E - Commerce - วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จัดเป็นทางเลือกที่ช่วยให้องค์กรหรือสถาบันการศึกษา ได้เปรียบคู่แข่งขัน. 2. E-Commerce คืออะไร. E-Commerce มีชื่อที่แปลเป็นภาษาไทยว่า “พาณิชย์อิเล็กทรอน...

6 downloads 303 Views 245KB Size
E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ * ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ** 1. บทนำ ในยุคปัจจุบนั คงปฏิเสธไม่ได้วา่ เป็นยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ และมีการแข่งขันอย่างสูงใน ธุรกิจ กระแสโลกาภิวฒ ั น์และการเปิดเขตการค้าเสรีทำให้สถาบันอุดมศึกษาหลายแห่งเกิดการแข่งขัน มากขึน้ ทัง้ ในและต่างประเทศ เพือ่ ความอยูร่ อด จำเป็นต้องมุง่ แสวงหารายได้ โดยมุง่ ดำเนินกิจการเพือ่ ธุรกิจหรือการพาณิชย์มากขึ้น ภาพลักษณ์ของการจัดการศึกษาจึงต้องถูกมองเป็นภาพธุรกิจการค้า นักศึกษาถูกมองเป็นลูกค้ารายใหญ่ ทำอย่างไรลูกค้าจึงจะเข้ามาซือ้ สินค้าหรือเข้ามาศึกษาต่อจำนวนมาก ๆ ต่างก็แข่งขันเพือ่ แย่งชิงลูกค้า เทคโนโลยีสารเทศทีท่ นั สมัย จึงถูกนำมาเป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยในการจัดการ ศึกษาได้อย่างมากคือ ในยุคทีม่ กี ารแข่งขันการอย่างรุนแรง ทำให้การค้าและการดำเนินธุรกิจมีการเปลีย่ นแปลง องค์ ก รต่ า ง ๆ เริ ่ ม พยายามเปลี ่ ย นแปลงให้ ก ้ า วทั น สู ่ ย ุ ค ของการค้ า รู ป แบบใหม่ โดยผ่ า น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพือ่ เพิม่ ช่องทางการค้าขาย การตลาดและการบริการไปสูก่ ลุม่ ลูกค้าทัง้ เก่าและ ใหม่เป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ลกู ค้า คำว่า อีคอมเมิรซ์ (E-Commerce/Electronics Commerce) จัดเป็นทางเลือกทีช่ ว่ ยให้องค์กรหรือสถาบันการศึกษา ได้เปรียบคูแ่ ข่งขัน 2. E-Commerce คืออะไร E-Commerce มีชอ่ื ทีแ่ ปลเป็นภาษาไทยว่า “พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์” E-Commerce เป็นการทํา ธุรกรรมเชิงพาณิชย์ผา่ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ในทุก ๆ ช่องทางทีเ่ ป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซือ้ ขายสินค้า และบริการ การโฆษณาผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ไม่วา่ จะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อนิ เทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยและเพิม่ ประสิทธิภาพขององค์กร [1] ถ้าจะกล่าวกันสั้นๆ ก็คือการทำ การค้า ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ นั่นเอง โดยคำว่า สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ นัน้ จะครอบคลุมตัง้ แต่ ระดับเทคโนโลยีพน้ื ฐาน อาทิ โทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ ไปจนถึงเทคโนโลยีทม่ี คี วามซับซ้อนกว่านี้ แต่วา่ ในปัจจุบนั สือ่ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มและมีความแพร่หลายในการใช้ งานคืออินเทอร์เน็ตและมีการนำมาใช้ประโยชน์เพือ่ การทำการค้ามาก จนทำให้เมือ่ พูดถึงเรือ่ งพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์คนส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าคือการทำการค้าผ่านอินเทอร์เน็ต นัน่ เอง *นักศึกษาปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ** อาจารย์ประจำภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

