1. แนวคิดของ Chester Barnard

Simon ย้ําว าการตัดสินใจของมนุษย ไม สามารถมีเหตุผลอย างสมบูร...

129 downloads 440 Views 76KB Size
ศาสตรการบริหาร 1. แนวคิดของ Chester Barnard

ไดเขียนหนังสือชื่อ The Functions of the Executive (1938) ขึ้นในชวงที่ ผลงานวิจยั ทดลองจาก Western Electric ของกลุม Elton Mayo ซึง่ เปนตนกําเนิดของทฤษฎีมนุษยสัมพันธเริม่ ทยอยเสนอ การคนพบตาง ๆ ทีข่ ดั ตอหลักวิทยาศาสตรการจัดการของ Frederick W. Taylor ความคิดของ Barnard ในหนังสือ The Functions of the Executive สรุปไดดังนี้ ้ มาจากความจําเปนของคนทีจ่ ะรวมมือกันทํางานบางอยางใหบรรลุเปาหมาย ซึง่ งานดังกลาวนัน้ 1. องคการเกิดขึน คน ๆ เดียวทําเองไมได เพราะมีขอ จํากัดตาง ๆ ทางกายภาพ ชีววิทยา สังคม และจิตวิทยา ้ ไปมารวมมือกันทํางานไมใชของงาย จําเปนตองมีการจัดระบบความรวมมือกัน 2. การนําเอาคนตัง้ แตสองคนขึน (cooperative system) ขึ้นมา ่ ารวมกันทํางานไดสาํ เร็จ คือบรรลุเปาหมายขององคการ (เรียกวาทํางานแบบมี 3. องคการจะดํารงอยูไ ดตอ เมือ่ คนทีม ประสิทธิผล) และสามารถสนองความตองการของปจเจกบุคคลดวย โดยจัดระบบการกระจายผลประโยชนตอบแทนตอสมาชิก willingness to ทีเ่ หมาะสม (เรียกวา ทํางานแบบมีประสิทธิภาพ) สมาชิกทุกคนจะมีความกระตือรือรนตัง้ ใจทํางาน ( ่ ใน cooperate) มีความสามารถในการติดตอซึง่ กันและกันเปนอยางดี ( communication) และสมาชิกทุกคนตางยึดมัน เปาหมายหรืออุดมการณรว มขององคการ ้ อยูก บั ความสามารถของฝายบริหาร ( executive) ในฐานะผูนําองคการที่จะสราง 4. ความอยูร อดขององคการขึน ระบบความรวมมือทีด่ ี เชน จัดเรือ่ งการติดตอ การรักษากําลังใจในการทํางานของปจเจกบุคคล และการเชิดชูธาํ รงไวซง่ึ เปาหมายขององคการ ่ ดั สินใจดวยความรับผิดชอบภายในกรอบของศีลธรรมอันดี 5. ฝายบริหารมีหนาทีต Chester Barnard (1886-1961)

2. แนวคิดของ Herbert A. Simon Herbert A Simon ในหนังสือ Administrative Behavior ยอมรับวาความคิดของเขาไดรบ ั อิทธิพลจากความคิด

ของ Chester Barnard Simon ตองการเสนอความคิดเพือ่ เปนประโยชนในการพัฒนาทฤษฎีรฐั ประศาสนศาสตร โดยโจมตี วาทฤษฎีหลักการบริหารนัน้ มีขอ บกพรองหลายประการ ทําใหเกิดความจําเปนในการวางรากฐานใหกบั การพัฒนาทฤษฎีรฐั ประศาสนศาสตรใหม โดยเริม่ ตนจากแนวความคิด การตัดสินใจ (ในขณะที่ Barnard ไมไดสนใจเรือ่ งทฤษฎีรฐั ประศาสน ศาสตรโดยตรง เพียงแตตอ งการเลาถึงประสบการณการทํางานดานการบริหารของตนเทานัน้ ) Simon ไดยมื ความคิดเห็นของ Barnard มาหลายประการ คือ ่ ชี วี ติ จิตใจไมใชหนุ ยนต Barnard ไดพดู ถึงปจจัยตาง ๆ ทีท่ าํ ใหคนงาน 1. ความคิดทีว่ า องคการประกอบดวยคนทีม รวมมือกันทํางาน สวน Simon ก็ยาํ้ ถึง "สิง่ จูงใจคนใหอยูใ นองคการ" นอกจากนีน้ กั วิชาการทัง้ สองยังไดใหความสําคัญตอการ สรางความจงรักภักดีของสมาชิกในองคการดวย ั มิ นุษยไมใชคนเศรษฐกิจเทานัน้ Barnard อธิบายวาปจเจกบุคคลทีม ่ ารวมมือกัน 2. ความคิดทีว่ า ในทางปฏิบต ทํางานมีความตองการทัง้ ทางเศรษฐกิจและจิตใจดวย เชน ปจเจกบุคคลมีความตองการไดรบั ความสําเร็จในการทํางาน สวน

