Decisions in the Selection of Outsource for Investment and

ขนส่งที่ทางบริษัทใช้อยู่นั้น เป็นการ Outsourcing ทั้งหมด ซึ่ง...

87 downloads 629 Views 578KB Size
 

 

Decisions in the Selection of Outsource for Investment and in Comparing the Transportation of the Company with the Outsource Company: A Case Study of M & M Co., Ltd. Alisa Chueasing http://eprints.utcc.ac.th/id/eprint/284

© University of the Thai Chamber of Commerce EPrints UTCC http://eprints.utcc.ac.th/

การตัดสินใจในการเลือก Outsource เพื่อการเลือกลงทุน และทาการเปรียบเทียบการใช้ขนส่งของบริษทั กับบริษทั Outsource ของบริษทั M & M Co., Ltd. อลิษา เชือ้ สิงห์1, พงษ์ธนา วณิชย์กอบจินดา2 1 บัณฑิตวิทยาลัย สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทรศัพท์: 081-484-7472, Email: [email protected] 2 คณะวิศวกรรมโลจิสติกส์, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถนนวิภาวดีรงั สิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 0-2697-6730, Email: [email protected]

บทคัดย่อ การแก้ไขปญั หาที่เกิดขึน้ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในระบบการจัดส่งของบริษทั โดยเริม่ จาก การเลือกประเมิณ Outsource ทัง้ 3 บริษทั ทีม่ อี ยู่ ทัง้ นี้ เนื่องจากทีผ่ ่านมา บริษทั ยังไม่ได้ทาการ ประเมิณ Outsource อย่างเป็ นระบบ ทาให้การเลือกใช้บริการจึงยังไม่บรรลุเป้าหมายทีต่ รงต่อความ ต้องการของบริษทั มากเท่าใดนัก ซึง่ ก่อให้เกิดปญั หามากมายตามมา ทัง้ ในเรื่องของค่าปรับต่างๆที่ เกิดจากการดาเนินงาน ความล่าช้าในการส่งสินค้า ซึง่ จากผลการศึกษาพบว่า บริษทั Outsource ที่ มีประสิทธิภาพสูงสุดในการดาเนินงานทัง้ ในด้านปจั จัยของราคาและคุณภาพของการให้บริการ คือ บริษทั CC Transport & Service ซึง่ หากบริษทั เลือกทีจ่ ะจัดจ้าง Outsource ให้ดาเนินงานต่อไป ควรเลือกพิจารณา บริษทั CC Transport & Service เป็ นลาดับแรก และหากเลือกทีจ่ ะแก้ปญั หา โดยการดาเนินการขนส่งเองด้วยการลงทุนในการซือ้ รถบรรทุกใหม่นนั ้ จาเป็ นทีจ่ ะต้องพิจารณาคัด บริษทั Outsource ทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพออกไปเสียก่อน โดยบริษทั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการตอบสนอง ความต้องการของบริษทั ได้น้อยทีส่ ุด คือ บริษทั AA ขนส่ง จากัด ทัง้ นี้ในการพิจารณาเปรียบเทียบ การใช้ขนส่งของบริษทั ฯ และบริษทั Outsource โดยนาทฤษฎี Make or Buy Decisions มาช่วยใน การตัดสินใจ นัน้ พบว่า ต้นทุนจากการซื้อรถยนต์ เมื่อนามาเฉลี่ยเป็ นต้นทุนบาทต่อกิโลเมตรแล้ว จะมีค่าใช้จ่ายทีส่ งู กว่าการเลือกใช้บริการจาก Outsource ในปจั จุบนั แต่ถา้ หากคานึงถึงผลการ ลงทุนในระยะยาวแล้วนัน้ บริษทั ฯ สามารถลงทุนซือ้ รถบรรทุกมาดาเนินการได้ ทัง้ นี้อา้ งอิงจากการ วิเคราะห์หาจุดคุม้ ทุน ทีพ่ บว่า หากมีปริมาณการขนส่งทีม่ ากกว่า 4,433 กิโลเมตร สาหรับรถ 6 ล้อ

6 ตัน และมากกว่า 3,673 กิโลเมตร สาหรับรถ 6 ล้อ 10 ตัน ก็สามารถทาการดาเนินการเองได้ ซึง่ ก็สอดคล้องกับปริมาณเทีย่ วในการวิง่ รถเฉลีย่ 8,374 กิโลเมตร สาหรับรถ 6 ล้อ 6 ตัน และ 6,382 กิโลเมตร สาหรับรถประเภท 6 ล้อ 10 ตัน