39 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

3. รูปแบบของการทำพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ในการทำการค้านัน้ ต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 2 ฝ่ายก็คอื ผูซ้ อ้ื และผูข้ าย ซึง่ ผูซ้ อ้ื และผูข้ าย นัน้ ก็มหี ลายๆ รูปแบบ ทำให้เราสามารถจัดประเภทของพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ออกเป็นประเภทหลักๆ ดังนี้ -ผูป้ ระกอบการ กับ ผูบ้ ริโภค (Business to Consumer - B2C) คือการค้าระหว่างผูค้ า้ โดยตรงถึงลูกค้าซึง่ ก็คอื ผูบ้ ริโภค เช่น การขายหนังสือ ขายวีดโี อ ขายซีดเี พลง เป็นต้น -ผูป้ ระกอบการ กับ ผูป้ ระกอบการ (Business to Business – B2B) คือการค้าระหว่างผูค้ า้ กับลูกค้าเช่นกัน แต่ในทีน่ ล้ี กู ค้าจะเป็นในรูปแบบของผูป้ ระกอบการ ในทีน่ จ้ี ะครอบคลุมถึงเรือ่ ง การ ขายส่ง การทำการสัง่ ซือ้ สินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) เป็นต้น ซึง่ จะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆ กันไป -ผูบ้ ริโภค กับ ผูบ้ ริโภค (Consumer to Consumer - C2C) ในเรือ่ งการติดต่อระหว่าง ผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภคนัน้ มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่น เพือ่ การติดต่อแลกเปลีย่ นข้อมูล ข่าวสาร ในกลุม่ คนทีม่ กี ารบริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทำการแลกเปลีย่ นสินค้ากันเอง ขายของมือสอง เป็นต้น -ผูป้ ระกอบการ กับ ภาครัฐ (Business to Government – B2G) คือ การประกอบธุรกิจ ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมากก็คือเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ หรือที่เรียกว่า e-Government Procurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว รัฐบาล จะทำการซื้อ/จัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การประกาศ จัดจ้างของภาครัฐในเว็บไซต์ www.mahadthai.com หรือการใช้งานระบบอีดีไอในพีธีการศุลกากร ของกรมศุลกากร www.customs.go.th -ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to Consumer -G2C) ในทีน่ ค้ี งไม่ใช่วตั ถุประสงค์ เพือ่ การค้า แต่จะเป็นเรือ่ งการบริการของภาครัฐผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ปัจจุบนั ในประเทศไทยเอง ก็มใี ห้บริการแล้วหลายหน่วยงาน เช่น การคำนวณและเสียภาษีผา่ นอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูล ประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เช่น ข้อมูลการติดต่อการทำทะเบียนต่างๆ ของกระทรวงมหาดไทย ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างในการทำเรื่องนั้นๆ และสามารถ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ดว้ ย [2] 4. ความสำคัญของระบบอีคอมเมิรซ์ (E-Commerce) แนวโน้มการใช้งาน E-Commerce ในปัจจุบนั มีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ มาก อันเนือ่ งมา จากการที่ ธุรกิจ E - Commerce สามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้กว้าง และรวดเร็วรวมถึงเวลาในการทำธุรกิจที่ ไม่มวี นั หยุด ทำให้การทำธุรกิจอีคอมเมิรซ์ (E – Commerce) เริม่ เป็นทีน่ ยิ ม การทำการค้าทางธุรกิจ ในระบบ E-Commerce นัน้ มีขน้ั ตอนง่าย ๆ อยู่ 4 ขัน้ ตอนดังต่อไปนี้ 1. แนะนำสินค้า / บริการด้วยการออกแบบและจัดทำเว็บไซด์ เพือ่ แนะนำสินค้า/บริการ ด้วย การแสดงภาพหรือรายละเอียดทีบ่ อกถึงลักษณะ คุณสมบัตขิ องสินค้าหรือบริการ ซึง่ อาจรวมไปถึงราคา

