DHS South ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2559
รอบรั้วเครือข่าย
จดหมายข่าวฉบับที่ 12 ...ทุกคนนั้นมีศักยภาพ มีคุณความดี มีข้อเด่น อยู่ที่จะน�ำความดี ความโดดเด่นด้านไหน มาร้อยเรียงให้เกิดสุขภาวะแบบมีส่วนร่วม...
ห้องเรียนอาจารย์วราวุธ อ่านต่อหน้า 4
บก.ชวนคุย ถ้อยแถลงจากชายแดนใต้ ห้องเรียนอาจารย์วราวุธ แวดวง DHML ระบบข้อมูลสุขภาพชุมชน ปฏิบัติการงานวิจัย ประเมินเพื่อการพัฒนา หนึ่งอ�ำเภอหนึ่งโครงการ บทเรียนจากพื้นที่
หน้า 2 หน้า 3 หน้า 4 หน้า 5 หน้า 5 หน้า 6 หน้า 6 หน้า 7 หน้า 8
...ข้อมูลสุขภาพชุมชน ในพื้นที่อ�ำเภอควนขนุน เพื่อตอบโจทย์การใช้ประโยชน์ข้อมูล ให้กับ อสม. และคนในชุมชน...
...หลักการ 4 ช. นี้ คือ เชียร์ ชวน เชื่อม ชื่นชม จะช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ท�ำให้ชุมชนเข้มแข็งและไม่ทอดทิ้งกัน...
ระบบข้อมูลสุขภาพชุมชน
บทเรียนจากพื้นที่
อ่านต่อหน้า 5
กรุณาส่ง
มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
ชั้น 1 อาคารบริหารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์/โทรสาร 0 7445 1168 เว็บไซต์ : www.SHFthailand.org อีเมล :
[email protected]
อ่านต่อหน้า 8
บก. ชวนคุย ขอส่งท้ายปลายปี 2559 ด้วย จดหมายข่าว “รอบรั้วเครือข่าย DHS South” ฉบับที่ 12 ซึ่ง น�ำเสนอเรื่องราว ให้ผู้อ่านได้ติดตามกัน 8 คอลัมน์อีกเช่นเคย คือ 1) ถ้อยแถลงจากชายแดนใต้ ด้วยพระบรมราโชวาทและบทเพลง น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ 2) ห้องเรียนอาจารย์วราวุธ ชันชีสุขภาพต�ำบลนาทอนผ่านการบอกเล่าของนายก อบต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล 3) แวดวง DHML ด้วยความเข้มแข็งของทีมน�ำเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอจนสามารถ พัฒนาเป็น LCC เมืองปัตตานี 4) ระบบข้อมูลสุขภาพชุมชน อสม. กับการเป็นเจ้าของข้อมูลสุขภาพที่ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง 5) ปฏิบัติการงานวิจัย โรงพยาบาลยะลากับการเรียนรู้ PAR เพื่อแก้ไขปัญหาคาใจในการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง จากโรงพยาบาลถึงที่บ้าน 6) การประเมินเพื่อการพัฒนา การน�ำ DE มาใช้ในการท�ำงานใหญ่เชิงระบบอย่าง สปสช. ที่ไม่ใช่เรื่องง่าย 7) หนึ่งอ�ำเภอหนึ่งโครงการ พัฒนาการของ ODOP ด้วยการใช้งาน รพ.สต. แนวใหม่ร่วมขยายการท�ำงาน ไปทั้ง จ.นราธิวาส 8) บทเรียนจากพื้นที่ การสร้างสังคมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกันที่ อ.ห้วยยอด จ.ตรัง ทั้งนี้ ทุกคอลัมน์ในจดหมายข่าว “รอบรั้วเครือข่าย DHS South” ฉบับที่ 12 ในมือท่าน พร้อมรับข้อแนะน�ำ และค�ำติชมจากสมาชิกเครือข่าย DHS และขอเชิญชวนผู้สนใจร่วมส่งงานเขียนจากพื้นที่มาเผยแพร่ ใน Facebook ที่ DHS South : โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอ หรือส่งมายังกองบรรณาธิการ ที่ อีเมล:
[email protected] แล้วพบกันใหม่อีกครั้งเพื่อร่วมกันก้าวต่อไปข้างหน้าสู่ปีที่ 3 ในปี 2560
2
ที่ปรึกษา
บรรณาธิการ
กองบรรณาธิการ
นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ
ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย แก้วตา สังขชาติ
ชญานิษฐ์ เพ็ชรรัตน์ เมษยา มะประสิทธิ์ อัสมีน บือโต
รอบรั้วเครือข่าย
ถ้อยแถลงจากชายแดนใต้ โดย นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ
...การทีจ่ ะท�ำให้งานประสานกันนัน้ มีหลักส�ำคัญอยูว่ า่ ทุกฝ่ายจะต้องไม่แบ่งแยกกัน ไม่แย่งประโยชน์ ไม่แย่งความชอบกัน แต่ละฝ่ายแต่ละคนต้องท�ำงานด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ มุง่ หวังผลส�ำเร็จในการงานเป็นใหญ่ยงิ่ กว่าสิง่ อืน่ ความบริสทุ ธิใ์ จ และความมุง่ หมายอันเทีย่ งตรงเป็นอย่างเดียวกันนัน้ จะท�ำให้เข้าใจกันได้...
พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร ของสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒ ภาพโดย: ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ ที่มา: http://www.tnnthailand.com
เปล่งเสียง...ค�ำว่ารักให้ดังออกมา เปล่งวาจา...แสดงความรักพระองค์ให้ดัง ก้าวเท้าตามพ่อไปสืบสานงานของท่าน พร้อมกันท�ำหน้าที่ของลูกที่ดี ~ บทเพลงรักแห่งแผ่นดิน ~ ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดไม่ได้ เครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอและมูลนิธิสุขภาพภาคใต้ รอบรั้วเครือข่าย
3
ห้องเรียนอาจารย์วราวุธ โดย สมยศ ฤทธิ์ธรรมนาถ อบต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
พื้นที่แบบบ้านเล็กในป่าใหญ่ กลไกสุขภาพที่ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องมดหมอหยูกยา เมื่อความตระหนักต่อสุขภาพได้เริ่มก่อเกิดในพื้นที่ต�ำบลนาทอน อ�ำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ซึ่งมีภูมินิเวศน์ แบบ เขา ป่า นา เล โดยชาวบ้านส่วนใหญ่รอ้ ยละ 80 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 20 นับถือศาสนาพุทธ หากกล่าวถึง การท�ำงานสุขภาพในต�ำบลนาทอนก่อนปี 2552 ยังมีการท�ำงานแบบแยกส่วน ซึง่ เดิมแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ 1) องค์กรท้องที่ ได้แก่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) องค์กรศาสนา ได้แก่ มัสยิด และวัด 4) องค์กรภาคประชาสังคม ได้แก่ สภาองค์กรชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน จิตอาสาภาคประชาชน ซึ่งพบว่า การแยกส่วนการท�ำงานแบบต่างคนต่างอยู่ต่างคนต่างท�ำนั้นมีความเปราะบางสุ่มเสี่ยงต่อการแก้ไขปัญหาซ�้ำซ้อน และยังเสี่ยงต่อการเกิดความขัดแย้งในการท�ำงาน ท�ำให้การแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ด�ำเนินการแบบ “เกาไม่ถูกที่คัน” กระทั่ง 4 ภาคส่วน เริ่มครุ่นคิดหาแนวทางแก้ปัญหาสุขภาพสู่การบูรณาการท�ำงานร่วมกันขึ้น จนปลายปี 2556 เมือ่ พีน่ อ้ งต�ำบลนาทอนเริม่ รูจ้ กั เรียนรู้ อยูร่ ว่ มกันด้วยหลักประชาธิปไตย เปิดพืน้ ทีก่ ารมีสว่ นร่วม ช่วยกันถกแถลงหารือด้วยฐานคิดที่ว่า “ทุกคนนั้นมีศักยภาพ มีคุณความดี มีข้อเด่น อยู่ที่จะน�ำความดี ความโดดเด่น ด้านไหนมาร้อยเรียงให้เกิดสุขภาวะแบบมีสว่ นร่วม” จึงเป็นทีม่ าของ “ชันชีสขุ ภาพนาทอน” หรือเรียกกันว่า “สัญญาใจ” (ธรรมนูญสุขภาพต�ำบลนาทอน) การเกิดขึ้นของชันชีสุขภาพช่วยปูทางสู่การสร้างเครือข่ายสุขภาพอ�ำเภอ หรือ DHS (District Health System) และได้หยิบยกประเด็น “คนนาทอนอ่อนหวาน” ด�ำเนินการลดโรคเบาหวาน ลดการกินอาหาร รสหวาน มัน เค็ม ทั้งยังสื่อถึงค่านิยมของคนนาทอนว่าเป็นผู้ที่มีความอ่อนน้อมถ่อมตน การด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมท�ำให้เกิดแนวทางสุขภาพให้พน่ี