O-14-copy order-FINAL 12062008 - ejournals.swu.ac.th

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008 103 Original Article...

66 downloads 533 Views 204KB Size
Original Article

ประสิทธิผลของรูปแบบการคัดลอกคําสัง่ แพทยแบบใหม ในงานบริการเภสัชกรรมผูปว ยใน ธานี อัตวินิจตระการ* กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จ. กาญจนบุรี * Corresponding author: [email protected]

บทคัดยอ กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพหลหลพยุหเสนา ไดนําระบบการจายยาแบบรายวัน (daily dose) มาใชในการกระจายยาผูปวยใน ตั้งแตป 2541 พบวาไดผลดีในดานการบริหารเวชภัณฑ แตยังมีความคลาดเคลื่อนทางยา ที่เกิดจากการคัดลอกคําสั่งแพทยจาก doctor’s order sheet ไปสูใบสั่งยา เพื่อใหหองยาจัดเตรียมยาตามใบสั่งยา จึงไดมีพัฒนารูปแบบแบบคัดลอกคําสั่งแพทย (doctor’s order sheet copy) แบบใหม มาใชในป 2548 มีผลใหอัตราความคลาดเคลื่อนกอนขั้นตอนการจัดเตรียมยา (pre-dispensing error) ลดลงจากรอยละ 14 – 17 ในป 2547 เหลือรอยละ 0.92, 0.87 และ 0.15 ในป 2548, 2549 และ 2550 ตามลําดับ และในนวัตกรรมนี้ ไดมีการผสมผสานบันทึก ความกาวหนาในการรักษา (progress note) ของแพทยเขาไวดวย สงผลใหการบันทึกความกาวหนาในการรักษาของแพทยในเวชระเบียน ผูปวยในมีความสมบูรณในระดับคุณภาพที่ยอมรับได เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 60.00, 72.86 และ 81.67 ในป 2548, 2549 และ 2550 ตามลําดับ §

Thai Pharm Health Sci J 2008;3(1):103-108

บทนํา โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา เปน โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 440 เตียงไดนําระบบการกระจายยาผูปวยในแบบการ จายยาแบบรายวัน (daily dose) มาใชตั้งแตป 25411-3 โดยมี clinical drug profile เปนเครื่องมือชวยควบคุมและตรวจสอบ การบริหารยาผูปวยในทุกราย สามารถลดความสูญเสียที่เกิด จากการสั่งยามากเกินไป หรือมียาตกคางในหอผูปวยไดอยาง มีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม จากการประเมินคุณภาพพบวา มีความคลาดเคลื่อนทางยาอันเนื่องมาจากกระบวนการคัดลอก คําสั่งแพทย จาก doctor’s order sheet ลงใบสั่งยา เพื่อนํา ใบสั่งยาไปใหหองยา จัดและจายยาตามคําสั่งแพทยที่ปรากฏ ในใบสั่งยา จากการสุมตัวอยางคําสั่งในใบสั่งยากับคําสั่งใน doctor’s order sheet เดือนกรกฎาคม สิงหาคม และ กันยายน 2547 พบอั ต ราความคลาดเคลื่ อ นทางยาแบบก อ นจ า ยยา (predispensing error) สูงถึงร อยละ 15.33, 17.67 และ14.50 ตามลํ าดั บ อัต ราความคลาดเคลื่อ นทางยาที่ พบ เปน ความ เสี่ ย งระดั บ สู ง ที่ ต อ งได รั บ การแก ไ ข ก อ นที่ ผู ป ว ยจะเกิ ด §

§

อัน ตรายจากการได รั บยาไม ถูก ต อ ง และจากการวิเ คราะห สาเหตุ แ ห งป ญ หา ความเสี่ ย งนี้ สามารถลดได โ ดยลดการ ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารคั ด ลอกคํ า สั่ งแพทย แ ละสร า งรู ป แบบการ ทํางานที่เหมาะสมเพื่อนํามาใชในการทํางานประจํา