40 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

ส่วนลด หรือรายละเอียดใด ๆ ก็ตาม เพือ่ ประกอบการตัดสินใจของผูซ้ อ้ื 2. สัง่ ซือ้ สินค้าและบริการ เมือ่ ผูซ้ อ้ื พบสินค้าหรือบริการทีต่ อ้ งการก็จะดูรายละเอียดปลีกย่อย ทีเ่ กีย่ วข้องว่าสินค้าหรือบริการเป็นอย่างไร ชำระค่าสินค้าหรือบริการโดยวิธกี ารใดบ้าง ก็จะทำการเลือก สินค้าหรือบริการลงไปในรายการหรือตะกร้าสินค้าทีต่ อ้ งการสัง่ ซือ้ และส่งกลับไปให้ผขู้ าย 3. การชำระค่าสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต เมือ่ รายการสินค้าหรือบริการถูกส่งไป การ ชำระค่าสินค้าก็จะเป็นไปตามทางเลือกของระบบอีคอมเมิรซ์ ทีผ่ ขู้ ายได้จดั ทำไว้ ซึง่ อาจจะเป็นการรับพัสดุ แบบพนักงานเก็บเงิน การจ่ายค่าสินค้าหรือบริการด้วยบัตรเครดิต หรือทางเลือกอืน่ ๆ ซึง่ ผูซ้ อ้ื จะ เป็นผูเ้ ลือกช่องทางในการชำระค่าสินค้าหรือบริการและวิธกี ารรับสินค้าหรือบริการ 4. การจัดส่งสินค้าหรือบริการหลังจากทีม่ กี ารตกลงวิธกี ารชำระค่าสินค้า หรือบริการและวิธกี าร จัดส่งแล้ว ผูข้ ายก็จะเป็นผูจ้ ดั ส่งสินค้าหรือบริการด้วยวิธที ต่ี กลงกันไว้เป็นอันเสร็จขัน้ ตอนทำการค้าใน ระบบอีคอมเมิรซ์ 5. บทบาทภาครัฐกับ E-Commerce เนือ่ งจากการทำธุรกิจดังกล่าวมีการแข่งขันกันร้อนแรง ส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยเป็นไปได้ทค่ี คู่ า้ อาจไม่เคยรูจ้ กั ติดต่อกันมาก่อน ปัจจัยสนับสนุนสำคัญจากภาครัฐ ได้แก่ แผนกลยุทธ์ การค้าอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ เพือ่ มิให้เสียเปรียบเชิงการค้าในระดับโลก โครงสร้างการสือ่ สารทีด่ ี และเพียงพอ กฎหมายรองรับข้อมูลและหลักฐานการค้าที่ไม่อยู่ในรูปเอกสาร ระบบความปลอดภัย ข้อมูลบนเครือข่ายและระบบการชำระเงิน E-Government เป็นอีกมิตหิ นึง่ ของการให้บริการภาครัฐออนไลน์ทจ่ี ะเอือ้ ให้ธรุ กิจ ประชาชน ติดต่อใช้บริการ ในกรอบบริการงานแต่ละด้านของส่วนราชการต่าง ๆ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย ให้บริการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์แก่สถาบันการเงิน กรมทะเบียนการค้าให้บริการจดทะเบียนการค้า เป็นต้น นอกจากนี้ การทำ E-Procurement เพือ่ การจัดซือ้ จัดหาภาครัฐก็เป็นบริการทีค่ วรดำเนินการ เพราะจะช่วยให้เกิดความโปร่งใส และเป็นไปตามกรอบนโยบายของทีป่ ระชุมเอเปคด้วย 6. ความปลอดภัยกับ E-Commerce ระบบความปลอดภัยนับเป็นเรือ่ งทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ และมีเทคโนโลยีความปลอดภัยคือ Public Key ซึง่ มีองค์กรรับรองความถูกต้องเรียกว่า CA (Certification Authority) ระบบนีใ้ ช้หลักคณิตศาสตร์คำนวณ รหัสคุมข้อความจากผู้ส่งและผู้รับอย่างเฉพาะเจาะจงได้ จึงสามารถพิสูจน์ตัวตนของผู้รับผู้ส่ง (Authentication) รักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Confidentiality) ความถูกต้องไม่คลาดเคลือ่ นของ ข้อมูล (Integrity) และผูส้ ง่ ปฏิเสธความเป็นเจ้าของข้อมูลไม่ได้ (Non-repudiation) เรียกว่าลายมือ ชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature)