บทนา บริษทั M & M Co., Ltd. เป็ นผูน้ าทางด้าน Surface Treatment และ Heat Treatment สาหรับอุตสาหกรรมในภูมภิ าค ผลิตและจาหน่ ายเคมีภณ ั ฑ์ล้างไขมัน เคลือบผิวโลหะ และ ผลิต ภัณฑ์ป้ องกัน สนิ ม รวมทัง้ ให้บ ริก ารชุ บ เคลือบปรับ คุ ณสมบัติโลหะ เพื่อให้เ หมาะส าหรับ กระบวนการต่อไป โดยปจั จุบนั บริษทั M & M Co., Ltd. ได้มกี ารกระจายสินค้าให้กบั ลูกค้าทางรถขนส่ง ซึง่ รถ ขนส่งทีท่ างบริษทั ใช้อยูน่ นั ้ เป็ นการ Outsourcing ทัง้ หมด ซึง่ ทัง้ หมดเป็ นการ Outsourcing จาก 3 บริษทั ดังนี้ คือ บริษทั AA ขนส่ง, บริษทั BB Logistics และ บริษทั CC Transport & Service โดย รถทีใ่ ช้ในการขนส่งมีอยูถ่ งึ 5 ประเภทด้วยกัน ดังนี้ 1. Pick up : 1 Ton : รถกระบะ4 ล้อ/ตูป้ ิดเปิดท้าย/บรรทุกได้ 1 ตัน 2. Pick up : 2 Ton : รถกระบะ4 ล้อ/ตูป้ ิดเปิดท้าย/บรรทุกได้ 2 ตัน 3. Small Truck 3.6 Ton : รถบรรทุกเล็ก/ตูป้ ิดเปิดท้าย/บรรทุกได้ 3.6 ตัน 4. Truck 6Wheel : 6 Ton : รถบรรทุก6ล้อ/ตูป้ ิดเปิดข้าง/บรรทุกได้ 6 ตัน 5. Truck 6Wheel : 10 Ton : รถบรรทุก10ล้อ/ตูป้ ิดเปิดข้าง/บรรทุกได้ 10 ตัน

ปัญหาและลักษณะปัญหาที่สาคัญของบริษทั ั หาที่เ กิด ขึ้น คือ จากการสัม ภาษณ์ ผู้บ ริห าร พบว่ า สาเหตุ ท่ีบ ริษัท ต้ อ งท าการ ปญ Outsourcingนัน้ เพราะบริษทั ไม่มรี ถขนส่งเป็ นของตัวเอง อีกทัง้ บริษทั ยังขาดการวางแผนในการจัด เส้นทางการขนส่งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ขาดการจัดสรรประเภทรถให้เหมาะสมกับการขนส่ง ดังนัน้ จึงทา ให้บริษทั มีคา่ ใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการดาเนินงานทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ จากการศึกษาปริมาณการขนส่งในแต่ละเส้นทาง และจานวนสัดส่วนของประเภทรถทีใ่ ช้อยู่ เป็ นประจา ทาให้บริษทั ต้องการทีจ่ ะศึกษาและหาแนวทางในการเพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่งสาหรับ เส้นทางใน 4 อันดับแรก ได้แก่ เส้นทางการขนส่งไปยังจังหวัดระยอง จังหวัดอยุธยา เขตบางนาและ เขตสาโรง นอกจากนี้ยงั มีนโยบายที่ต้องการจะศึกษาเพื่อหาแนวทางในการปรับลดต้นทุนในการ ขนส่งของรถบรรทุก6ล้อ/ 6ตัน และ รถบรรทุก10ล้อ/ 10 ตัน เพื่อเป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ขนส่ง และสนับสนุนนโยบายการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของบริษทั อีกด้วย

โดยปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบทาให้ตน้ ทุนในการขนส่งนัน้ สูงขึน้ มีสาเหตุมาจากหลายปจั จัย อาทิ ปญั หาราคาขนส่งสูงขึ้น ปญั หาความล่าช้าในการขนส่งให้แก่ลูกค้าจนต้องเสียค่าปรับให้แก่Out Source โดยแต่ละปจั จัยก็ส่งผลให้บริษทั ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายทีส่ งู ขึน้ ซึง่ ผลกระทบของปญั หาการ ขนส่งนัน้ หากไม่ได้รบั การพยายามแก้ไข หรือยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะเป็ นสาเหตุท่ที าให้ ต้นทุนในการดาเนินงานสูงขึน้ เพราะต้องจ่ายค่าชดเชยหรือค่าปรับต่างๆ ซึง่ นับเป็ นค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงาน

แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ในการวิเคราะห์แนวทางเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการขนส่งของบริษทั M&M Co., Ltd. มี แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง ดังนี้ 1. ทฤษฎี Make or Buy Decision (Ken Platts David Probert) การพิจารณาว่า กิจการควรทาการผลิตสินค้า /บริการเอง หรือกิจการควรซือ้ สินค้า/บริการ จากผู้ผลิตอื่น การตัดสินใจ คือ ต้องทาต้นทุนให้ต่ าสุด โดยซื้อจากบุคคลภายนอก เมื่อต้นทุนที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้า หรือบริการต่ ากว่าต้นทุนการผลิตที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า หรือ บริก าร และจะตัด สิน ใจผลิต เองเมื่อ มีต้ น ทุ น ส่ ว นเพิ่ม ในการผลิต ต่ า กว่ า การจ่ า ยเงิน ซื้อ จาก บุคคลภายนอก 2. แนวคิดเรือ่ งการใช้ Outsourcing เป็ นการลดต้นทุนรวมโดยวิธี Cost Sharing คือ เฉลีย่ ต้นทุนเท่าทีใ่ ช้จริง โดยลดต้นทุนคงที่ ให้มากทีส่ ดุ ซึง่ ต้นทุนส่วนเกินนี้จะถูกผลักไปให้ผใู้ ห้บริการภายนอก ทีเ่ รียกว่า External Logistics & Supply Chain Provider Services หรือเรียกว่า Outsource โดยองค์ประกอบของกิจกรรมโลจิ สติกส์ หลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการตัดสินใจทีจ่ ะบริหารกิจกรรมโลจิสติกส์ดว้ ยตนเองหรือว่าจ้างบริษทั ภายนอก มีเหตุผลดังนี้ การลดต้นทุนโดยรวม (Total Cost Reduction) 1. แบ่งงานให้ผูท้ ม่ี ตี ้นทุนในการดาเนินงานทีต่ ่ ากว่า และทางานได้ดกี ว่าไปทา (Division of Labor) 2. การลดข้อจากัดด้านภูมปิ ระเทศ กฎหมาย และการเมืองและสังคม 3. เพิม่ ประสิทธิภาพในการแข่งขันและทากาไรได้ดกี ว่า 4. เพือ่ ทีจ่ ะได้นาทรัพยากรทีม่ ไี ปใช้ในงานทีม่ คี วามสาคัญกว่า 3. การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนและการวิเคราะห์จุดเสมอตัว (Horngren, C.,Sundem, G & Stratton, W.)

การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนคือ การหาระดับความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และต้นทุนเพื่อหาระดับ ปริมาณขาย ซึ่งจะก่อให้เกิดรายได้ทค่ี ุม้ กับทุน เนื่องจากต้นทุนทางธุรกิจประกอบด้วย ต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผัน ณ จุดใดจุดหนึ่งการดาเนินการอาจจะขาดทุน ปญั หาส่วนใหญ่มกั จะเกิดจาก ต้นทุนคงทีอ่ นั ได้แก่ ค่าเช่า ค่าเสื่อม ดอกเบีย้ จ่าย ฯลฯ ถ้าการประกอบการมีแต่ตน้ ทุนแปรผัน การ วิเคราะห์จุดคุ้มทุ นก็ไม่จาเป็ น ถ้าเป็ นกรณีของการเปรียบเทียบโครงการหรือทางเลือกเพื่อหา ปริมาณการผลิตที่ทาให้ต้นทุนของโครงการหรือทางเลือกนัน้ มีค่าเท่ากัน การวิเคราห์เช่นนี้ เรา เรียกว่า การวิเคราะห์จุดเสมอตัว กรณีทบ่ี ริษทั มีผลกาไร สมการผลกาไรรวม (TP) คานวณได้จากส่วนต่างของรายได้รวม (TR) และต้นทุนรวม (TC) TP = TR - TC

ระเบียบวิธีการศึกษาและผลการศึกษา จากค่าใช้จ่ายทัง้ หมดนัน้ พบว่า ต้นทุนที่มปี ริมาณสูงที่สุด คือ ต้นทุนจากราคาขนส่งของ บริษทั Outsource ทีป่ รับตัวสูงขึน้ รองลงมาคือปญั หาจากความล่าช้าในการขนส่งสินค้า การส่ง สินค้าผิดสถานที่ และสินค้าเสียหายขณะส่ง ตามลาดับ ซึ่งแบ่งการวิ เคราะห์ปัญหาออกเป็ น 2 กลุ่มดังนี้ คือ 1. ต้ นทุ นการขนส่ ง ที่ สูง ขึ้น ที่ บริ ษัทจ าเป็ นต้ องรับผิ ดชอบค่ าใช้ จ่าย คือ ในส่ว นของ ปญั หาราคาขนส่งที่สูงขึ้นของOutsource และปญั หาความล่าช้าในการส่งสินค้า อัน เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ ทัง้ ในเรื่องของปจั จัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ หรือเกิด จากการบริห ารงานภายในที่ย งั ไม่มีป ระสิท ธิภ าพ ซึ่ง ส่ง ผลกระทบต่ อ การเพิ่ม ขึ้น ของ ค่าใช้จ่ายในด้านการขนส่ง โดยจะวิเคราะห์และกาหนดแนวทางการแก้ไข ดังนี้ - การปรับราคาที่สงู ขึน ้ ของOutsource เป็ นปจั จัยภายนอก และเป็ นปจั จัยทีบ่ ริษทั ควบคุม ได้ยาก เพราะเป็ นทีท่ ราบกันดีวา่ ราคาขนส่งมีการปรับตัวขึน้ ตามราคาตลาด - ปัญหาที่ เกิ ดจากการความล่าช้ าในการรอรับสิ นค้าจากลูกค้าปลายทาง ซึ่งในส่วนนี้ หากไม่ไ ด้เ กิด จากความผิด พลาดของบริษัท ขนส่ง เองแล้ว ทางบริษัท จ าเป็ น ที่จ ะต้อ ง รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ จากตรงนัน้ 2. ต้นทุนการขนส่งที่ บริ ษทั ไม่จาเป็ นต้องรับผิ ดชอบค่าใช้จ่าย อันได้แก่ ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิด จากการส่งสินค้าผิดสถานที่ และค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการเสียหายขณะส่งสินค้า แนวทางแก้ไขปัญหาที่ 1 ทาการประเมิ น Outsource ด้วยวิ ธี Rating Factor Analysis โดยผูศ้ กึ ษาได้นาข้อมูลย้อนหลัง มาประกอบการวิเคราะห์และประเมินผล โดยเป็ นข้อมูล ย้อนหลังตัง้ แต่เดือน มกราคม 2553-พฤศจิกายน 2554 รวมเป็ นเวลาทัง้ สิน้ 23 เดือน