วิธีการศึกษา กา ร ศึ กษ า นี้ เป น ก าร วิ จั ยเ ชิ ง ปฏิ บั ติ กา ร (action research) เพื่อการพัฒนาระบบงาน ตามแนวทางการพัฒนา งานประจําโดยใชงานวิจั ย ผู วิจัย ไดสํารวจปญ หา หาสาเหตุ และเก็ บข อ มู ล เพื่ อ นํ า มาวิ เ คราะห ห าทางแก ไ ขระบบการ ปฏิบัติงานส งต อขอ มูล จากคํา สั่งใชย าของแพทย ในผูปว ยใน ของโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา ทั้งนี้ การตรวจสอบความ เคลื่ อ นทางยาในระบบการลอกคํ า สั่ งแพทย ล งใบสั่ งยาโดย พยาบาล ไดศึกษาการลอกคําสั่งแพทยโ ดยสุมตรวจใบสั่งยา เดือนละ 1200 ใบ ในชวง กรกฎาคม – กันยายน 2547 แลว สรุปจํานวนความคลาดเคลื่อนทางยาแบบกอนจายยาที่พบ จากนั้ น ได ประชุ ม หารื อ ร ว มกั น ระหว า งกลุ ม งานเภสั ช กรรม องค ก รแพทย แ ละองค ก รพยาบาล เพื่ อ พั ฒ นาแนว

13th year of Srinakharinwirot Journal of Pharmaceutical Science

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008

103

ทางการส งต อ ขอ มูล การสั่งใชย าของแพทย เมื่ อไดแ นวทาง แลวนําไปทดลองปฏิบัติ จากนั้นไดติดตามผลการดําเนินงาน แลวนํามาปรับปรุงแกไขรูปแบบและวิธีปฏิบัติ เพื่อใหสามารถ นําไปใชปฏิบัติไดอยางเหมาะสมตอไป ผลจากการระดมสมอง ได ข อ สรุ ปแนวทางการทํา งานใหม โดยการสรา งแบบพิ ม พ ชุดคําสั่งแพทยที่มีสําเนาคารบอนในตัว โดยเมื่อแพทยสั่งการ รัก ษาในคํา สั่ งแพทย แ ลว แบบพิม พ ชุด สํ าเนาจะถูก ฉี กออก ตามรอยปรุ เพื่อใชเปนใบสั่งยา ใหหองยาตรวจสอบคําสั่งให ถูกตอง แลวดําเนินการจัดและจายยาตอไป โดยวิธีนี้ไมตองมี การคั ดลอกคํา สั่ งแพทยล งสู ใ บสั่ งยา แบบพิ ม พชุดสํ าเนาใน ตั ว เองนี้ ไ ด เ ริ่ ม นํ า มาทดลองใช กั บ งานบริ ก ารผู ปว ยในทั้ ง โรงพยาบาล ตั้ ง แต เ ดื อ นมกราคม 2548 มี ก ารติ ด ตาม ประเมินผลขอปญหาในทางปฏิบัติ และสุมตรวจใบสั่งยาเดือน ละ 1,200 ใบ ในชวงเดือน มกราคม – มีนาคม 2548 เพื่อสรุป ความคลาดเคลื่อนทางยาแบบกอนจายยา ผลปรากฏวาอัตรา ความคลาดเคลื่ อ นทางยาที่ ต รวจพบซึ่ ง มี ส าเหตุ จ ากการ คัดลอกคําสั่งแพทยลงสูใบสั่งยาลดลงอยางชัดเจน ความคลาด เคลื่อนที่ยังพบบางเนื่องจากแพทยสั่งไมชัดเจนหรือไมถูกตอง เชน รายการยา ขนาดความแรง ขนาดที่ให หรือแพทยเขียน น้ํ า หนั ก เบาทํ า ให ไ ม ติ ด กระดาษชุ ด สํ า เนา ซึ่ ง เภสั ช กรผู ตรวจสอบดําเนินการประสานงานแกไขคําสั่งใหถูกต องกอ น ใบสั่งยาไปจั ดและจ ายยาตอ ไป สํา หรั บผูปฏิบัติงานพบว า มี ความพึงพอใจในแบบพิมพใหม จึงไดบรรจุแบบพิมพนี้เขาเปน เอกสารปฏิ บั ติ ป ระจํ า ในแฟ ม เวชระเบี ย นผู ป ว ยในอย า ง ต อ เนื่ อ งมาจนถึ ง ป จ จุ บั น และมี ก ารติ ด ตามผลความ คลาดเคลื่อนทางยาแบบกอนจายยา เพื่อรายงานผลเปนดัชนีชี้ วัดรายป ในการเฝ า ระวั ง และลดความคลาดเคลื่ อ นทางยา 4 -7 แบงเปนประเภทใหญ ๆ ได ดังนี้ 1) ความคลาดเคลื่อนแบบ กอนจายยา (pre–dispensing error) มีสาเหตุจาก 2 ลักษณะ คือ การสั่ งให ยา (prescribing) และ การคัดลอกคํ าสั่งใหย า ( transcribing) 2 ) ค ว า ม ค ล า ด เ ค ลื่ อ น ใ น ก า ร จ า ย ย า (dispensing error) และ 3) ความคลาดเคลื่อนในการใหย า (administration error) โดยในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ประเมิ น ผล เฉพาะความคลาดเคลื่ อ นทางยาแบบก อ นจ า ยยา (pre– dispensing error) โดยแสดงผลความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบ ในรูปความถี่ และรอยละ นอกจากนี้ ได มี ก ารนํ า เสนอข อ มู ล รายงานผลการ ตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน (medical audit) ในสวนของ การเขียนบันทึกความกาวหนาในการรักษา (progress note) ของแพทย ซึ่ งเปน บั น ทึ กความก าวหน า ของการรัก ษาหรื อ นําไปสูเหตุผลของการสั่งการรักษา โดยการประเมินคุณภาพ 104