41 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

ทีส่ ำคัญอีกประการหนึง่ คือการมีกฎหมายรองรับการทำธุรกรรมบนเครือข่าย ประเทศในยุโรป และประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมายรับรองการใช้ลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายรองรับ การทำธุรกิจดังกล่าว สำหรับในประเทศไทยก็เร่งจัดการออกกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ฉบับ โดย กฎหมาย 2 ฉบับแรกทีจ่ ะออกใช้ได้กอ่ นคือ กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 7. การชำระเงินบน E-Commerce จากผลการวิจยั พบว่า วิธกี ารชำระเงินทีส่ ำคัญสำหรับกรณีธรุ กิจกับธุรกิจ ร้อยละ 70 ใช้วธิ หี กั บัญชีธนาคาร ขณะที่ ธุรกิจกับผูบ้ ริโภคร้อยละ 65 ชำระด้วยบัตรเครดิต สำหรับในประเทศไทย ผลการสำรวจพบว่าผูส้ ง่ั สินค้าบนอินเทอร์เน็ตร้อยละ 40-60 ใช้บตั ร เครดิต อีกร้อยละ 40 ใช้วธิ โี อนเงินในบัญชี ซึง่ หมายความรวมถึง Direct Debit, Debit Card และ Fund Transfer เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ แก่ระบบการชำระเงินบนอินเทอร์เน็ต มีแนวทางการพัฒนาเพือ่ บริการชำระเงินดังนี้ 1. บริการ internet banking หรือธุรกิจประเภท Payment Gateway จะเป็น hyperlink ระหว่าง website ของร้านค้ากับระบบของธนาคาร และธนาคารสามารถดำเนินการตามข้อมูลทีไ่ ด้รบั เพือ่ ตัดโอน เงินในบัญชีของลูกค้า หรือส่งเป็นคำสั่งโอนเข้าระบบการชำระเงินระหว่างธนาคารที่มีมาตรการรักษา ความปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐาน

รูปภาพที่ 1 จาก http://www.thaiecommerce.org/ index.php?lay=show&ac=article&Id=538636822&Ntype=6 [3]

42 วารสารวิทยบริการ

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา

ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

2. สำหรับการชำระเงินที่เป็น Micro Payment การใช้เงินดิจิทัลซึ่งบันทึกบนบัตรสมาร์ต การ์ดหรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ สามารถสร้างเสริมระบบความปลอดภัยให้มน่ั ใจได้เหนือกว่าระบบบัตร เดบิตและบัตรเครดิตทัว่ ไป จึงเป็นแนวโน้มเทคโนโลยีทน่ี า่ สนใจและเหมาะสม [4] ตัวอย่างเว็บไซต์สำเร็จรูปแห่งแรกและใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย Vela Commerce

รูปภาพที่ 2 จาก http://www.readyplanet.com/ [5]

8. ข้อมูลสถิตขิ องธุรกิจ E-Commerce จากข้อมูลสถิตแิ ห่งชาติปี 2550 ประมาณร้อยละ 64.4 ของธุรกิจ E-Commerce ทัง้ หมด มีการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาดผ่านการออนไลน์ วิธกี ารประชาสัมพันธ์แบบออนไลน์ทใ่ี ช้กนั มากทีส่ ดุ คือ การโฆษณาผ่านเว็บบอร์ดตามเว็บไซต์ตา่ ง ๆ (ร้อยละ 58.0) ทางอีเมล (ร้อยละ 48.8) และทาง Search Engine (ร้อยละ 45.4) ธุรกิจ E-Commerce ส่วนใหญ่ร้อยละ 68.4 มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง โดยเฉลีย่ ในปี 2550 [6]