อ้ งต�ำบลนาทอน คือ 1) การปลูกผักปลอดสารพิษ ทุกครัวเรือน 2) การคัดแยกขยะและจัดตั้งธนาคารขยะต�ำบล 3) โครงการเก็บขยะพิษไปแลกเมล็ดพันธุ์พืช 4) สนับสนุน ให้เด็กเรียนปลูกจิตส�ำนึกให้ปฏิบัติศาสนกิจ 5) เฝ้าระวังและห้ามวางยาเบื่อและช็อตปลาในคลองสาธารณะ 6) รณรงค์ ให้หิ้วตะกร้าไปตลาด 7) รณรงค์การออกก�ำลัง กายในกลุ่ ม สตรี แ ละผู ้ สู ง อายุ 8) ลดการซื้อสินค้าตามโฆษณาชวนเชื่อ 9) ครัวเรือนจัดระบบเลี้ยงสัตว์โดยไม่ก่อความเดือดร้อนแก่เพื่อนบ้าน 10) การรณรงค์เรื่องบุหรี่ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดนี้ ก่อเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อปี 2557 ดังนั้น ถือว่าชันชีสุขภาพเป็นหนึ่งในเครื่องมือขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายสาธารณะ กระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการสร้างสุขภาพแบบองค์รวม จนเกิดการน�ำร่องกลไก DHS โดยมี นพ.วราวุธ สุรพฤกษ์ ช่วยแนะน�ำและเสริม การท�ำงาน นอกจากนั้นต�ำบลนาทอนยังมีการบูรณาการกับงานอื่นๆ เพื่อขับเคลื่อนสุขภาพร่วมกัน เช่น สมัชชาสุขภาพ เพื่อน�ำมาจัดการสุขภาพร่วมกันขยายสู่ระดับอ�ำเภอ โดยหากทุกๆ ต�ำบลในอ�ำเภอมีธรรมนูญสุขภาพ ก็จะสามารถน�ำไป สู่การเกิดกลไก DHS ระดับอ�ำเภอขึ้นมาโดยปริยาย
4
รอบรั้วเครือข่าย
แวดวง DHML:
เชื่อมั่นในศักยภาพการเสริมสมรรถนะในการจัดการที่ดี
โดย อุษา เบญจลักษณ์ ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอเมือง จ.ปัตตานี
อ�ำเภอเมืองปัตตานีเริม่ ต้นจากการเป็นผูเ้ รียน (Learning Team – LT) มาสูก่ ารเปิดห้องเรียน DHML ด้วยกระบวนการท�ำงาน ระบบสุขภาพอ�ำเภอกับคณะกรรมการควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดยน�ำประเด็นสุขภาพที่เป็นปัญหาของพื้นที่ คือ โรคคอตีบ มาจัดท�ำเวทีประชาคมเพือ่ การมีสว่ นร่วมค้นหาสาเหตุและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน (Participative Interactive Learning through Action: PILA) เช่น ผู้น�ำชุมชนใช้มาตรการทางสังคม ผู้น�ำศาสนาที่คนในชุมชนยอมรับและศรัทธาช่วยสื่อสาร ประชาสัมพันธ์น�ำหลักศาสนามาปรับทัศนคติในการดูแลสุขภาพ นายก อบต. ช่วยสนับ สนุ น ยานพาหนะในการท� ำ งาน มีกระบวนการ PDCA ลองผิดลองถูก ปรับกระบวนการท�ำงานตลอดเวลา อีกพื้นที่ในอ�ำเภอเมือง คือ ต�ำบลกะมิยอ เกิด “กะมิยอโมเดล” ทีข่ บั เคลือ่ นการดูแลผูด้ อ้ ยโอกาสต�ำบลกะมิยอเอือ้ อาทร มีการท� ำประชาคมศึกษาข้อมูลผู้พิการ ผูส้ งู อายุ ผูป้ ว่ ยติดบ้านติดเตียง และผูด้ อ้ ยโอกาส แล้วใช้กระบวนการฟืน้ ฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (Community-based Rehabilitation: CBR) ทีเ่ ริม่ จากความต้องการ ของชุมชนแล้วน�ำศักยภาพของภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วนมาร่วมกันท�ำงาน