ของการเขีย นบัน ทึก ความกา วหน าในการรักษานี้ ใชเ กณฑ ตามแนวทางการตรวจสอบคุ ณ ภาพการใหร หัสโรคและเวช ระเบียน (Coding and Medical Record Audit Guideline)8 โดยมีระดับคุณภาพ ดังนี้ na หมายถึง ไมจําเปนตองมีการ ประเมิ น ในประเด็ น นั้ น ๆ (not applicable; N/A) miss หมายถึง ไมมีเอกสารใหเห็นหรือสูญหาย no หมายถึง ไม มี การบัน ทึก ในเอกสาร poor (แย) หมายถึ ง อา นไมอ อก ไม เขียนปญหาสําคัญ fair (พอใช) หมายถึง เขียนไมครบปญหาที่ มีการ เปลี่ยนแปลง good (ดี) หมายถึง เขียนปญหาสําคั ญ ครบถวน แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของผูปวยได excellent (ดี เยี่ยม) หมายถึง มีการบันทึกในลักษณะ subjective, objective assessment และ plan ครบถวน ทั้งนี้ ใชการประเมินทั้งกอน และหลังนําแบบสําเนา progress note ไวใน doctor’s order sheet ดวย

ผลการศึกษา จากการศึกษารูปแบบและวิธีปฏิบัติ งานกอนการพัฒนา พบวา เมื่อแพทยตรวจอาการผูปวยใน แพทยจะเขียนสั่งการ รักษาใน doctor’s order sheet จากนั้นพยาบาลคัดลอกคําสั่ง ลงใบสั่งยา จากนั้นใบสั่งยาถูกสงมายังหองยา เพื่อจัดและจาย ยาต อ ไป จากการสุม เก็ บรวบรวมข อ มู ลเดื อ น กรกฎาคม กั น ยายน 2547 พบอั ต ราความคลาดเคลื่ อ นทางยาอั น เนื่องจากการคัดลอกคํา สั่งผิดพลาด ในอัตราคอ นขางสูง คื อ รอยละ 15.33, 17.67 และ 14.00 ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน 2547 ตามลําดับ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จํ านวนความคลาดเคลื่ อนทางยาที่ พ บในเดื อ น กรกฎาคม – กันยายน 2547 รายการ จํานวนใบสั่งยาที่เบิก จํานวนใบสั่งยาที่พบความ คลาดเคลื่อน รอยละความคลาดเคลื่อน