43 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

9. การจัดการตลาดการศึกษา แบบ E-Commerce เป็นช่องทางเลือกสำหรับทุก ๆ คน เป็นตลาดการศึกษาที่ผู้เรียนสามารถเลือกซื้อสินค้า ความรูแ้ ละบริการการศึกษาจากแหล่งต่างๆ ทัว่ โลก สามารถคัดเลือกและเปรียบเทียบคุณภาพ ราคา และ ยังประหยัดเวลาเนื่องจากไม่ต้องเดินทาง ผู้เรียนจะสามารถเลือกสินค้าได้ตรงตามความต้องการมาก ทีส่ ดุ สามารถทำธุรกรรมได้ 24 ชัว่ โมง รับข้อมูลการศึกษาทีเ่ ป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหลากหลาย แง่มุม เช่น รายละเอียดของหลักสูตร ข้อมูลอาจารย์ผู้สอน รวมถึงยังสามารถให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดการศึกษานั้นๆ ได้โดยตรง อีกทั้งผู้เรียนยังสามารถติดต่อกับลูกค้ารายอื่นในการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ได้รบั ความสะดวกในการศึกษา เพราะสามารถนัง่ ศึกษาอยูท่ บ่ี า้ นหรือทีใ่ ดๆ ทัว่ โลกทีส่ ามารถ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 10. เอือ้ ประโยชน์ตอ่ ผูจ้ ดั การตลาดอย่างไร สถาบันการศึกษาทีจ่ ดั การตลาดการศึกษาแบบ E-commerce สามารถขยายตลาดการศึกษาและ การบริการออกไปอย่างกว้างขวางในระดับประเทศและระดับโลก เพราะเครือข่ายอินเตอร์เน็ตครอบคลุม กลุม่ ผูเ้ รียนทัว่ โลก ทำให้สามารถบริการลูกค้าได้จำนวนมากทัว่ โลกด้วยต้นทุนต่ำ ลดปริมาณเอกสารได้ ถึงร้อยละ 90 ลดต้นทุนการสือ่ สารโทรคมนาคมเพราะอินเทอร์เน็ตราคาถูกกว่าโทรศัพท์ สามารถใช้เป็น ช่องทางเจาะกลุม่ เป้าหมายผูส้ นใจเรียนในสาขานัน้ ได้ดขี น้ึ หรือโดยตรง (Direct Electronic Mailing) สถาบันการศึกษาทีม่ ขี นาดเล็กสามารถแข่งขันกับสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ได้ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นแหล่งข้อมูลอันมหาศาลทีส่ ามารถช่วยทำการวิจยั การตลาดและการพัฒนาสินค้าได้อย่างประหยัด สามารถทำธุรกิจการศึกษาระหว่างสถาบันกันและกันได้งา่ ยและรวดเร็วขึน้ ช่วยให้การบริหาร การตรวจ สอบ การจัดจำหน่ายสื่อการศึกษา การทำธุรกรรมทางการรับชำระเงินลงทะเบียนเรียน รวดเร็วมี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 11. สถาบันการศึกษาทำธุรกิจ E-Commerce อย่างไร สถาบันการศึกษาหลายแห่งมีเว็บไซด์เพือ่ ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ ออนไลน์ นำเสนอ ในเรือ่ งหลักสูตรการเปิดรับสมัครนักศึกษา เชิญชวนลูกค้าด้วยเทคนิควิธกี ารสร้างแรงจูงใจต่างๆ มีการ ลงโฆษณาผ่านเว็บต่าง ๆ ทำป้ายโฆษณาเพือ่ ติดประชาสัมพันธ์ ลงข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ สือ่ วิทยุและโทรทัศน์ จัดจำหน่ายผลงานนักศึกษา ผลงานอาจารย์ และมีการประชาสัมพันธ์เพือ่ รับงาน นอก ผ่านช่องทางการออนไลน์ ซึง่ ค่าตอบแทนจะถูกหักเข้าสถาบันการศึกษาบางส่วน และเว็บไซด์ ยังเป็นช่องติดต่อระหว่างผู้ประกอบการอื่น ๆ กับสถาบันการศึกษา เพื่อรับบัณฑิตที่จบ เข้าทำงาน ส่งเสริมให้บณ ั ฑิตมีอาชีพ