จากการท�ำงานในสองพื้นที่นี้ท�ำให้เรา ได้เรียนรู้ว่าปัจจัยของความส�ำเร็จในการท�ำงานในชุมชน คือ ทีมน�ำระดับอ�ำเภอ ทีม่ โี อกาสร่วมห้องเรียน DHML จนสามารถ ดึงศักยภาพทีห่ ลากหลายในเครือข่ายมาเสริมแรงกันและกัน การคืนข้อมูลแก่ชมุ ชน และการประสานงานทีด่ รี ะหว่างส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน จึงกลายเป็นแรงขับเคลื่อนระบบสุขภาพอ�ำเภอเมืองปัตตานีจนสามารถจัดการประเด็นสุขภาพ ของประชาชนในชุมชนได้อย่างยั่งยืน และมี ค วามเข้ ม แข็ ง พอในการประสานการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ เ พื่ อ เสริมสมรรถนะ ระหว่างทีมผู้เรียนต่างๆ ของ Learning Coordination Center - LCC เมืองปัตตานีร่วมกัน
ระบบข้อมูลสุขภาพชุมชน: ข้อมูลสุขภาพชุมชนเพื่อใคร
โดย ศิริมาศ รุยไกรรัตน์ ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอควนขนุน จ.พัทลุง
การท� ำ งานสุขภาพระดับปฐมภูมิของหน่วยบริ ก ารนั้ นมี ผู ้ ช ่ วยชั้ นเยี่ ย ม คื อ “อสม.” ไม่ ว่ า จะเป็ นงานด้ านไหน อสม. ที่มีความเข้าใจในบริบทของชุมชนและรู้จักมักคุ้นกับผู้คนในพื้ นที่ เ ป็ นอย่ า งดี จะสามารถช่วยเหลือบุคลากรสาธารณสุข ได้อ ย่ า งดี ยิ่ ง และมี ตั ว ช่ ว ยในการท� ำ งานสุ ข ภาพที่ ส� ำ คั ญ คื อ “ข้ อ มู ล ” เพราะเป็ น ตั ว ชี้ เ ป้ า ให้ ก ารท� ำ งานมีประสิทธิภาพ หากมี ก ารออกแบบระบบข้ อ มู ล ที่ ดี จ ะสามารถสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การท� ำ งานที่ ต รงเป้ า หมายและเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ทั้งต่อผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารและผู้รับบริก าร แต่เมื่อย้อนคิดดูแล้ว อสม. กลั บไม่ มี ร ะบบข้ อ มู ล ของตนเองส� ำ หรั บวางแผนการจัดการ ด้านสุขภาพชุมชน เนื่องจากข้อมูลที่ อสม. เป็นคนด�ำเนินการเก็บทั้งจากการเยี่ยมบ้าน การส�ำรวจ การตรวจสอบประเมิน ได้ถู ก น�ำ ส่ ง ไปยั ง หน่ วยบริก ารปฐมภูมิทั้งหมด โดยเกื อ บไม่ มี ฐ านข้ อ มู ล อะไรไว้ ใ นมื อ อสม. ในพื้ น ที่ ใ ห้ ป ระชาชนได้รับรู้ จนเกิดค�ำถามขึ้นว่า “ข้อมูลสุขภาพชุมชนเหล่านั้นท�ำเพื่อใคร?” นี่จึงเป็นที่มาของข้อมูลสุขภาพชุมชนในพื้นที่อ�ำเภอควนขนุน เพื่ อตอบโจทย์ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ข ้ อ มู ล ให้ กั บ อสม. และคนในชุมชน โดยการออกแบบการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพชุมชนผ่านการกลั่นกรองจากตัวแทนอสม. ผอ.รพ.สต. นักวิชาการ สาธารณสุข พยาบาล ที่เน้นข้อมูลการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบกับข้อมูล ของประชากรทุ ก กลุ ่ ม วั ย เรี ย กว่ า “สมุ ด บั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ง าน อสม. ประจ�ำปี” ที่เก็บไว้ในมือของอสม. ทุกคนในพื้นที่ โดยด�ำเนินการและพั ฒ นาข้ อ มู ล สุ ข ภาพชุ ม ชนนี้ ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ระยะ 4 ปี จนน� ำ ไปสู ่ ก ารขยายผลสู่ทุกอ�ำเภอ ภายในจังหวัดพัทลุง ในปี 2560 ด้วย รอบรั้วเครือข่าย