การเปรียบเทียบบริษทั ขนส่งของ Outsource Factor

AA ขนส่ง

BB Logistics

CC Transport & Service

- ส่งสินค้าผิดสถานที่ (%)

0.16 %

0.12 %

0.17 %

- สินค้าเสียหายขณะส่ง

0.05 %

0.05 %

0.04 %

- ส่งสินค้าไม่ตรงเวลา

0.07 %

0.07 %

0.08 %

Quality

รถ 6 ตัน 16.67

รถ 10 ตัน 19.77

รถ 6 ตัน 17.23

รถ 10 ตัน 20.90

รถ 6 ตัน 17.23

รถ 10 ตัน 20.90

อยุธยา

19.41

26.06

18.61

25.00

19.68

26.06

บางนา

26.13

35.22

26.13

35.22

23.86

32.95

สาโรง

32.85

44.28

32.85

44.28

30.00

41.42

Cost ราคาค่าขนส่งต่าทีส่ ดุ (บาท) ระยอง

Service ไม่จากัด

5 – 6 คันต่อวัน

ไม่จากัด

- การจัดการด้านเอกสาร

มี

มี

มี

- พนักงานประจารถ

มี

มี

มี

- เครดิตการวางบิล

มี (30วัน)

มี (30วัน)

มี (30วัน)

- แต่งกายตามกฎระเบียบ รองเท้าหุม้ ส้น สวมหมวก ชุดเป็ นระเบียบ - มีการสกรีนข้างรถว่าเป็ นรถขนส่ง วัตถุอนั ตรายของบริษทั Flexibility

มี

มี

มี

มี

มี

ไม่ม ี

ค่าปรับต่า , มีการยืดหยุน่ ในการเจรจา

3 ชัวโมงขึ ่ น้ ไป คิด ค่าบริการเพิม่ ชัวโมงละ ่ 400 บาท

ไม่มคี า่ ปรับ

2 ชัวโมงขึ ่ น้ ไป คิด ค่าบริการเพิม่ ชัวโมง ่ ละ 300 บาท

มี

มี

มี

- จานวนรถเรียกใช้ได้ไม่จากัด

Brand Awareness

Safety - ต้องมีเครือ่ งมือและอุปกรณ์ความ ปลอดภัยสาหรับรถบรรทุกวัตถุอตั ราย ไว้ในรถ

แสดงเกณฑ์ในการให้น้าหนัก Factor

Quality

- ส่งผิด - เสียหาย - ส่งไม่ตรงเวลา Cost

-

ระยอง อยุธยา บางนา สาโรง Flexibility Service - จานวนรถเรียกใช้ ไม่จากัด - การจัดการด้าน เอกสาร - พนักงานประจา รถ - เครดิ ตการวางบิล - การแต่งกายของ พนักงาน - สกรีนข้างรถ Safety

Weight (%) บริ ษทั AA ขนส่ง จากัด 30 (10) (10) (10) 20 (5) (5) (5) (5)

บริ ษทั BB โลจิ สติ กส์

บริ ษทั CC Transport & Service Co., Ltd

3 1 1

1 3 3

2 1 1 6 ตัน 3 2 1 1

10ตัน 3 1 1 1

6 ตัน 1 3 1 1

10 ตัน 1 3 1 1

6 ตัน 1 1 3 3

10ตัน 1 1 3 3

10 35 (10)

1

3

2

3

1

3

(5)

3

3

3

(5)

3

3

3

(5)

3

3

3

(5)

3

3

3

(5)

3

3

1

3

3

3

5

- มีอปุ กรณ์ความ ปลอดภัยสาหรับ รถบรรทุกวัตถุ อัตรายไว้ในรถ

ผลการประเมิน Factor

Quality Cost

ระยอง อยุธยา บางนา สาโรง Flexibility Service Safety Total ระยอง อยุธยา บางนา สาโรง รวม 4 เส้นทาง

บริ ษทั AA ขนส่ง จากัด

บริ ษทั BB โลจิ สติ กส์

4

5

6 ตัน 7

10 ตัน 6

6 ตัน 6

10 ตัน 6

(3) (2) (1) (1)

(3) (1) (1) (1)

(1) (3) (1) (1)

(1) (3) (1) (1)

6 ตัน 29 28 27 27 33

1 18 3 10 ตัน 29 27 27 27 32

6 ตัน 28 30 28 28 33

3 16 3 10 ตัน 28 30 28 28 33

บริ ษทั CC Transport & Service Co., Ltd 7 6 ตัน 10 ตัน 8 8 (1) (1) (3) (3)

(1) (1) (3) (3)

6 ตัน 29 29 31 31 44

2 16 3 10 ตัน 29 29 31 31 44

ผลการศึกษาจากแนวทางแก้ไขปัญหาที่ 1 1. แบบที่ 1. หากบริษทั ฯ ต้องการทีจ่ ะดาเนินการจัดจ้างบริษทั Outsource ในการขนส่งต่อไป บริษทั Outsource ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดและตอบสนองความต้องการของบริษทั ได้มาก ทีส่ ดุ คือ บริษทั CC Transport & Service Co., Ltd 2. แบบที่ 2. กรณี ท่ีบ ริษัท ฯ ต้องการจัด หาบริษัท Outsource รายใหม่ บริษัท จาเป็ น ต้อ ง คัดเลือกบริษทั Outsource ทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของบริษทั ได้ น้อยทีส่ ุดออกไปเสียก่อน โดยจากการประเมินและให้คะแนน บริษทั ทีม่ รี ะดับการให้บริการ