เดือนที่ศึกษาในป 2547 กค. สค. กย. 1,200 1,200 1,200 184

106

168

15.33

17.67

14.00

กลุมงานเภสัชกรรม นําเสนอรูปแบบการทํางานใหมที่ไม ต อ งคั ด ลอกคํ า สั่ งแพทย ล งสู ใ บสั่ ง ยา โดยการทํ า ใบสํ า เนา doctor’s order sheet แบบกระดาษคารบอนสําเนาในตัวแบบ พิมพสําเร็จ เมื่อแพทยสั่งการรักษาแลว แบบพิมพชุดสําเนา จะถูก ฉีก ออกตามรอยปรุ นํ าไปเปน ใบสั่ งยาเพื่ อใหห องยา ดําเนินการตามกระบวนการเพื่อจายยาตามระบบตอไป โดย วิ ธี นี้ เ ภสั ช กรจะเห็ น ลายมื อ คํ า สั่ ง แพทย ซึ่ ง เป น ไปตาม

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008

มาตรฐานคุณภาพ และไมมีการคัดลอกคําสั่งเกิดขึ้น รูปแบบ พัฒนาใหมนี้ไดนํามาใชตั้งแตเดือนมกราคม 2548 หลั งจากเริ่ ม ดํ าเนิ น การ ได ติ ดตามสุ มเก็ บข อมู ล ความ คลาดเคลื่ อ นก อ นการจั ดเตรี ยมยา ในช วงเดื อนมกราคม – มีนาคม 2548 พบวาอัตราความคลาดเคลื่อนลดลงเหลือเพียง รอยละ 4.83, 1.33, และ 1.00 ในเดือน มกราคม กุมภาพันธ และมีนาคม 2548 ตามลําดับ (ตารางที่ 2) แสดงวาการพัฒนา ใหผลในทางที่ดี ตารางที่ 2 จํ านวนความคลาดเคลื่ อนทางยาที่ พ บในเดื อ น มกราคม - มีนาคม 2548 หลังใชแบบสําเนาในตัว เดือนที่ศึกษาในป 2548

รายการ

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

1,200 58

1,200 16

1,200 12

4.83

1.33

1.00

จํานวนใบสั่งยาทีเ่ บิก จํานวนใบสั่งยาที่พบความ คลาดเคลื่อน รอยละความคลาดเคลื่อน

จากการดํ า เนิ น การอย า งต อ เนื่ อ งและเก็ บ ข อ มู ล ตาม รูปแบบการปฏิบัติ ในการคัด ลอกคํ า สั่งแพทยล งสู ใ บยาแบบ ใหมโดยการใชแบบพิมพชุดคําสั่งแพทยที่มีสําเนาคารบอนใน ตั ว แบบพิ ม พ สํ า เร็ จ พบว า ความคลาดเคลื่ อ นก อ นการ จัดเตรียมยาลดลงอยางมากและตอเนื่อง โดยพบในอัตรารอย ละ 0.92, 0.87 และ 0.15 ในป 2548, 2549, และ 2550 ตามลําดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 จํานวนความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบในป 2548 2550 รายการ จํานวนใบสั่งยาที่เบิก จํานวนใบสั่งยาที่พบ ความคลาดเคลื่อน รอยละความ คลาดเคลือ่ น