5
ปฏิบัติการงานวิจัย:
การดูแลต่อเนื่องเชื่อมโยงจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน โดย เสาวคนธ์ อาจอาสา รพ.ยะลา จ.ยะลา
สิ่งที่พบเห็นบ่อยๆ จากการด�ำเนินงานของศูนย์ประสานงานดูแลต่อเนื่อง คือ ผู้ป่วยติดเตียงมักจะมีภาวะแทรกซ้อน มีแผลกดทับ มีป ัสสาวะสีเ หลืองขุ่น และเมื่อผู้ป่วยถูกจ�ำหน่ายจากโรงพยาบาลจะพบว่ามีปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อน ต้องอาศัย การใส่ท่อเจาะคอและใช้ออกซิเจนที่บ้าน ต้องใช้สายให้อาหารทางจมูกและสายสวนปัสสาวะ แม้การย้ายผูป้ ว่ ยมาทีบ่ า้ นจะเตรียมการ เป็นอย่างดีโดยการส่งต่อผูป้ ว่ ยให้ รพ.สต. ช่วยเหลือดูแล แต่สงิ่ ทีร่ สู้ กึ กังวลและเป็นค�ำถามทีร่ บกวนจิตใจมาโดยตลอด คือ “ครอบครัว และญาติจะสามารถดูแลผู้ป่วยได้หรือไม่?” จนมีโอกาสได้เรียนรู้การท�ำวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research - PAR) ด้วยการด�ำเนินโครงการ “การพัฒนาระบบการดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองต่อเนือ่ งจากโรงพยาบาลสูช่ มุ ชน ด้วยการจัดการรายกรณีในต�ำบลท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา” บทเรียนทีไ่ ด้รบั จาก พญ.บุษกร อนุชาติวรกุล อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการ จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิท ยาลั ย มหิด ล คือ การเกิดแนวคิดเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องจากโรงพยาบาล สู่ชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม เริ่มจากการเดินลงชุมชนด้วยความกล้าๆ เกรงๆ แต่ด้วยใจที่มุ่งมั่น พร้อมทีมผู้มีอุดมการณ์เดียวกัน น�ำความคิดและความจริงใจเสนอต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับ รพ.สต. ในพืน้ ที่ เพือ่ หาแนวร่วมท�ำงานเป็นทีมสุขภาพ ค้นหาสิง่ ดีๆ ทีม่ ใี นชุมชนด้วยกระบวนการเสริมพลังชุมชน การท�ำ PAR ท�ำให้เกิดพันธมิตรด้านสุขภาพ เป็นมิตรภาพทีไ่ ม่ได้สนใจ ถึงต�ำแหน่ง อาชีพ หรือศาสนา ท�ำให้ได้พบบุคคลทีม่ จี ติ ใจงดงามช่วยเหลือผูอ้ นื่ โดยไม่หวังผลตอบแทน ไม่เลือกเวลา ไม่เลือกความส�ำเร็จ การท�ำงานด้วยความจริงใจ การเคารพนับถือ ให้เกียรติ และเสริมพลังซึ่งกันและกัน จนได้ทีมจิตอาสาพยาบาลชุมชนและทีมพัฒนา สุขภาพระดับต�ำบลร่วมกันเรียนรู้ปัญหาจากผู้ป่วย ร่วมกันเป็นผู้ดูแลผู้ป่วย และร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อคุณภาพชี วิ ต ที่ ดี ของคนในชุมชน
ประเมินเพื่อการพัฒนา:
DE ประสบการณ์เชิงระบบ
โดย สายชล ผาณิตพจมาน สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
