ามนั้นแล้ว ในปัจจุบันการจัดทาบทเรียนสาเร็จรูปนิยมใช้แบบผสมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะแต่ละแบบต่าง ที่จุดเด่น ของตนเอง เมื่อนาจุดเด่นของทุกแบบมารวมกันก็จะได้บทเรียนสาเร็จรูปที่ดี ซึ่ง Gordon Pask ได้นาแนวทาง ของการประสมประสานนี้เสนอเป็นรูปแบบ บทเรียนทางคอมพิวเตอร์ 2.2.3 หลักการพื้นฐานในการพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูป ขวัญจิต ภิญโญชีพ กล่าวถึงทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักการและพื้นฐานของการใช้บทเรียนสาเร็จรูปใน การเรียนการสอน ไว้ดังนี้

11 2.2.3.1 ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Connectionism) ของ Thorndike การเรียนรู้เกิดจากความเชื่อมโยงของสถานการณ์ และพฤติกรรม ความต่อเนื่องนั้น อยู่ บนรากฐานของการประสบความสาเร็จที่เป็นผลจากการตอบสนอง ทฤษฎีของ Thorndike มีชื่อเรียกอีก สติปัญญา บุคลิกลักษณะ และทักษะนั้นจะเป็นไปตามกฎแห่งการเปลี่ยนแปลง เขาเชื่อว่า ความสา เร็จหรือการ ตอบสนองที่ถูกต้องจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ต่อไป บทเรียนสาเร็จรูปยึดหลักการเร้าและการตอบสนอง โดยใช้ บทเรียนและคาถามเป็นสิ่งเร้าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนตอบสนองโดยลงมือกระทาหรือตอบคาถาม การสร้างบทเรียนสาเร็จรูปสอดคล้องกับกฎของ Thorndike 3 กฎ คืออย่างหนึ่งว่า S-R bond หรือ ทฤษฎีที่ เน้นความสาคัญของสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เขากล่าวว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นไปเพื่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้าน - กฎแห่งผล Law of Effect รางวัลและความสาเร็จจะช่วยให้การตอบสนองนั้น มีกาลังขึ้น แต่ความผิดหวังจะทาให้การตอบสนองอ่อนกาลัง - กฎแห่งการฝึกหัด Law of Exercise การตอบสนองสิ่งเร้าบ่อยครั้งเท่าใด สิ่งนั้นจะอยู่คงทน นานขึ้น - กฎแห่งความใหม่ Law of Regency คาตอบที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่ ผู้เรียนกระทาเป็นสิ่งสุดท้าย ของการเรียนแต่ละช่วงจึงช่วยให้จดจาได้ง่ายขึ้น 2.2.3.2 ทฤษฎีการเสริมแรงของสกินเนอร์ Operant Conditioning กฎของ Operant Conditioning กล่าวว่า หาก Operant เกิดขึ้นมาแล้วจะต้องตามด้วยสิ่ง เร้าซึ่งจะเป็นแรงเสริมหากเป็นเช่นนี้แล้ว กาลังย่อมจะเพิ่มขึ้น Operant Learning นั้นสิ่งเร้าสาคัญคือ สิ่งเร้าที่ ตามมาภายหลังการตอบสนองทันที เช่น เมื่อกระทาแล้วสิ่งเร้าคือ ครูบอกว่า “ถูก” นี่เป็น Reinforcing Stimulus แต่หากเป็นในทางตรงข้าม ทาการตอบสนองครั้งใดก็ได้รับสิ่งเร้าว่า “ไม่ถูก ” นี่เป็น Extinction จะลดการ กระทาให้อ่อนลงจนเลิกกระทา ทฤษฎีของสกินเนอร์สนับสนุนการสอนแบบโปรแกรม Programmed Learning และ เครื่องช่วยสอน Teaching Machine โดยที่การสอนแบบโปรแกรมที่เสนอนั้น เป็นการสอนประเภท ที่แบ่ง เนื้อหาวิชาที่ตั้งไว้แล้วออกเป็นส่วนย่อย ๆ เป็นลาดับให้เป็นเหตุเป็นผลเพื่อให้เรียนได้ง่าย แต่ละขั้นนั้นสร้างขึ้น โดยยึดขั้นก่อนเป็นหลัก นักเรียนจะเรียนได้ตามจังหวะของตน และเมื่อสาเร็จแต่ละขั้น เขาก็จะได้รับการ เสริมแรงทันที ในปัจจุบันการจัดทาบทเรียนสาเร็จรูปนิยมใช้แบบผสมมากขึ้นทั้งนี้เพราะแต่ละแบบต่าง ที่จุดเด่นของตนเองเมื่อนาจุดเด่นของทุกแบบมารวมกันก็จะได้บทเรียนสาเร็จรูปที่ดีซึ่ง Gordon Pask ได้นา