2548

ปงบประมาณ 2549

หรือระดับยอดเยี่ยม (excellent) เทานั้น มีเพียงรอยละ 55.72 (ตารางที่ 4) ซึ่งถือ วาเปนสัด สวนที่คอนขางต่ํา หากจะบรรจุ พื้นที่การบันทึกความกาวหนาของการรักษาลงในแบบพิมพที่ สร า งขึ้ น จะเป น การอํ า นวยความสะดวกแก แ พทย ใ นการ บั น ทึ ก เพิ่ ม ขึ้ น พร อ ม ๆ กั บ การสั่ ง การรั ก ษา จึ ง มี ก าร ผสมผสานบั น ทึก ความกา วหนา ในการรั ก ษาไวใ น doctor’s order sheet ที่พัฒนาขึ้นดวย ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพเวชระเบี ย นหลั ง ดํ า เนิ น การ พบวาการบันทึกความกาวหนาในการรักษา (progress note) ในคุณภาพที่ยอมรับได (ระดับ good หรือ excellent เทานั้น) ในป 2548 , 2549 , และ 2550 เพิ่มขึ้นจากรอยละ 60.00 เปน 72.86 และ 81.67 ตามลําดับ (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 การประเมินคุณภาพการบันทึกความกาวหนาใน การรักษา (progress note) ปงบประมาณ 2547 – 25509 ระดับคุณภาพ* N/A MISS NO POOR FAIR GOOD EXCELLENT ผลงานคุณภาพที่ ยอมรับได (ระดับ good ถึง excellent)

ผลการประเมินคุณภาพการบันทึก progress note รายป (รอยละ) 2547 2548 2549 2550 1.43 15.71 12.86 14.29 32.86 22.86

1.43 5.71 18.57 14.29 42.86 17.14

4.29 22.86 40.00 32.86

1.67 16.67 45.00 36.67

55.72

60.00

72.86

81.67

* ระดับคุณภาพ: 2550

(มค. – ตค.)

(ตค. 48-กย. 49)

(ตค. 49-กย. 50)

89,945

109,493

112,524

827

952

168

0.92

0.87

0.15

ในขั้ น ตอนการระดมสมองเพื่ อ พั ฒ นางาน ได มี ก าร นําเสนอขอมูลรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบีย น (medical audit) ในสวนของการเขียน progress notes ของ แพทย เพื่อ บัน ทึกความกา วหนาของการรัก ษา หรื อนํา ไปสู เหตุ ผลของการสั่ งการรักษา พบวาในป 2547 คุ ณภาพการ บัน ทึ ก อยูใ นระดับที่ ย อมรั บได ซึ่งหมายถึ ง ระดั บดี (good)

n/a miss no poor (แย) fair (พอใช) good (ดี)

หมายถึง ไมจําเปนตองมี (not applicable) หมายถึง ไมมีเอกสารใหเห็นหรือสูญหาย หมายถึง ไมมีการบันทึกในเอกสาร หมายถึง อานไมออก ไมเขียนปญหาสําคัญ หมายถึง เขียนไมครบปญหาที่มีการเปลี่ยนแปลง หมายถึง เขียนครบปญหาสําคัญแสดงถึงการ เปลี่ยนแปลงของผูปวยได excellent (ดีเยีย่ ม) หมายถึง มีการบันทึกในลักษณะ subjective, objective, assessment และ plan ครบถวน

วิจารณผลการศึกษา ความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนกอนการจัดเตรียมยา เปน ปญ หาหนึ่งที่สําคั ญและพบไดบอย ในกระบวนการดูแ ล ผู ปว ยใน เมื่ อ แพทย ต รวจอาการของผู ปว ยแล ว จะบั น ทึ ก ความกาวหนาของการรักษาในแบบบัน ทึกความก าวหนาใน