ต่ าทีส่ ุด คือ บริษทั AA ขนส่ง จากัด ทัง้ นี้แม้ว่าเมื่อดูจากคะแนนรวมทีส่ รุปมาแล้ว พบว่า บริษทั AA ขนส่ง จากัด และบริษทั BB Logistics มีคะแนนทีไ่ ม่ได้แตกต่างกันมากนัก แต่ หากเปรียบเทียบในปจั จัยของเรือ่ งความยืดหยุน่ ในการเจรจาต่อรองเกีย่ วกับค่าปรับแล้วนัน้ จะพบว่า บริษทั AA ขนส่ง จากัด มีอ ตั ราค่าปรับที่สูงที่สุดเมื่อเปรียบกันใน 3 บริษัท Outsource นี้ ซึง่ ในทางกลับกัน บริษทั BB Logistics เป็ นบริษทั เดียวทีบ่ ริษทั ฯ สามารถ ต่อรองเจรจาให้ไม่เสียค่าปรับในกรณีใดๆได้ แนวทางการแก้ไขปัญหาที่ 2นาทฤษฎี Make or Buy Decision มาช่วยในการตัดสิ นใจ สัดส่วนจานวนการวิง่ รถ Rayong Ayuthaya Bangna Samrong

Others 35 28 16 9

รวม

88

Trip/Mth Trip/Day Distance/Mth 6Tons 10Tons 6Tons 10Tons km/Trip 6Tons 10Tons 21 14 0.8 0.5 354 7,434 4,956 11 17 0.4 0.6 188 2,106 3,158 10 6 0.4 0.2 88 845 563 11 11 0.4 0.4 70 760 760

53

48

2.0

1.8

700

11,145

9,437

 ในการลงทุนซือ้ รถบรรทุก 6 ล้อ 6 ตัน 1 คัน อัตราการใช้งานจะเท่ากับ 26 วัน ต่อ 1 เดือน เพราะในเส้นทางจังหวัดระยองและอยุธยาจะทาการวิ่งรถได้วนั ละ 1 เที่ยวเท่านัน้ โดย หลังจากทีล่ งทุนซือ้ รถบรรทุก 6 ล้อ 6 ตันแล้ว จะนาไปวิง่ ในเส้นทางระยองและอยุธยา โดย เน้นการใช้งานทีร่ ะยองเป็ นหลัก คือ วิง่ รถอย่างเต็มประสิท ธิภาพที่ 21 เทีย่ วต่อเดือน ทัง้ นี้ เพื่อเป็ นการใช้งานรถบรรทุกอย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่วนที่เหลืออีก 5วัน หรือ 5 เที่ยว บริษทั จะทาการนารถไปวิง่ ในเส้นทางจังหวัดอยุธยา และในส่วนจานวนเทีย่ วทีเ่ หลือของอ ยุธยานัน้ บริษทั ก็จะทาการดาเนินการจ้าง Outsource ต่อไป  ในการลงทุนซื้อรถบรรทุก 6 ล้อ 10 ตัน 1 คัน อัตราการใช้งานจะเท่ากับ 26 วัน ต่อ 1 เดือน เพราะในเส้นทางจังหวัดระยองและอยุธยาจะทาการวิง่ รถได้วนั ละ 1 เที่ยวเท่านัน้ โดยหลังจากทีล่ งทุนซือ้ รถบรรทุก 6 ล้อ 10 ตันแล้ว จะนาไปวิง่ ในเส้นทางระยองและอยุธยา โดยเน้นการใช้งานทีอ่ ยุธยาเป็ นหลัก คือ วิง่ รถอย่างเต็มประสิทธิภาพที่ 17 เทีย่ วต่อเดือน ทัง้ นี้เพื่อเป็ นการใช้งานรถบรรทุกอย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่วนทีเ่ หลืออีก 9วัน หรือ 9 เทีย่ ว บริษทั จะทาการนารถไปวิง่ ในเส้นทางจังหวัดระยอง และในส่วนจานวนเที่ยวที่เหลือของ ระยองนัน้ บริษทั ก็จะทาการดาเนินการจ้าง Outsource ต่อไป

ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเปรียบเทียบระหว่างการจัดจ้างและดาเนินการเอง สาหรับรถ 6 ล้อ 6 ตัน รายการ

ประเภทต้นทุน

บริ ษทั ดาเนิ นการเอง บาท/เดือน 25,000

จัดจ้าง Outsource บาท/เดือน 18,000 -

-

1. ค่าบริหารและค่าโสหุย้ 2. ค่ารถ (จานวนปีทใ่ี ช้งาน เท่ากับ 5ปี )

ต้นทุนคงที่

3. ค่าประกันพาหนะ 4. ค่าจดทะเบียนและใบ อนุญาติ 5. ค่าเงินเดือนพนักงานขับ พาหนะ 6. ค่าเชือ้ เพลิง ( 32บาท/ลิตร ,อัตราการกิน น้ามัน5.5 กม./ลิตร ) 7. ค่าบารุงรักษาตาม ระยะทาง 8. ค่ายาง 9. ค่าทางด่วน 10. ค่าเทีย่ ว (เงินพิเศษ) 11. ค่าจ้างปฏิบตั งิ าน รวมต้นทุนแปรผัน