12 แนวทางของการประสมประสานนี้เสนอเป็นรูปแบบบทเรียนทางคอมพิวเตอร์ซึ่งลักษณะโครงสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งออกเป็น 9 ประเด็นดังนี้ - เนื้อหาวิชาที่จะสอนจะแบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ๆ เรียกว่า กรอบ โดยในแต่ละกรอบจะ มีข้อความมากน้อยขึ้นอยู่กับความจาเป็นของข้อความที่จะต้องการสื่อความใดความหนึ่ง ให้สมบูรณ์แต่ต้องย่อ และกะทัดรัดที่สุดและสามารถสื่อความได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด - แต่ละกรอบ (Frame) จะต้องกาหนดให้มีการสนองตอบจากผู้เรียนในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่งอาจเป็นคาถาม การเติมคา หรือการตอบสนองด้วยการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนที่จะต่อไปยัง กรอบถัดไป - บทเรียน ทุกบทจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ชัดเจนสามารถ ตรวจสอบและประเมินผลจากผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหมายความว่ารายละเอียดข้อความในแต่ละกรอบ ควร จะเขียนขึ้นตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้า - การย้อนกลับต่อผู้เรียนหลังจากได้ทาแบบฝึกหัดหรือตอบคาถามใด ๆ จะต้องกระทา ทันทีที่ทาได้ ซึ่งเป็นการเสริมแรงที่สาคัญมาก เป็นจุดเด่นของบทเรียนสาเร็จรูปโดยเฉพาะบทเรียนทาง คอมพิวเตอร์ - การจัดเรียงกรอบต่าง ๆ จะเรียงกันอย่างถูกต้องตามตรรกศาสตร์ จากง่ายไปหายาก จากสิ่งที่รู้ไปยังสิ่งที่ไม่รู้ จากของเก่าไปสู่ของใหม่โดยยึดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นหลักปรับการเรียนรู้ เพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ แต่ไม่ละเลยการเสริมแรงสามารถจาได้คงทนและแม่นยาด้วย - บทเรียนควรมีการทดสอบปรับแต่งอยู่เสมอ โดยอาศัยผลการใช้กับบุคคลกลุ่มต่างๆ ซึ่งความแตกต่างของบุคคลและกลุ่มคนอาจจาเป็นต้องใช้บทเรียนสาเร็จรูปที่มีรายละเอียดบางอย่างที่แตกต่างไป บ้าง บทเรียนสาเร็จรูปควรมีความสามารถที่จะยืดหยุ่นในการปรับปรุงได้สะดวก - ข้อความในบทเรียน จะต้องเป็นคาสอนที่สมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่จาเป็นต้องขยาย ความเพิ่มจากการบรรยายหรือการอธิบาย - บทเรียนสาเร็จรูป เป็นการเรียนที่ไม่ผูกกับเวลาจะเรียนเร็วหรือเรียนช้าขึ้นอยู่กับ ความสามารถของแต่ละบุคคล หรือความพอใจและความต้องการของแต่ละบุคคลด้วย - การใช้บทเรียนสาเร็จรูป จะไม่อยู่ภายใต้การดูแลของ ครู-อาจารย์ หรือในสถานที่ที่ กาหนดไว้ จะเป็นการเรียนที่อิสระจาก 2.3 คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน

13 2.3.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.3.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความหมายของ คอมพิวเตอร์ผู้ช่วยสอน หรือ ซีเอไอ (CAI)ไ ด้มีผู้ที่ทาการรวบรวมและให้ความหมาย ไว้คล้ายคลึงกัน ดังนี้ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือโปรแกรมช่วยสอน คือ สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนอันหนึ่ง คล้ายกับสื่อ การสอนอื่น ๆ เช่น วีดีโอช่วยสอน บัตรคาช่วยสอน โปสเตอร์ แต่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะดีกว่าตรงที่ตัวสื่อ การสอน ซึ่งก็คือ คอมพิวเตอร์นั้น สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ไม่ว่าจะเป็นการรับคาสั่งเพื่อมาปฏิบัติ ตอบ คาถามหรือ ไม่เช่นนั้นคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นฝ่ายป้อนคาถาม - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI หมายถึง การประยุกต์นาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน โดยมี การพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial) แบบจาลอง สถานการณ์ (Simulations) หรือแบบการแก้ไขปัญหา เป็นต้น การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไป ยังผู้เรียนผ่านทางจอภาพ หรือแป้นพิมพ์โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม วัสดุทางการสอน คือ โปรแกรม หรือ Courseware ซึ่งปกติจะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์ หรือหน่วยความจาของเครื่อง พร้อมที่จะ เรียกใช้ได้ตลอดเวลา การเรียนในลักษณะนี้ในบางครั้งผู้เรียนจะต้องโต้ตอบ หรือตอบคาถามเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วยการพิมพ์ การตอบคาถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์และจะเสนอแนะขั้นตอน หรือระดับ ในการเรียนขั้นต่อ ๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ สรุปความหมายของ “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือ CAI คือ การนาคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือที่สร้าง เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ประกอบไปด้วยเนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ลักษณะของการนาเสนออาจมีทั้งตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจมากยิ่งขึ้นรวมทั้งการแสดงผลการเรียนให้ทราบทันทีด้วยข้อมูลย้อยกลับ (Feedback) ให้แก่ผู้เรียน และยังมีการจัดลาดับ วิธีการสอนหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อจะให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละคน ทั้งนี้ทั้งนั้น จะต้องมีการวางแผนการในการผลิตอย่างเป็นระบบในการนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบที่ แตกต่างกัน คาที่ใช้เรียก คอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ 2.3.1.2 ความหมายของบทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์การสอน ไพโรจน์ ตีรณธนากุล กล่าวถึงบทเรียนสาเร็จรูปโดยการใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ว่าเป็นบทเรียน สาเร็จรูปโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นตัวการแทนสิ่งพิมพ์หรือสื่อประเภทต่างๆ แต่มีศักยภาพ เหนือกว่า บทเรียนสาเร็จรูปในรูปแบบอื่น ๆ ทั้งหมด โดยเฉพาะมีความสามารถที่เกือบจะแทนครูที่เป็นมนุษย์ได้ มี ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาบทเรียน เช่นเดียวกับบทเรียนสาเร็จรูปประเภทอื่น ๆ

14 จากความหมายของบทเรียนสาเร็จรูปและคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถสรุปความหมายของ “บทเรียน สาเร็จคอมพิวเตอร์การสอน” (Computer Instruction Package) ได้ว่าคือ บทเรียนสาเร็จรูปที่สร้างขึ้นในลักษณะ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป (Package Software) นาไปสอน Instruction เนื้อหาใหม่โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในการเรียนการสอนบทเรียน นาเสนอบทเรียนผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ตามระดับความสามารถของ ตนเองในบทเรียนมีแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนจุดเด่นที่สาคัญของ บทเรียน คือ การนาเสนอเนื้อหาในลักษณะหลายสื่อ (มัลติมีเดีย) ได้แก่ ประเภทข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดีโอและเสียงโดยที่ผู้เรียนจะมีโอกาสได้ปฎิสัมพันธ์กับบทเรียนโดยผ่านเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลา 2.3.2 ชนิดและรูปแบบบทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ. 2528 ไพโรจน์ ตีรณธนากุล [9] ได้เสนอรูปแบบหรือประเภทของ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้ 1. Tutorial แบบสอนซ่อมเสริม หรือทบทวน หรือสอนเนื้อหาใหม่ เป็นบทเรียนเพื่อทบทวน การเรียนจากห้องเรียน หรือจากผู้สอนโดยวิธีใด ๆ จากทางไกล หรือทางใกล้ก็ตาม การเรียนมักจะไม่ใช่ ความรู้ใหม่ หากแต่จะเป็นความรู้ที่เคยได้รับมาแล้วในรูปแบบอื่น ๆ แล้วใช้บทเรียนซ่อมเสริมเพื่อตอกย้าความ เข้าใจที่ถูกต้องและสมบูรณ์ดีขึ้นสามารถใช้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน 2. Drill and Practice แบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติเพื่อใช้เสริมการปฏิบัติหรือเสริมทักษะกระทา บางอย่างให้เข้าใจยิ่งขึ้นและเกิดทักษะที่ต้องการได้เป็นการเสริมประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนสามารถใช้ ในห้องเรียนเสริมขณะที่สอนหรือนอกห้องเรียน ณ ที่ใดเวลาใดก็ได้สามารถใช้ฝึกหัดทั้งด้านทักษะการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมทั้งทางช่างอุตสาหกรรมด้วย 3. Simulation แบบสร้างสถานการณ์จารองเพื่อใช้สาหรับการเรียนรู้ หรือทดลองจาก สถานการณ์ที่จาลองจากสถานการณ์จริงซึ่งอาจจะอยู่ไกล ไม่สามารถนาเข้าห้องเรียนได้หรือมีสภาพอันตราย หรืออาจสิ้นเปลืองมากที่ต้องใช้ของจริง สามารถใช้สาธิตประกอบการสอนในห้องเรียนหรืออาจใช้ซ่อมเสริม ภายหลังการเรียนนอกห้องเรียนที่ใดเวลาใดก็ได้ 4. Games แบบสร้างเป็นเกมส์การเรียนรู้บางเรื่อง บางระดับ บางครั้งการพัฒนาเป็นลักษณะ เกมส์ สามารถเสริมการเรียนรู้ได้ดีกว่า การใช้เกมส์เพื่อการเรียน สามารถใช้สาหรับการเรียนรู้กับความรู้ใหม่ หรือเสริมการเรียนในห้องเรี ยนก็ได้ รวมทั้งสามารถสอนทดแทนครูในบางเรื่องได้ด้วยจะเป็นการเรียนรู้จาก ความเพลิดเพลิน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่มีระยะเวลา ความสนใจสั้น เช่น เด็กหรือในภาวะสภาพแวดล้อมที่ไม่ อานวย เป็นต้น