Simon ย้าํ วาการตัดสินใจของมนุษยไมสามารถมีเหตุผลอยางสมบูรณไดเพราะมีขอ จํากัดมาก จึงทําใหนก ั บริหารตัดสินใจไป

ใหดีที่สุดภายใตสภาวะที่จํากัด เชน ขาดขอมูล เปนตน ่ วกับความสัมพันธระหวางหัวหนาและลูกนอง Simon รับเอาความคิดของ 3. ความคิดเกีย "ขอบเขตการยอมรับอํานาจ" ของลูกนองที่มีตอลูกพี่ (zone of acceptance)

Barnard

เกีย่ วกับ

Simon ไดเสนอแนวทางพัฒนาทฤษฎีการบริหารดังนี้ 1. สรางแนวความคิดตาง ๆ ซึง่ จะมีประโยชนตอ การอธิบายปรากฏการณทางการบริหารตาง ๆ แนวความคิดดังกลาว

ตองเกีย่ วกับเรือ่ งการตัดสินใจของคนในองคการและครอบคลุมถึงปจจัยตาง ๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอการตัดสินใจ 2. ศึกษาขอจํากัดขององคการ มีเหตุผล (rational) เปนที่ยอมรับกันวาทฤษฎีการบริหารตองการหาวิธีการที่จะทําให องคการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารงานทีด่ ตี อ งมีเหตุผลคือ ตัดสินใจเลือกทางจากทางเลือกตาง ๆ ที่จะใหผลประโยชนที่สุด และใชทุนนอยที่สุด แตในทางปฏิบัติองคการมีความสามารถที่จํากัดในการทํางานใหเกิด ประสิทธิภาพเพราะ ประการแรกปจเจกบุคคลมีทกั ษะความสามารถจํากัด เชน ทางสมองและรางกาย ประการทีส่ อง ปจเจกบุคคลเปนมนุษยทม่ี คี วามรูส กึ นึกคิด ยึดถือคานิยมบางอยางซึง่ มีผลตอการตัดสินใจ เชน ความจงรักภักดีตอ องคการอาจมีผลทําใหเขาตัดสินใจบางอยาง ประการทีส่ าม ปจเจกบุคคลมีขอ จํากัดคือ มีความรูใ นเรือ่ งตาง ๆ ที่ เกีย่ วกับงานทีจ่ าํ กัด เชน มีขอ มูลขาวสาร จํากัด สมองมีขอบเขตความสามารถจํากัด ั ษณะแตละแงมมุ อยางไร เชน มีขอบขายการควบคุม แคไหน มี 3. จัดใหทฤษฎีบริหารสามารถวัดไดวา องคการมีลก เอกภาพการควบคุมแคไหน และจะมีผลอยางไรตอการทํางานขององคการ Simon บอกวาเรายังมีความรูในเรื่องนี้ นอยมาก ตองอาศัยการวิจยั อีกมากในอนาคตถึงจะตอบคําถามได แมแตหนังสือของ Simon ก็ยงั หาคําตอบไมได โดยสรุปแลวองคประกอบของการตัดสินใจแบบมีเหตุผลมากทีส่ ดุ ไดแก 1. ผูต  ดั สินใจตองสามารถจัดลําดับความสําคัญของเปาหมายตาง ๆ ทีต่ อ งการจะบรรลุไดวา เปาหมายใดสําคัญกวา เปาหมายใดอยางแนชดั แจมแจง 2. ผูตัดสินใจตองรูแนวทางปฏิบัติ ( alternative strategies) ทุกแนวทางอยางถองแทวา แตละแนวทางจะสงผล (consequences) อยางไรบางตอการบรรลุเปาหมาย และ  ดั สินใจตองมีความรู ( knowledge) และมีความสามารถในทางจิตวิทยา ( psychologically capable) ที่จะ 3. ผูต เลือกแนวทางที่มีประสิทธิภาพสูง ดีที่สุด เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการมากที่สุด ในทางปฏิบัติ Simon มีความเห็นวาการตัดสินใจมิไดดาํ เนินการไปอยางมีเหตุมผี ลสมบูรณแบบ เพราะ 1. ผูตัดสินใจขาดความรูที่สมบูรณ เชน ไมรูแนนอนวาการตัดสินใจแตละแนวทางจะกอใหเกิดผลอะไรกันแน ี วามสามารถทีจ่ ะคาดการณไดวา การตัดสินใจแตละครัง้ จะนํามาซึง่ ความพอใจแคไหนใน 2. มนุษยทว่ั ไปไมมค อนาคต 3. ผูตัดสินใจไมสามารถหยั่งรูถึงแนวทางปฏิบัติไปไดทุกแนวทาง