การท�ำงานในองค์กรทีม่ เี ป้าหมายเป็น High Performance Organization อย่างส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) นั้นไม่ง่าย โดยเฉพาะเป้าหมายเพื่อท�ำให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ เนื่องจาก สปสช. ไม่มีโรงพยาบาล เป็นของตัวเอง ท�ำให้ต้องท�ำงานแบบสร้างการมีส่วนร่วมโดยหลีกเลี่ยงการสร้างศัตรู ดังนั้นการท�ำงานที่มั่นคงในหลักการ ยืนหยัด บนความถู ก ต้ อ ง และรั ก ษาความเป็ น กั ล ยาณมิ ต รไว้ ล ้ ว นไม่ ง ่ า ย DE สอนเราว่ า เราต้ อ งเรี ย นรู ้ ที่ จ ะประคองตนให้ นิ่ ง ดังแมลงปอบนยอดหญ้า แม้พายุจะรุนแรงเพียงใด เราจะไม่เต้นตามกระแสพายุ การฝึกฝนจิตเพือ่ รับรูค้ วามเป็นไปโดยไม่กระโดดเข้าไป เป็นตัวเล่นของฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ แม้จะถูกท้าทาย การเป็นผูป้ ระสานสิบทิศทีต่ อ้ งพร�ำ่ บอกคนท�ำงานร่วมกัน ว่าเรา มีเป้าหมายร่วมกันนะ เราจะก้ า วเดิ น ไปด้ ว ยกั น แต่ ด ้ ว ยนโยบายที่ ด� ำ เนิ น อย่ า งรวดเร็ ว และกะทั น หั น ท� ำ ให้ เรี ย นรู ้ ว ่ า ในชี วิ ต จริ ง ไม่ มี สิ่ ง ใดที่ เ กิ ด ขึ้ น แบบเหตุเดี่ยวผลเดี่ยว การประเมินโครงการคงไม่ใช่เพียงการมองความคุม้ ค่า แต่ให้หนั มามองรอยยิม้ และแววตาทีส่ ะท้อนความสุข การท�ำความเข้าใจ ความซับซ้อนของระบบความสัมพันธ์และพลวัตรของสิ่งที่เกิดขึ้น บางเหตุการณ์มีหลายสิ่งที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กันเหมือนฟันเฟือง ที่ ไ หลเลื่ อ นไป เช่ น การท� ำ งานในรู ป แบบคณะกรรมการ ซึ่ ง ต่ า งมี ป ระสบการณ์ เ ป็ น ผู ้ เชี่ ย วชาญต่ า งสาขาและต่ า งมุ ม มอง บางคนเดินตามกติกา บางคนขออยูน่ อกกฎ บางคนขอตัง้ เกณฑ์เอง และบางคนยอมไม่ได้สกั เรือ่ ง การวางตัวเป็นคนกลางจะท�ำอย่างไร ให้ ไ ด้ ต ามความต้ อ งการของทุ ก คน จะยอมผ่ อ นปรนได้ แ ค่ ไ หน ปั ญ หาบางเรื่ อ งมี ค วามซั บ ซ้ อ นในตั ว เองมากจนบางครั้ ง เราอาจจะไม่สามารถไปแก้ไขปัญหาได้ทุกเรื่อง ภูเขาน�้ำแข็งบางแห่งใช้เวลาสะสมมานานกว่าเกินกว่าชั่วชีวิตเรา และในชีวิตจริง มีภเู ขาน�ำ้ แข็งล้อมรอบเราอยูม่ ากมาย เริม่ จากเพียงเข้าใจภูเขาน�ำ้ แข็งของตัวเองก่อนและเริม่ สร้างการเปลีย่ นแปลงจากภูเขาน�ำ้ แข็ง ที่เราเข้าใจดีก็เพียงพอแล้ว
6
รอบรั้วเครือข่าย
หนึ่งอ�ำเภอ หนึ่งโครงการ:
การขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพระดับอ�ำเภอในนราธิวาส โดย สุทัศน์ พิเศษ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส จ.นราธิวาส