15 5. Problem Solving แบบการแก้ปัญหา เป็นการฝึกการคิด การตัดสินใจ สาม ารถใช้กับ วิชาการต่าง ๆ ที่ต้องการให้สามารถคิดแก้ปัญหา ใช้เพื่อเสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ในการฝึกทั่วๆ ไป นอกห้องเรียนก็ได้ เป็นสื่อสาหรับการฝึกผู้บริหารได้ดี 6. Test แบบทดสอบ เพื่อใช้สาหรับตรวจวัดความสามารถของผู้เรียนสามารถใช้ ประกอบการสอนในห้องเรียน หรือ ใช้ตามความต้องการของครู หรือของผู้เรียนเองรวมทั้งสามารถใช้นอก ห้องเรียน เพื่อตรวจวัดความสามารถของตนเองได้ด้วย 7. Discovery แบบสร้างสถานการณ์เพื่อให้ค้นพบ เป็นการจัดทาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ จากประสบการณ์ของตนเอง โดยการลองผิดลองถูกหรือเป็นการจัดร ะบบนาล่องเพื่อชี้นาสู่การเรียนรู้สามารถ ใช้เรียนรู้ความรู้ใหม่หรือเป็นการทบทวนความรู้เดิม และใช้ประกอบการสอนในห้องเรียนหรือการเรียนนอก ห้องเรียน สถานที่ใด เวลาใด ก็ได้ สรุปประเภทของ CAI โดยทั่วไป แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ แบบสอนซ่อมเสริม แบบฝึกหัด แบบสร้างสถานการณ์จาลอง แบบเกมส์ แบบการแก้ปัญหา แบบทดสอบ และแบบสร้างสถานการณ์เพื่อให้ ค้นพบ และแบบเจรจา 2.3.3 บทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้และการฝึกทักษะ ในปัจจุบัน การมุ่งสู่ E-Education Virtual Instruction and Web Based instruction ดังนั้น ไพโรจน์ ตีรณธนากุล และ ไพบูู ลย์ เกียรติโกมล [14] จึงได้เสนอรูปแบบหรือประเภทของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้ - Instruction แบบการสอน เพื่อใช้สอนความรู้ใหม่แทนครู ซึ่งจะเป็นลักษณะการพัฒนาแบบ Self Study Package เป็นรูปแบบของการศึกษาด้วยตนเอง จะเป็นชุดการสอนที่จะต้องใช้ความระมัดระวังและ ทักษะในการพัฒนาที่สูงมาก เพราะจะยากเป็นทวีคูณกว่าการพัฒนาชุู ดการสอนแบบโมดูล หรือแบบโปรแกรม ที่เป็นตาราซึ่งคาดว่าจะมีบทบาทมากในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเฉพาะ IMMCAI บน Internet - Tutorial แบบสอนซ่อมเสริมทบทวน เป็นบทเรียนเพื่อทบทวนการเรียนจากห้องเรียนหรือ จากผู้สอนโดยวิธีใด ๆ จากทางไกล หรือทางใกล้ก็ตาม การเรียนมักจะไม่ใช่ความรู้ใหม่หากแต่จะเป็นความรู้ที่ เคยได้รับมาแล้วในรูปแบบอื่น ๆ แล้วใช้บทเรียนซ่อมเสริมเพื่อต อกย้าความเข้าใจที่ถูกต้องและสมบูรณ์ดีขึ้น สามารถใช้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน - Drill and Practice แบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติ เพื่อใช้เสริมการปฏิบัติหรือเสริมทักษะกระทา บางอย่างให้เข้าใจยิ่งขึ้นและเกิดทักษะที่ต้องการได้ เป็นการเสริมประสิทธิผลการเรียนของผู้เรียน สามารถใช้ใน

