Nation Multimedia Group Public Co - thaiskillplus.com

บริษัท xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx แบบฟอร์มการพิจารณาขอปรับฐานเงินเดือน/ปรับ...

98 downloads 416 Views 202KB Size
Training Form…..เครื่องมือเพื่อการบริหารงานฝึ กอบรม ใกล้ สิ ้นปี แล้ ว ช่วงนี ้ฝ่ ายบุคคลจะยุ่งกันหน่อย เพราะจะต้ องเตรี ยมการสาหรับการประเมินผลงาน การปรับเงินเดือนขึ ้น ประจาปี และใครมีผลงานดีเลิศจะได้ รับการพิจารณาปรับตาแหน่งงาน พบว่าในแง่ของการปรับเงินเ ดือน ปั ญหาอยู่ที่ลกู น้ อง บางคนที่มีเงินเดือนน้ อย ถึงแม้ วา่ จะปรับเงินเดือนขึ ้นประจาปี ให้ เงินเดือนก็ยงั น้ อยอยู่ สาเหตุเนื่องจากว่าฐานเงินเดือนที่ได้ รับ น้ อยอยู่แล้ ว ดังนันแบบฟอร์ ้ มที่ผ้ เู ขียนจะนามาเสนอจะช่วยทาให้ หวั หน้ างานมีข้อมูลที่เพียงพอในการขอปรับฐานเงินเดือนหรื อ การปรับเพิ่มพิเศษ

คาแนะนา....แบบฟอร์ มการพิจารณาขอปรับฐานเงินเดือน/ปรับเงินพิเศษ ความหมาย

วัตถุประสงค์

ผู้รับผิดชอบ

องค์ประกอบ

แบบฟอร์ มที่หวั หน้ างานประสงค์จะขอปรับฐานเงินเดือนของพนักงานที่ได้ รับหรื อตกลงร่ วมกับองค์กรไว้ ตงแต่ ั้ เริ่ มแรก รวมถึงการปรับเงินเพิ่มพิเศษ กรณีที่ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชามีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งงานหรื อขอบขตหน้ าที่ งานกะทันหัน ซึง่ ไม่เป็ นไปตามช่วงเวลาการปรับเงินเดือนตามที่องค์กรกาหนดขึ ้น เพื่อให้ หวั หน้ างานชี ้แจงเหตุผลว่าพนักงานคนนันสมควรจะได้ ้ รับการปรับฐานเงินเดือนหรื อปรับเงินพิเศษ และ ข้ อมูลที่นาเสนอในแบบฟอร์ มทังหมดนี ้ ้จะถูกนาส่งให้ ผ้ บู ริ หารระดับสูงพิจารณาความเหมาะสมว่าจะปรับฐาน เงินเดือนหรื อเงินพิเศษได้ หรื อไม่ ผู้ที่มีหน้ าที่ในการกรอกข้ อมูลในแบบฟอร์ มดังกล่าวนี ้ก็คือ ผู้บงั คับบัญชาโดยตรง เพราะเป็ นบุคคลที่ใกล้ ชิดและ รับรู้ พฤติกรรมของพนักงานได้ มากที่สดุ ทังนี ้ ้แบบฟอ์มดังกล่าวควรจะปิ ดเป็ นความลับ ไม่ควรแจ้ งให้ กบั พนักงานที่จะเสนอขอปรับฐานเงินเดือนหรื อปรับเพิ่มพิเศษรู้ ตวั ก่อน เพราะพวกเขาจะเกิดความคาดหวังขึ ้น พนักงานจะรับรู้ ได้ ก็ตอ่ เมื่อผู้บริ หารระดับสูงพิจารณาเห็นสมควรเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว เนื ้อหาในแบบฟอร์ มจะแบ่งเป็ น 5 ส่วน ได้ แก่ ส่วนที ่ 1 -- เป็ นการอธิบายถึงข้ อมูลทัว่ ไป ในส่วนนี ้จะให้ หวั หน้ างานกรอกข้ อมูล ของพนักงานในเรื่ องทัว่ ๆ ไป เช่น หน่วยงานที่สงั กัด อายุงานในตาแหน่ง อายุงานรวมทังหมด ้ และอัตราเงินเดือนที่ได้ รับในปั จจุบนั เป็ นต้ น ส่วนที ่ 2 – การระบุรายละเอียดว่าทาไมพนักงานคนนี ้สมควรจะได้ รับการปรับฐานเงินเดือนหรื อปรับเพิ่มพิเศษ ให้ โดยหัวหน้ างานจะต้ องอธิบายในลักษณะของการบรรยายความตามประเด็นที่กาหนดขึ ้น ข้ อมูลในส่วนนี ้มี ความสาคัญมาก เพราะจะมีผลต่อการพิจารณาของผู้บริ หารระดับสูงต่อไป ส่วนที ่ 3 – เป็ นความรับผิดชอบที่จะสนับสนุนว่าพนักงานคนนี ้เหมาะสมกับการปรับฐานเงินเดือนหรื อปรับเพิ่ม พิเศษหรื อไม่ ซึง่ หัวหน้ างานจะต้ องใช้ วิธีการบรรยายความเช่นเดียวกับส่วนที่ 2 ส่วนที ่ 4 -- การระบุผลการปฏิบตั ิงานในปี ที่ผ่านมาว่ามีระดับหรื อเกรดเฉลี่ยวของผลงานตามช่วงเวลาที่ กาหนด องค์กรบางแห่งกาหนด 2 ปี องค์กรบางแห่งกาหนด 3 ปี ข้ อควรพิจารณาก็คือ ช่วงเวลาในการประเมิน ยิ่งมาก ยิ่งจะมีคา่ ความน่าเชื่อถือได้ ของผลการประเมินมากขึ ้นตามไปด้ วย นอกจากการระบุผลการปฏิบตั ิงาน แล้ ว หัวหน้ างานจะต้ องระบุวฒ ุ ิการศึกษาปั จจุบนั และสาขาวิชาที่เรี ยน ส่วนที ่ 5 -- การขอปรับเงินเพิ่ม เป็ นความคิดเห็นของหัวหน้ างานที่ต้องการเสนอขอปรับเงินเพิ่มพิเศษให้ กบั พนักงานโดยคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ หากหัวหน้ างานไม่ต้องการระบุเป็ นตัวเงิน หัวหน้ างานสามารถระบุไปได้ วา่ ขึ ้นอยู่กบั การพิจารณาของผู้บริ หารระดับสูง