ก่อนการด�ำเนินงาน DHS ในจังหวัดนราธิวาส แต่ละอ�ำเภอขับเคลื่อนงานสุขภาพผ่าน คปสอ. ซึ่งด�ำเนินการ แบบต่างคนต่างท�ำ ตอนเริ่มต้นประเด็นสุขภาพยังไม่ชัดเจนทั้งทิศทางและเป้าหมาย จนมีนโยบาย DHS ในต้นปี 2557 จังหวัดนราธิวาสจึงเริ่มด�ำเนินงานน�ำร่องประเด็นสุขภาพ (ODOP) ใน 2 อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอตากใบในประเด็นการดูแล ผู้พิการ และอ�ำเภอแว้งในประเด็นโรคไข้เลือดออก การขับเคลื่อนนโยบาย DHS ผ่านประเด็นสุขภาพ มีกระบวนการเสริมศักยภาพ ด้วยการจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 5 ครัง้ โดยมีวทิ ยากร คือ นพ.วราวุธ สุรพฤกษ์ นักวิชาการอิสระด้านสาธารณสุขช่วยเสริมแนวคิด “บ้านเล็กในป่าใหญ่” จนเห็นภาพรวมการท�ำงานและเริ่มลองใช้เครื่องมือ UCCARE จนเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมเป็น “ทีมประชารัฐ” ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยภาครัฐ เอกชน และประชาชน นอกจากนี้ ยั ง ด� ำ เนิ นการ “รพ.สต.แนวใหม่ ใกล้ ใจชาวนราฯ” เพื่อสร้างศรัทธาและความไว้วางใจโดยขับเคลื่อนน�ำร่องใน รพ.สต. 41 แห่ง ควบคู่ไปกับงานสุขภาพระดับอ�ำเภอ “รพ.สต.แนวใหม่ใกล้ใจชาวนราฯ” คือ รพ.สต.ของชุมชน เพือ่ ชุมชน โดยมีการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โดยจัดระบบบริก ารแบบ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ เน้นการเข้าถึงบริการ (Accessibility) การให้บริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity) การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ (Comprehensiveness) การประสานบริการ (Coordination) และชุมชน มีส่วนร่วม (Community participation) มุ่งให้ผู้รับและผู้ให้บริการมีความสุข มีคุณค่า โดยการเสริมพลังคนท�ำงาน และหาโอกาสพัฒนาในพื้นที่ และได้จัดท�ำคู่มือรพ.สต.แนวใหม่ใกล้ใจชาวนราฯ ให้กับทุก รพ.สต. ในพื้นที่จังหวัด นราธิวาส กระทั่งในปี 2559 จังหวัดนราธิวาส มีนโยบายขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพและพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้ครบทุกแห่งจากพืน้ ทีน่ ำ� ร่อง คือ อ�ำเภอตากใบ อ�ำเภอบาเจาะ อ�ำเภอระแงะ และอ�ำเภอเมือง ตลอดจนเสริมกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการร้อยเรียงเรื่องราวสะท้อนผ่านตัวอักษรรวมถึงสื่อวีดีทัศน์เพื่อน�ำออกมาเผยแพร่ จากการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งมาเกือบ 2 ปีเต็ม เห็นการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมเิ ชือ่ มโยงสู่ service plan ตามปัญหาสุขภาพจากประเด็น ODOP เช่น โรคเรื้ อรั ง คนพิการ ไข้เลือดออก ในปีหน้าความคาดหวังเรื่อง DHS ของจั ง หวั ด นราธิ ว าสจาก “บ้านเล็ก ” ที่เน้นการแก้ ปั ญ หาชุ ม ชนตามบริบทในพื้นที่ จะส่ ง เสริ ม การมองภาพใหญ่ ให้ครอบคลุมในทุกอ�ำเภอโดยใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอ�ำเภอน�ำร่องเพื่อพัฒนางานต่อไป
รอบรั้วเครือข่าย
7
บทเรียนจากพื้นที่:
“สังคมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกันที่ห้วยยอด” โดย สุวนิตย์ วงศ์ยงค์ศิลป์ รพ.ห้วยยอด จ.ตรัง