16 ห้องเรียนเสริมขณะที่สอนหรือนอกห้องเรียน ณ ที่ใดเวลาใดก็ได้ สามารถใช้ฝึกหัดทั้ง ทางด้านทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ รวมทั้งช่างอุตสาหกรรมด้วย - Simulation แบบสร้างสถานการณ์จาลอง เพื่อใช้สาหรับการเรียนรู้ หรื อทดลองจาก สถานการณ์ที่จาลองจากสถานการณ์จริง ซึ่งอาจจะหาไม่ได้หรืออยู่ไกล ไม่สามารถนาเข้ามาในห้องเรียนได้ หรือมีสภาพอันตราย หรืออาจสิ้นเปลืองมากที่ต้องใช้ของจริงซ้า ๆ สามารถใช้สาธิตประกอบการสอน ใช้เสริม การสอนในห้องเรียน หรือใช้ซ่อมเสริมภายหลังการเรียนนอกห้องเรียนที่ใดเวลาใดก็ได้ - Games แบบสร้างเป็นเกมส์ การเรียนรู้บางเรื่อง บางระดับ บางครั้ง การพัฒนาเป็นลักษณะ เกมส์ สามารถเสริมการเรียนรู้ได้ดีกว่า การใช้เกมส์เพื่อการเรียน สามารถใช้สาหรับการเรียนรู้ความรู้ใหม่ หรือ เสริมการเรียนในห้องเรียนได้ รว มทั้งสามารถสอนทดแทนครูในบางเรื่องได้ด้วยจะเป็นการเรียนรู้จากความ เพลิดเพลิน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่มีระยะเวลาความสนใจสั้น เช่น เด็ก หรือในภาวะสภาพแวดล้อมที่ไม่ อานวย เป็นต้น - Problem Solving แบบการแก้ปัญหา เป็นการฝึกการคิด การตัดสินใจ สามารถใช้กับ วิชาการต่าง ๆ ที่ต้องการให้สามารถคิดแก้ปัญหา ใช้เพื่อเสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ในการฝึกทั่วไป ๆ นอกห้องเรียนก็ได้ เป็นสื่อสาหรับการฝึกผู้บริหารได้ดี - Test แบบทดสอบ เพื่อใช้สาหรับตรวจวัดความสามารถของผู้เรียนสามารถใช้ประกอบการ สอนในห้องเรียนหรือใช้ตามความต้องการของครูหรือผู้เรียนเอง รวมทั้งสามารถใช้นอกห้องเรียนเพื่อตรวจวัด ความสามารถของตนเองได้ด้วย - Discovery แบบสร้างสถานการณ์ เพื่อให้ค้นพบ เป็นการจัดทาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ จากประสบการณ์ของตนเอง โดยการลองผิดลองถูกหรือเป็นการจัดระบบนาร่อง เพื่อชี้สู่การเรียนรู้ สามารถใช้ เรียนรู้ความรู้ใหม่หรือเป็นการทบทวนความรู้เดิม และใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน หรือการเรียนนอก ห้องเรียนสถานที่ใด เวลาใด ก็ได้ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ลัสดา กองคา (2544 : 22) ได้กล่าวว่า การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยทางการศึกษา หมายถึง การ หาความรู้ หรือวิธีการใหม่ ๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งจะ ช่วยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน หรือเพื่อแก้ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ วีรพล ฉลาดแย้ม (2544 : 8) กล่าวว่า การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเพื่อแสวงหา วิธีการแก้ปัญหา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในบริบท

17 ของชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้วิจัยและใช้ผลงาน วิจัยเพื่อจะส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และมี คุณภาพยิ่งขึ้น สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียน คือ การแสวงหาความรู้ วิธีการ อย่างเป็นระบบ มาแก้ปัญหาในการจัดการ เรียน การสอน ทั้งในและนอกห้องเรียน วิจัยโดยครูผู้สอนและนาผลการวิจัยมาปรับปรุง พัฒนาการเรียน การสอน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ การจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการในร้านค้าปลีก เป็นการนาไปใช้วิจัยที่ มุ่งพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีกให้มี ประสิทธิภาพ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ 3.1. ประชากร 3.2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ประชากร ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชาพื้นฐาน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ จานวน 5 คน 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 3.2.1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้า ปลีก 3.2.2. แบปประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการใน ร้านค้าปลีก 3.2.1 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการในร้านค้าปลีก 1. ในการเตรียมการเบื้องต้น โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการดังต่อไปนี้ การศึกษาเนื้อหาวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา 2000-1401 เรื่องทักษะกระบวนการในร้านค้าปลีก ตามแผนการสอนรายวิชา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง 2546) กรม อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 2. ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