ต้นทุนคงที่

(1,199,000/5)/12 = 19,983 (10,666/12) = 839

ต้นทุนคงที่ ต้นทุนคงที่

2,000/12= 167 10,000

รวมต้นทุนคงที่

ต้นทุนคงที่

ต้นทุนแปรผัน

(8,374/5.5) x 32 = 48,721

ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน

(0.56x8,374) = 4,689 (0.58x8,374) = 4,857 (240x26) = 6,240 (0.87x8,374) = 7,285 (71,792/8,374) = 8.57 55,989

-

-

-

143,550 (143,550/8,374) = 17.14 18,000

หมายเหตุ : เฉลีย่ แล้วใน 1 เดือน จะทาการขนส่งในเส้นทางระยองและอยุธยารวมกันแล้ว 8, 374 กิโลเมตรต่อเดือน ดังนี้  - วิง่ เส้นทางระยอง 21 เที่ยว ในระยะทางไปกลับ 354 กิโลเมตร 21x354 = 7,434 กิโลเมตร - วิง่ เส้นทางอยุธยา 5 เทีย่ ว ในระยะทางไปกลับ 188 กิโลเมตร 5X188

= 940 กิโลเมตร รวมระยะทาง เท่ากับ 8, 374 กิโลเมตร

การคานวณหาจุดคุ้มทุน TC make Fc + Vc (Qbep) 55,989 + 8.57 (Qbep) 8.57 (Qbep) Qbep Qbep

= = = = = =

TC buy Fc + Vc (Qbep) 18,000+17.14 (Qbep) 37,989 37,989/8.57 4,433

การคานวณหาต้นทุนรวม ณ จุดคุ้มทุน ลองแทนค่าในสมการ TC make = 55,989+ (8.57 x 4,433) = 93,978

TC buy = 18,000+ (17.14 x 4,433) = 93,978

กราฟแสดงจุดคุ้มทุน Bath. 93, 978

TC Buy TC Make

55,989

BEP Km.

18,000 4,433

จากกราฟสรุปได้ว่า ถ้า Demandหรือปริมาณการขนส่งมากกว่า 4,433 กิโลเมตรต่อเดือน ควรจะ Make หรือดาเนินการขนส่งเอง และถ้า Demandหรือปริมาณการขนส่งน้อยกว่า 4,433

กิโลเมตรต่อเดือน ควรจะ Buy หรือจัดจ้างบริษทั Outsource ในการขนส่ง และไม่ว่าจะทาการ ดาเนินการเองหรือจัดจ้างบริษทั Outsource ในการดาเนินการขนส่ง ก็จะมีตน้ ทุนรวมอยูท่ ่ี 93,978 บาท ณ จุดคุม้ ทุนที่ 4,433 กิโลเมตรต่อเดือน

ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเปรียบเทียบระหว่างการจัดจ้างและดาเนินการเอง สาหรับรถ 6 ล้อ 10 ตัน รายการ

ประเภทต้นทุน

1. ค่าบริหารและค่าโสหุย้

ต้นทุนคงที่

บริ ษทั ดาเนิ นการเอง บาท/เดือน 25,000

จัดจ้าง Outsource บาท/เดือน 18,000

2. ค่ารถ (จานวนปีทใ่ี ช้งาน เท่ากับ 5 ปี ) 3. ค่าประกันพาหนะ 4. ค่าจดทะเบียนและใบ อนุญาติ 5. ค่าเงินเดือนพนักงานขับ พาหนะ 6. ค่าเชือ้ เพลิง ( 32บาท/ลิตร ,อัตราการกิน น้ามัน 5.5 กม./ลิตร ) 7. ค่าบารุงรักษาตาม ระยะทาง 8. ค่ายาง 9. ค่าทางด่วน 10. ค่าเทีย่ ว (เงินพิเศษ) 11. ค่าจ้างปฏิบตั งิ าน รวมต้นทุนแปรผัน รวมต้นทุนคงที่

ต้นทุนคงที่

-

ต้นทุนคงที่

(1,640,000/5)/12 = 27,333 (10,066/12) = 839

ต้นทุนคงที่ ต้นทุนคงที่

(2000/12) = 167 12,000

-

ต้นทุนแปรผัน

(6,382/5) x 32 = 40,845

ต้นทุนแปรผัน

(0.82x6,382) = 5,233 (0.85x6,382) = 5,425 (240x26) = 6,240 (0.87x8,374) = 7,285 (65,028/6,382) = 10.19 65,339

ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนแปรผัน

-

-

-

147,267 (147,267/6,382) = 23.08 18,000

หมายเหตุ : เฉลีย่ แล้วใน 1 เดือน จะทาการขนส่งในเส้นทางระยองและอยุธยารวมกัน

แล้ว 6,382 กิโลเมตรต่อเดือน ดังนี้ - วิง่ เส้นทางอยุธยา 17 เทีย่ ว ในระยะทางไปกลับ 188 กิโลเมตร 17x188 = 3,196 กิโลเมตร - วิง่ เส้นทางอยุธยา 9 เทีย่ ว ในระยะทางไปกลับ 354 กิโลเมตร 9X354 = 3,186 กิโลเมตร รวมระยะทาง เท่ากับ 6,382 กิโลเมตร การคานวณหาจุดคุ้มทุน TC make Fc + Vc (Qbep) 65,339 + 10.19 (Qbep) 12.89 (Qbep) Qbep Qbep