จากการเข้าร่วมประชุมการด�ำเนินงานระบบสุขภาพอ�ำเภอ “DHS” ในฐานะหัวหน้ากลุม่ งานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ ซึง่ มีแนวคิดว่า “ระบบสุขภาพอ�ำเภอเป็นคานงัดของระบบสุขภาพทัง้ ระบบ” จึงได้รว่ มกับทีมจากส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ 4 คน จัดตั้งคณะท�ำงานระบบสุขภาพอ�ำเภอเพื่อขยายความคิดหลักการ UCARE ของระบบสุขภาพอ�ำเภอ ในการประชุมคณะกรรมการ ประสานงานอ�ำเภอ (คปสอ.) แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และตัวแทน ภาคประชาชน ทีม DHS ห้วยยอดเริม่ เลือกประเด็นผูส้ งู อายุเป็นประเด็นสุขภาพ ODOP และเลือกพืน้ ทีน่ ำ� ร่องเพือ่ ด�ำเนินการ ตามแนวทาง “บ้านเล็กในป่าใหญ่” ของ นพ.วราวุธ สุรพฤกษ์ โดยเลือกจากพืน้ ทีซ่ ง่ึ มีความพร้อม แกนน�ำผูส้ งู อายุอยากท�ำ มีตน้ ทุนด้านผูส้ งู อายุ ดีอยูแ่ ล้ว คือ ต�ำบลปากคม โดยด�ำเนินการจัดท�ำประชาคมผูส้ งู อายุ ร่วมกันดูแลผูส้ งู อายุในพืน้ ที่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมลดโรคเรือ้ รัง ให้ผคู้ นเข้าสู่วัยสูงอายุโดยไม่มีโรคเรื้อรัง มีพระสงฆ์มาร่วมให้ความรู้แก่คนที่มาท�ำบุญวันพระ ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่มีความสุข ทุกครัง้ ทีพ่ บกันก็จะบอกเล่าเรือ่ งราวของการท�ำงานทีม่ คี วามสุข คนในชุมชนร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำจนได้แนวคิด ในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนือ่ งและเกิดกิจกรรมผูส้ งู อายุรว่ มกับกลุม่ วัยอืน่ ๆ เกิดขึน้ มากมายหลายกิจกรรม จากการด�ำเนินงาน DHS ท�ำให้ได้เรียนรู้การท�ำงานกับชุมชน ได้เห็นความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งเจ้าหน้าที่ต้องลงมือท�ำ ด้วยหลักการ 4 ช. คือ เชียร์ ชวน เชื่อม ชืน่ ชม ซึง่ แตกต่างกับการเน้นกระบวนการประเมิน ประกวด ประชุม เปรียบเทียบ โดยหลักการ 4 ช. นี้ จะช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ท�ำให้ชมุ ชนเข้มแข็ง และไม่ทอดทิง้ กัน และในอนาคตจะขยายการท�ำงานประเด็นผูส้ งู อายุ ในทุกพื้นที่ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อค้นหาทิศทางในการดูแลระยะยาวรวมถึงการเสริมสร้างความสามารถ และพัฒนากลุ ่ ม อาชีพเพือ่ ให้กลุม่ ผูส้ งู อายุมคี วามเข้มแข็ ง มี ห ลั ก ประกั น ทางเศรษฐกิ จ พึ่ ง ตนเองได้ แ ละช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กูลกัน เพื่อสร้าง “สังคมผูส้ งู อายุไม่ทอดทิง้ กัน” ในอ�ำเภอห้วยยอดในอนาคต
ข่าวประชาสัมพันธ์ 7-9 ธันวาคม 2559 น�ำเสนอผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม PAR รุ่นที่ 3 9 ธันวาคม 2559 ประชุมบูรณาการการพัฒนาระบบบริการ Service Plan และงานปฐมภูมิเขตสุขภาพที่ 12