19 3. ออกแบบเขียนบท (Script) ตามกระบวนการสร้างสื่อบทเรียนคอมพิเวตอร์ช่วยสอน ด้วย โปรแกรม Microsoft Producer for Power Point 2007 4. นาโปรแกรมบทเรียนคออมพิวเตอร์ช่วนสอนที่ได้ให้อาจารย์ในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ตรวจสอบแล้ว นามาปรับปรุงแก้ไข เริ่ม ศึกษาเนื้อหาวิชา วิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ออกแบบและสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ตรวจสอบ ความถูกต้อง

ไม่ผ่าน

ปรัปรุงแก้ไข

ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนที่มีประสิทธิภาพ จบ ภาพที่ 3.1 แสดงขั้นตอนการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

20 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้วิจัยได้นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ที่สร้างขึ้นให้ ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ประเมินประสิทธิภาพ ในแต่ละด้านดังนี้ 3.1 ความถูกต้องด้านเนื้อหา

-

ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์

-

ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน

การจัดลาดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน มีความต่อเนื่อง เข้าใจง่าย - เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน 3.2 ด้านการใช้ภาษา ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน

ใช้ศัพท์เฉพาะทางเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน - เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน 3.3 ด้านเทคนิคภาพ - ตัวอักษร(แบบ ขนาด สี) - ขนาดของภาพ - รายละเอียดภาพ - เทคนิคพิเศษ - การจัดองค์ประกอบศิลป์ - การลาดับภาพ - การสื่อความหมาย

21 ตารางที่ 3.2 การกาหนดช่วงเวลาของกิจกรรม ระยะเวลา ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 กิจกรรม (สัปดาห์ ) 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1.กาหนดเรื่องทาการวิจัย

1

2.กาหนดและจัดทาโครงร่างการวิจัย

1

3.ออกแบบเครื่องมือ

1

4.จัดเก็บข้อมูล

19

5.ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล

1

6.จัดทารายงานและนาเสนอ 1 งบประมาณในการดาเนินงาน 1. ค่าจัดทาเล่มรายงาน 500 บาท 2. ค่าจัดเตรียมเอกสารประกอบนาเสนอ 2,000 บาท 3. ค่าอุปกรณ์ในการเก็บข้อมูล 2,500 บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด 5,000 บาท 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อการเก็บข้อมูลและผู้วิจัยได้ทาการตรวจสอบความสมบูรณ์ถูกต้องของข้อมูลแล้วได้ทาการกระทา ข้อมูลมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.4.1.รวบรวมคะแนนประเมินประสิทธิภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจากครูผู้สอน 3.4.2. นาข้อมูลลงบันทึกในเครื่องคอมพิวเตอร์ 3.4.3. ประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Excel เพื่อให้ได้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ สถิติที่ใช้พรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย, S.D. ระดับการแปรผลจากการใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย, ค่า S.D. ค่าเฉลี่ย

22 X

X

x

N

x N

= ค่าเฉลี่ยคะแนนประสิทธิภาพของสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน = ผลรวมคะแนนคะแนนประเมินสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน = จานวนครูสอนวิทยาศาสตร์

ค่า S.D. (Standard Deviation) S .D 

 (x  x )

2

N

S.D. = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นค่าที่บ่งบอกถึงการกระจาย ของข้อมูล X = คะแนนของประเมินประสิทธิภาพ สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแต่ละหัวข้อ X = ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินประสิทธิภาพ สื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน N = จานวนหัวข้อในการประเมินประสิทธิภาพ สื่อ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ ได้วิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ เพื่อสร้างและพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ข้อมูลที่นามาวิเคราะห์ ในการทาวิจัยครั้งนี้ เป็นข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง ทั กษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ของครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกพื้นฐานสามัญ ภาควิชา พื้นฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จานวน 5 คน ในการเสนอผลการวิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล จากสถิติ ซึ่งผู้วิจัยขอนาเสนอผลการวิเคราะห์ ประสิทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความถูกต้องด้านเนื้อหา ด้านการใช้ภาษา และด้านเทคนิคภาพโดย พบว่า ประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ทั้ง 3 ด้าน มีระดับประสิทธิภาพ 4.3 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี ทั้ง 3 ด้าน แสดงผลได้ ดัง ตารางที่ 4.1

24 ตารางที่ 4.1 แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ลาดับ

รายละเอียดคาถาม

1. ความถูกต้องด้านเนื้อหา 1.1 ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ 1.2 การจัดลาดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน มีความต่อเนื่อง เข้าใจง่าย 1.3 เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน รวมด้านที่ 1 2. ด้านการใช้ภาษา 2.1 ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน 2.2 ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน 2.3 ใช้ศัพท์เฉพาะทางเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน รวมด้านที่ 2 3. ด้านเทคนิคภาพ 3.1 ตัวอักษร(แบบ ขนาด สี) 3.2 ขนาดของภาพ 3.3 รายละเอียดภาพ 3.4 เทคนิคพิเศษ 3.5 การจัดองค์ประกอบศิลป์ 3.6 การลาดับภาพ 3.7 การสื่อความหมาย รวมด้านที่ 3 รวมทั้ง 3 ด้าน

ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ 4.2 4.6 4.2 4.3

ดี ดี ดี ดี

4.2 4.6 4.2 4.3

ดี ดี ดี ดี

4.2 4.6 4.2 4.2 4.6 4.2 4.4 4.3 4.3

ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี

จากตารางที่ 4.1 พบว่าแสดงผลการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ด้านที่ 1 ความถูกต้องด้านเนื้อหา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.2

25 ระดับคุณภาพ ดี ด้านที่ 2 ด้านการใช้ภาษา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.3 ระดับคุณภาพ ดี ด้านที่ 3 ด้านเทคนิค ภาพ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.3 ระดับคุณภาพ ดี โดยรวม 3 ด้าน ระดับคะแนน 4.3 อยู่ในระดับดี มีค่า S.D. เท่ากับ 0.19

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปและอภิปราย จากการ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใน ร้านค้าปลีก ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความถูกต้องด้านเนื้อหา ด้านการใช้ภาษาและด้านเทคนิคภาพโดย พบว่า ประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก เมื่อ ใช้ สถิติ ค่าเฉลี่ย และ ค่าความแปรปรวณ เพื่อ หาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ของครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 คน โดยวิเคราะห์ ทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 1. ความถูกต้องด้านเนื้อหา 1.1. ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ ระดับ ดี 1.2. การจัดลาดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน มีความต่อเนื่อง เข้าใจง่าย ระดับ ดี 1.3. เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน ระดับ ดี 2. ด้านการใช้ภาษา 2.1. ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน ระดับ ดี 2.2. ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ระดับ ดี 2.3. ใช้ศัพท์เฉพาะทางเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน ระดับ ดี 3. ด้านเทคนิคภาพ 3.1. ตัวอักษร(แบบ ขนาด สี) ระดับ ดี 3.2. ขนาดของภาพ ระดับ ดี 3.3. รายละเอียดภาพ ระดับ ดี 3.4. เทคนิคพิเศษ ระดับ ดี 3.5. การจัดองค์ประกอบศิลป์ ระดับ ดี 3.6. การลาดับภาพ ระดับ ดี 3.7. การสื่อความหมาย ระดับ ดี

27 จากการวิจัยทาให้ทราบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก ทั้ง 3 ด้าน มีระดับประสิทธิภาพ 4.3 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี การวิจัยในครั้งนี้ในด้านการสร้างสื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยังต้องพัฒนาเพิ่มขึ้นอีกมาก เพราะค่อนข้างใช้เวลาในการจัดทามาก ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย ควรจะมีการพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังต่อไปนี้ 1. มีเสียงในสื่อการสอน 2. มีแบบทดสอบประเมินก่อน-หลัง บทเรียน 3. มีภาพเคลื่อนไหว หรือคลิป วีดีโอ เพื่อจูงใจผู้เรียน 4. นาผลงานเผยแพร่ใน Internet

28

บรรณานุกรม กิดานันท์ มลิทอง. 2536. เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย . พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพมาหนคร : เอดิสันเพรส โพรดัก : 187 – 191. กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. การสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง.กรุงเทพมหานคร:กรมวิชาการ , 2539 กรมอาชีวศึกษา. ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2546 . หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพานิชยกรรม. กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตร การศึกษา ขั้นพื้นฐาน , 2544 . เอกสารอัดสาเนา . ขนิษฐา ชานนท์, 2531 “เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับการเรียนการสอน” เทคโนโลยีการศึกษา ฉบับ ปฐมฤกษ์ : 7-13 คณิตา ตังคณานุรักษ์. “สสารและการเปลี่ยนแปลง” แมค ม.ปลาย วิทย์ ฉบับที่ 1. กรุงเทพมหานคร: เจ้าพระยาระบบการพิมพ์,พฤษภาคม 2540 ครรชิต มาลัยวงค์. 2528. มารู้จักโตกันเถอะ. ประชาศึกษา .35 (เมษายน 2528) : 8 -13 ครรชิต มาลัยวงค์. 2520. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์. ครรชิต มาลัยวงค์. 2521. นวัตกรรมและเทคโนโลยาทงการศึกษากับการสอนระดับอนุบาล. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิยช์. ชัยยงค์ พรหมวงศ์, สมเชาว์ เนตรประเสริษฐ์ และสุดา สินสกุล. 2520 .ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์. ณรงค์ คาใหม่. 2538. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2. รายงานการค้นคว้าอิสระปริญญาตรีศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมาหาวิทยาลัยขอนแก่น. ดวงใจ ศรีธวัชชัย.2535. “บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรม ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย” วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล. ทักษิณา สวนานนท์. 2530 .คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ทรัพย์สมบูรณ์ พระแสงแก้ว. 2535. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกันคอมพิวเตอร์โดยใช้บทเรียนเรียนโปรแกรม การสอนปกติ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