= = = = = =

TC buy Fc + Vc (Qbep) 18,000+23.08 (Qbep) 47,339 47,339/12.89 3,673

การคานวณหาต้นทุนรวม ณ จุดคุ้มทุน ลองแทนค่าในสมการ TC make = 65,339 + (10.19 x 3,673) TC buy = 18,000 + (23.08 x 3,673) = 102,762 = 102,762 กราฟแสดงจุดคุ้มทุน Bath. 102,762

TC Buy TC Make

65,339

BEP Km.

18,000 3,673

ถ้า Demandหรือปริมาณการขนส่งมากกว่า 3,673 กิโลเมตรต่อเดือน ควรจะ Make หรือ ดาเนินการขนส่งเอง และถ้า Demandหรือปริมาณการขนส่งน้อยกว่า 3,673 กิโลเมตรต่อเดือน ควร จะ Buy หรือจัดจ้างบริษทั Outsource ในการขนส่ง และไม่ว่าจะทาการดาเนินการเองหรือจัดจ้างบ ริษทั Outsource ในการดาเนินการขนส่ง ก็จะมีตน้ ทุนรวมอยูท่ ่ี 102,762 บาท ณ จุดคุม้ ทุนที่ 3,673 กิโลเมตรต่อเดือน ผลการศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาปัญหาที่2 จาก Demand การขนส่ง ในแต่ ล ะเดือ นของกรณี ศึก ษาเส้น ทางหลัก ที่ดีท่ีสุ ด อัน ได้แ ก่ เส้นทางจังหวัดระยอง และจังหวัดอยุธยา โดยมีปริมาณการวิง่ รถเป็ นจานวนเทีย่ วและเป็ นจานวน กิโลเมตรทีส่ งู ทีส่ ุด ในรถบรรทุก 6 ล้อ 6 ตัน และ รถบรรทุก 6 ล้อ 10 ตัน ของบริษทั ฯ ซึง่ พบว่า มี Demand การขนส่งอยู่ท่ี 8,374 และ 6,382 กิโลเมตร ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับแผนภูมกิ ราฟ แสดงจุดคุม้ ทุน 3.3 และ 3.4 ที่สรุปไว้ว่า สาหรับรถบรรทุกประเภท 6 ล้อ 6 ตัน หากมี Demand มากกว่า 4,433 กิโลเมตรต่อเดือนก็สามารถซือ้ รถมาดาเนินการขนส่งเองได้ และสาหรับรถบรรทุก ประเภท 6 ล้อ 10 ตัน หากมี Demand มากกว่า 3,673 กิโลเมตรต่อเดือน ก็สามารถซื้อรถมา ดาเนินการขนส่งเองได้ ซึง่ หากพิจารณาจาก Demand ทีเ่ กิดขึน้ จริงของบริษทั ฯ ในปจั จุบนั นี้ และ เพื่อเป็ นการลงทุนในระยะยาว ทางเลือกในการพิจารณาซือ้ รถยนต์มาดาเนินการเองจึงเป็ นอีกหนึ่ง ทางเลือกทีผ่ ทู้ าการศึกษา ต้องการทีจ่ ะเสนอเป็ นแนวทางแก้ไขในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ขนส่งต่อไป

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หลังจากทีไ่ ด้ศกึ ษาถึงสาเหตุของปญั หาแล้ว จึงได้ทาการเสนอแนวทางการแก้ไข ดังนี้ 1. ทาการประเมิ น Outsource ด้วยวิ ธี Rating Factor Analysis เพื่อการเลือกใช้บริการจากบริษทั Outsource ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด บริษทั จึงทาการ ประเมิน Outsource ด้วยวิธี Rating Factor Analysis สรุปผลการประเมินได้ว่า บริษทั Outsource ทีม่ คี ะแนนรวมสูงสุด คือ บริษทั CC Transport & Service Co., ltd รองลงมาคือ บริษทั BB โลจิ สติกส์ และสุดท้ายคือ บริษทั AA ขนส่งจากัด ซึ่งจากปจั จัยที่ผูศ้ กึ ษาได้นามาวิเคราะห์และ ประเมินผลนัน้ ประกอบไปด้วยปจั จัยทัง้ ในด้านราคาและคุณภาพ ผูท้ าการศึกษาได้สรุปเป็ นแต่ละ แนวทางเลือก ดังต่อไปปนี้ 2. คานวณหาจุดคุ้มทุนโดยทฤษฎี Make or Buy Decision ในกรณี ที่บริ ษทั เลือกที่จะซื้อ รถบรรทุกเป็ นของตนเอง