44 วารสารวิทยบริการ ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

12. ข้อเสนอแนะ การศึกษาในปัจจุบันมุ่งเชิงพาณิชย์มากขึ้น การแข่งขันด้านการศึกษาที่รุนแรงขึ้น สถาบัน การศึกษาต้องมีการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลให้มคี วามรู้ ความ สามารถ และทักษะทีเ่ กีย่ วกับ ด้านเทคโนโลยีและกระบวนการทางธุรกิจควบคู่กันไป เช่น การฝึกอบรม การสัมมนา โครงการ ความร่วมมือระหว่างประเทศ โครงการความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับหน่วยงานเอกชนและ การศึกษาด้วยตนเองผ่านสือ่ การเรียนการสอนต่างๆ เป็นต้น จึงจะสามารถก้าวทันเทคโนโลยีและพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้ ส่วนด้านหลักสูตรควรปรับปรุงการเรียนรู้ให้มี IT Integrated Curriculum ในทุกรายวิชา ระดมการสร้างเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อสร้างบัณฑิตที่มี ความรูท้ างด้านพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) เพราะเนือ่ งจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาและการทำธุรกรรมทางการค้าเป็นอย่างมาก ส่งผลให้รปู แบบและวิธกี ารดำเนินงานของบุคคลากรเปลีย่ นแปลงไปตามกระบวนการทางธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่นกัน ดังนั้น แนวโน้มความต้องการบุคลลากรด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จะมี เพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนมาก สำหรับบัณฑิตทีจ่ บจากการศึกษา ด้านพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จะมีตลาดงานทีด่ รี องรับในอนาคต เนือ่ งจากพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์กำลังเป็นทีน่ ยิ มและคาดว่าจะอยูใ่ น ความสนใจไปอีกระยะหนึง่ เพราะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนือ่ งอยูต่ ลอดเวลา และมีแนวโน้ม ในอนาคตว่าการทำธุรกรรมทุกอย่างจะต้องผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์แทบทัง้ สิน้ และผูท้ จ่ี บการศึกษาใน หลักสูตรนีจ้ ะมีขอ้ ได้เปรียบมากกว่าผูท้ จ่ี บด้านบริหารทัว่ ไป เพราะได้ศกึ ษาในหลาย ๆ สาขาวิชาด้วยกัน เช่น การตลาด อินเทอร์เน็ต การสือ่ สาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนเรือ่ งของโอกาสในการจ้างงาน ของบัณฑิตทีจ่ บหลักสูตรนี้ ขึน้ อยูก่ บั ผูเ้ รียนและเนือ้ หาวิชาและแนวคิดของแต่ละหลักสูตร ผูส้ ำเร็จการ ศึกษาอาจออกมาประกอบธุรกิจของตนเองมากกว่าทีจ่ ะทำงานในองค์กรอืน่ ๆ เพราะหลักสูตรจะสอน ให้คดิ และสร้างงานด้วยตนเอง จะต้องหาแหล่งสินค้าและกลุม่ เป้าหมายของสินค้านัน้ ๆ ได้เอง รวมทัง้ ทำระบบต่างๆ เพือ่ การค้าขายแบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) เองได้เต็มทีอ่ กี ด้วย บทสรุป ในวงการศึกษาเองก็ควรพิจารณานำแนวคิดของ E-Commerce มาประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการและการให้บริการทางการศึกษา เพราะโลกสมัยใหม่ได้เปลีย่ นแปลงไป คนรุน่ ใหม่รจู้ กั และเข้า ใจชีวติ ในสังคมสารสนเทศมากขึน้ วงการศึกษาจึงควรเปิดรับและปรับใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ เข้ามาเป็นเครือ่ งมือในการบริหารจัดการด้วย ไม่ใช่เพียงผลิตบัณฑิตให้มคี วามรูค้ วามสามารถในทาง พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ แต่สถาบันการศึกษากลับไม่สามารถปรับประยุกต์ใช้ในทางวิชาการ ก็จะเป็น เรือ่ งทีน่ า่ เสียดายและควรนำมาพิจารณาประยุกต์ใช้งานอย่างจริงจัง

45 วารสารวิทยบริการ

E - Commerce : การประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา

ปีท่ี ๒๑ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๓

สมใจ สืบเสาะ และผ.ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

เอกสารอ้างอิง [1] ภาวุธ พงษ์วริ ยิ ะภานุ. ความรูเ้ บือ้ งต้น E-Commerce. (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 20 มีนาคม 2552 จาก http://www.thaiecommerce.org index.php?lay=show&ac=article&Id= 538636758&Ntype=6. [2] itgirl. พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Commerce). (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 22 มีนาคม 2552. จาก http://www.jobpub. com/articles/showarticle.asp?id=2158. [3] รูปภาพที่ 1 ระบบการชำระเงิน (Payment System). (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 22 มีนาคม 2552. จาก http://www.thaiecommerce.org/index.php?lay=show&ac=article&Id =538636822&Ntype=6. [4] ธนาคารแห่งประเทศไทย. E-Commerce การพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์. (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 22 มีนาคม 2552. จาก http://guru.sanook.com/pedia/topic/ E-Commerce_(การพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์)/. [5] รูปภาพที่ 2 เว็บสำเร็จรูปแห่งแรกและใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย. (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 22 มีนาคม 2552. จาก http://www.readyplanet.com/. [6] สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ. การสํารวจสถานภาพพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2550. (ออนไลน์) สืบค้นวันที่ 22 มีนาคม 2552. จาก http://portal.nso.go.th/ otherWS-world-context-root/index.jsp. ****************************