บริษัท xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx แบบฟอร์ มการพิจารณาขอปรับฐานเงินเดือน/ปรับเงินพิเศษ ส่ วนที่ 1 : ข้ อมูลทั่วไปเกี่ยวกับพนักงาน (ผู้ถูกเสนอปรับ) ชื่อ-นามสกุล แผนก/ฝ่ าย เงินเดือนปั จจุบนั

คุณสุดหล่อ งามยิ่ง แผนกฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ 12,000 บาท

รหัสพนักงาน อายุงานในตาแหน่ง ปั จจุบนั

0009 1 5

ปี เดือน

ตาแหน่งงานปั จจุบนั อายุงานรวมทังหมด ้ วันเริ่ มงาน

HR Officer 4 ปี เดือน 01 มกราคม 2546

ส่ วนที่ 2 : กรุ ณาระบุ Criticality ของงาน / ผู้รับผิดชอบ ตามปั จจัยที่กาหนดต่ อไปนี ้ 1. ผลกระทบที่เกิดขึ ้นต่อแผนก/ฝ่ าย/บริษัท หากพนักงานลาออก ขาดผู้ชว่ ยในการจัดเตรียมความพร้ อมเพื่อการเตรียมงาน และประสานงานด้ านการฝึ กอบรมกับหน่วยงานต่าง ๆ ทังภายในและภายนอก ้ 2. ความยากง่ายในการหาคนทดแทน มีความยากในการหาผู้มาทดแทนในระดับหนึ่ง เนื่องจากงานในตาแหน่งงานนี ้จะต้ องรู้และเข้ าใจบุคลากรภายในหน่วยงานต่าง ๆ พอสมควร 3. ความซับซ้ อนของงานที่รับผิดชอบ/ข้ อมูลที่ดแู ล ลักษณะงานจะเน้ นไปที่การติดต่อสื่อสาร การประสานงานกับบุคลากรทังระดั ้ บบริหารและไม่ใช่ระดับบริหาร ความยุง่ ยากของงานจะเน้ นไปที่ความถูกต้ องและ ความรวดเร็วในการติดต่อกับผู้อื่น รวมถึงการจัดเตรียมเอกสารด้ านการฝึ กอบรมให้ พร้ อมและถูกต้ องเพื่อรายงานต่อผู้บริหาร และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง 4. อัตราการลาออกของตาแหน่งงานนี ้ มีการลาออกไปแล้ ว 1 คน ซึง่ ทาให้ มีความเสี่ยงในระดับหนึ่ง หากตาแหน่งงานนี ้ลาออกไป เนื่องจากลักษณะงานนี ้ต้ องทาความเข้ าใจถึงพฤติกรรมและลักษณะนิสยั ของคนพอสมควร ซึง่ อาจจะต้ องใช้ ระยะเวลาในการเรียนรู้งาน ส่ วนที่ 3 : กรุ ณาระบุขนาดของงานที่รับผิดชอบเมื่อเปรียบเทียบกับค่ าตอบแทน ตามปั จจัยที่กาหนดต่ อไปนี ้ 1. งบประมาณที่รับผิดชอบ ไม่มี 2. ทรัพย์สินที่ดแู ลรับผิดชอบ ไม่มี 3. จานวนพนักงานที่ดแู ลรับผิดชอบและติดต่อ ไม่มี 4. กลุม่ ลูกค้ า/คูค่ ้ าที่ติดต่อ พนักงานทุกระดับในองค์การ รวมถึงหน่วยงาน/สถาบันราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้ องกับงานฝึ กอบรม 5. Impact ของงานต่อองค์กร และ Value Added ของงาน มีผลต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถและประสิทธิภาพในการทางานของพนักงานทัว่ ทังองค์ ้ กร ส่ วนที่ 4 : กรุ ณาระบุผลการปฏิบัติงานในรอบปี 2548-49 รวมทัง้ วุฒิการศึกษาปั จจุบัน ผลงานปี 2546

วุฒกิ ารศึกษา

คะแนนเฉลี่ย............3.52................... เกรด ...........A................

วุฒิ/สาขา..........ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยxxxxx............... .......

ส่ วนที่ 5 : การขอปรับเงินเพิ่ม ขอปรับเพิ่ม....20.....% คิดจากเงินเดือนปั จจุบันที่ได้ รับ

เงินเดือนใหม่ เป็ น .....14,400...….......บาท/เดือน

มีผลวันที่ ตามความเหมาะสม

ผู้เสนอปรั บ

ผู้อนุมัติ 1

ผู้อนุมัติ 2

ลงชื่อ........คุณน้ อย ละเอียดดี................. .......xx......./.....xx......./......xx......

อนุมตั ิ ไม่อนุมตั ิ อื่นๆ.............................................................................. .................................................................................... ลงชื่อ..................................................... ................/............../...............

อนุมตั ิ ไม่อนุมตั ิ อื่น ๆ .......................................................................... .................................................................................. ลงชื่อ..................................................... ................/............../...............