- จาก Demand การขนส่งในแต่ละเดือนของกรณีศกึ ษาเส้นทางหลักที่ดที ่สี ุด อันได้แก่ เส้นทางจังหวัดระยอง และจังหวัดอยุธยา โดยมีปริมาณการวิง่ รถเป็ นจานวนเทีย่ วและเป็ น จานวนกิโลเมตรที่สูงที่สุด ในรถบรรทุก 6 ล้อ 6 ตัน และ รถบรรทุก 6 ล้อ 10 ตัน ของ บริษทั ฯ ซึง่ พบว่า มี Demand การขนส่งอยูท่ ่ี 8,374 และ 6,382 กิโลเมตร ตามลาดับ ซึง่ สอดคล้องกับแผนภูมกิ ราฟแสดงจุดคุม้ ทุนทีส่ รุปไว้ว่า สาหรับรถบรรทุกประเภท 6 ล้อ 6 ตัน หากมี Demand มากกว่า 4,433 กิโลเมตรต่อเดือนก็สามารถซือ้ รถมาดาเนินการขนส่ง เองได้ และสาหรับรถบรรทุกประเภท 6 ล้อ 10 ตัน หากมี Demand มากกว่า 3,673 กิโ ลเมตรต่ อ เดือ น ก็ส ามารถซื้อ รถมาด าเนิ น การขนส่ ง เองได้ ซึ่ง หากพิจ ารณาจาก Demand ที่เกิดขึน้ จริงของบริษัทฯ ในปจั จุบนั นี้ และเพื่อเป็ นการลงทุนในระยะยาว ทางเลือ กในการพิจ ารณาซื้อ รถยนต์ ม าด าเนิ น การเองจึง เป็ น อีก หนึ่ ง ทางเลือ กที่ผู้ ทาการศึกษา ต้องการที่จะเสนอเป็ นแนวทางแก้ไขในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ขนส่งต่อไป ข้อเสนอแนะ แนวทางในการจัดการการขนส่งให้มปี ระสิทธิภาพนัน้ บริษัทควรมีการวิเคราะห์ถึงสาเหตุ ท่ี ก่อให้เกิดต้นทุนในการขนส่งทีส่ งู ในแต่ละสาเหตุ โดยอาจจะมีการวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน และ แบ่งแยกสาเหตุทก่ี ่อให้เกิดแต่ละปญั หาให้ชดั เจน เช่น ปญั หาทีล่ ่าช้าในการรอส่งของสาหรับลูกค้า ั หาเหล่ า นัน้ เกิด จากความผิด พลาดในการ ปลายทาง ซึ่ง ทางบริษัท ฯ อาจต้อ งไปศึก ษาว่า ป ญ ประสานงานของทางบริษัทเอง หรือเกิดมาจากความล่าช้าของลูกค้าปลายทาง ซึ่งหากเกิดจาก ความผิด พลาดในการประสานของทางบริษัท ก็ค วรจะมีก ารตรวจสอบในแต่ ล ะขัน้ ตอนการ ดาเนินงาน และทาการปรับปรุงให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลดข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ หรือหากมีสาเหตุ มาจากลูกค้าปลายทางเองนัน้ ก็ควรมีการประสานงานและแจ้งให้ลูกค้ารับทราบ พร้อมทัง้ ขอความ ร่วมมือในการช่วยปรับปรุงและแก้ไขต่อไป

References/บรรณานุกรม ภาษาไทย กุสุมา แจ้งล้อม. 2551. กลยุทธ์ในการลดต้นทุนการขนส่ง กรณี ศึกษา บริ ษทั ดีเค เทรดดิ้ ง จากัด )ประเทศไทย(. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์ บัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. คณิศร์ พึง่ กล่อม. 2549. การกาหนดกลยุทธ์ในการจัดส่งสิ นค้าแก่ผรู้ บั ในเขตภาคเหนื อ ของบริ ษทั เอ เอ็กซ์เพรส จากัด. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. ชุมพล สายเชือ้ . 2549. การศึกษาและกาหนดกลยุทธ์เพื่อแก้ไขปัญหาผลกระทบของราคา น้ า มัน ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ในธุร กิ จ ผู้ป ระกอบการขนส่ ง กรณี ศึ ก ษา หจก. บี เ อส ขนส่ ง . การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. ณัฐชา วงศ์พร้อมรัตน์ .2551 .การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการจัดการคลังสิ นค้าและการส่งมอบ สิ นค้า : กรณี ศึกษา บริ ษทั AAA จากัด )กรุงเทพ(. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง สาขา การจัดการโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้า ไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. ทิพวัลย์ ฉันทรเจริญโชค .2551 .การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการผลิ ต และการส่งมอบ สิ นค้าให้ แก่ลูกค้า กรณี ศึกษาบริ ษัทผลิ ตถุงพลาสติ กการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง . สาขาการจัดการโลจิสติกส์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. ธนิต โสรัตน์ . 2550. Outsourcing Logistics การเลือกใช้ผใู้ ห้บริ การภายนอก [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.v-servegroup.com/new/documment.php?Bookno=146 นีลวัสน์ รักษวลี. 2551. การพัฒนาระบบการรับ - ส่งพนักงานของบริ ษทั เอแอนด์ที จากัด. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ. ปุณณฑรีย์ ธนกาญจน์. 2551. การกาหนดกลยุทธ์ เพื่อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการจัดส่งคอนกรีต ผสมเสร็จ บริ ษัท พี เ อ็น ที ค อนกรี ต จ ากัด . การศึก ษาค้น คว้า ด้ว ยตัว เอง สาขาการ จัดการโลจิสติกส์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จังหวัดกรุงเทพฯ.