29 นิพนธ์ ศุขปรีดี.2521. เครื่องมือเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. นิพนธ์ ศุขปรีดี. 2530. นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา .กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นิพนธ์ ศุขปรีดี. 2531. วิจัยเพื่อการพัฒนาฯระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการเรียนการสอน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์. ศรีนครินทรวิโรจน์วิจัยเพื่อพัฒนา. บูรณะ สมชัย.2538. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ไพฑูลย์ นพกาศ. 2535. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไพโรจน์ ศรีณธรากุล. 2525. การพัฒนาบทเรียนคอมพิมวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. พิทักษ์ ศิลรัตนา.2531. ตามไปดูเขาทาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกันอย่างไร. สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 16 (กรกฎาคม – กันยายน 2531) : 37 – 41. พิมพ์ใจ ภิบาลสุข.2527. แนวคิดเกี่ยวกันนวัตกรรมทางการศึกษาในประเทศไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ 8(1) : 1-16 ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. 2538.หลักการวิจัยทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ , 2540. สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา, วารสารเทคโนโลยีสื่อสาร ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 อุบลศรี อ่อนพลี, ฉันทิพย์ คานวณทิพย์. วิทยาศาสตร์พื้นฐาน. กรุงเทพฯ : จิตรวัฒน์, 2554. ----------------------------------------

30

ภาคผนวก

ภาคภนวก ก - ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก

แบบประเมินประสิทธิภาพทีม่ ีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ปีการศึกษา 2556 คาชี้แจง แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ตอนที่ 2 ข้อเสนอแนะ ตอนที่ 1 ระดับคะแนนประสิทธิภาพ โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับความพึงพอใจ (5 = มากที่สุด, 4 = มาก, 3 = ปานกลาง, 2 = น้อย, 1 = น้อยที่สุด) ลาดับ

รายละเอียดคาถาม

ระดับคะแนนประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ความถูกต้องด้านเนื้อหา 1.1 ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ 1.2 การจัดลาดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน มีความต่อเนื่อง เข้าใจง่าย 1.3 เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน 2. ด้านการใช้ภาษา 2.1 ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน 2.2 ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน 2.3 ใช้ศัพท์เฉพาะทางเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน 3. ด้านเทคนิคภาพ 3.1 ตัวอักษร(แบบ ขนาด สี) 3.2 ขนาดของภาพ 3.3 รายละเอียดภาพ 3.4 เทคนิคพิเศษ 3.5 การจัดองค์ประกอบศิลป์ 3.6 การลาดับภาพ 3.7 การสื่อความหมาย ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................... ......................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อผู้ประเมิน............................................. (..........................................) …./…../…..

ภาคภนวก ข - แบบประเมินประสิทธิภาพที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ของครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ทั้ง 5 ท่าน

แบบประเมินประสิทธิภาพทีม่ ีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ปีการศึกษา 2556 คาชี้แจง แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในร้านค้าปลีก ตอนที่ 2 ข้อเสนอแนะ ตอนที่ 1 ระดับคะแนนประสิทธิภาพ โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับความพึงพอใจ (5 = ดีที่สุด, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = น้อย, 1 = น้อยที่สุด) ลาดับ

รายละเอียดคาถาม

ระดับคะแนนประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ความถูกต้องด้านเนื้อหา 1.1 ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ 1.2 การจัดลาดับเนื้อหาเป็นขั้นตอน มีความต่อเนื่อง เข้าใจง่าย 1.3 เนื้อหาของสื่อการสอน เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน 2. ด้านการใช้ภาษา 2.1 ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน 2.2 ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน 2.3 ใช้ศัพท์เฉพาะทางเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน 3. ด้านเทคนิคภาพ 3.1 ตัวอักษร(แบบ ขนาด สี) 3.2 ขนาดของภาพ 3.3 รายละเอียดภาพ 3.4 เทคนิคพิเศษ 3.5 การจัดองค์ประกอบศิลป์ 3.6 การลาดับภาพ 3.7 การสื่อความหมาย ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................... ......................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อผู้ประเมิน............................................. (..........................................) …./…../…..

ภาคภนวก ค - ภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในร้านค้าปลีก