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008

105

การรั ก ษา หรื อ progress note และสั่ งการรั ก ษา ลงใน doctor’s order sheet ขั้นตอนตอมา จะเขียนคําสั่งจายยาลง ในใบสั่งยา เพื่อใหนําไปเบิกยามาใชกับผูปวยตอไป แตในการ ปฏิบัติโดยทั่ว ไป พยาบาลมัก เปน ผูคัด ลอกคําสั่ งจา ยยาลงสู ใบสั่งยา ซึ่งในขั้นตอนการคัดลอกนี้ มักพบความคลาดเคลื่อน อันเนื่องมาจากการคัดลอกไมถูกตอง ซึ่งมีสาเหตุจากลายมือที่ อานยาก หรืออานไดแตคัดลอกผิด ลักษณะความคลาดเคลื่อน ประเภทนี้ คือ pre-dispensing error ซึ่งเปนลักษณะหนึ่งของ ความคลาดเคลื่อนทางยา (medication error) ที่ตองการการ แกไขและปองกันอยางเปนระบบ การพัฒนาสรางรูปแบบแบบฟอรมที่ทําสําเนาในตัวของ doctor’s order sheet โดยผสมผสาน doctor’s order sheet และใบสั่ งยา เข าไว เ ป น เอกสารฉบั บเดี ย วกั น เป นการเพิ่ ม ความสะดวกและประหยั ด เวลาให ทํ า งานขั้ น ตอนเดี ย ว ได ผลงานครบตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องกิ จ กรรม และไม ต อ งมี ขั้นตอนการคัดลอกคําสั่งใชยา จึงเปนการตัดสาเหตุของปญหา ไดต รงประเด็ น เมื่อ ใบสั่งยาที่ เป นสํา เนาในเอกสาร ถูก แยก และนํา สงหองยา เภสัชกรจะเห็ นลายมื อแพทยผูสั่ง หากพบ ปญหาในคําสั่ง สามารถหารือกับแพทยผูสั่งไดโดยตรง ในดานมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาลและขอกําหนดของ แพทยสภานั้น คุณภาพเวชระเบียนผูปวยใน เปนมาตรฐานที่ โรงพยาบาลต อ งให ค วามสํ า คั ญ ในการพั ฒ นา ซึ่ งในส ว นนี้ บันทึกความกาวหนาในการรักษา หรือ progress note เปน เอกสารสวนหนึ่งที่กําหนดใหแพทยตองบันทึกใหไดคุณภาพ เพื่อบงบอกความกาวหนาของการรักษาในแตละครั้งที่แพทย เข า ตรวจเยี่ ย มผู ปว ย การสั่ งการรั ก ษาใน doctor’s order sheet จะสั ม พั น ธ แ ละมี เ หตุ ผ ลรองรั บ เนื้ อ หาในบั น ทึ ก ความกาวหนาในการรักษา ซึ่งในทางปฏิบัติ สาเหตุที่แพทยไม บันทึกในแบบบันทึกความกาวหนาในการรักษาใหสมบูรณได สว นหนึ่ งเนื่ อ งจากการต อ งเสีย เวลาพลิ ก เปด เอกสารหลาย ฉบั บ ในแฟ ม เวชระเบี ย นผู ป ว ย การผสานแบบบั น ทึ ก ความกาวหนาในการรักษาเขากับ doctor’s order sheet แบบ ที่มีสําเนาในตัวจึงชวยลดปญหาดังกลาวไดมาก การมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนารูปแบบการทํางาน ของสหวิชาชีพ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการผสมผสาน แบบบันทึกความกาวหนาในการรักษาเขากับ doctor’s order sheet แบบที่มีสํา เนาในตัวนี้ ทํา ใหแพทยไม เสียเวลาในการ พลิ ก แฟ ม เอกสารหลายฉบั บ แพทย ส ามารถบั น ทึ ก สิ่ ง ที่ กําหนดใหตองบันทึก หลาย ๆ หัวขอในเอกสารฉบับเดียวได ชว ยเพิ่ ม ความสะดวกในการทํ า งานและนา จะจู งใจใหมี ก าร บันทึกในแบบบันทึกความกาวหนาในการรักษาเพิม่ ขึ้น

106

ในการพั ฒ นางานครั้ ง นี้ นอกจากผลงานที่ ไ ด รั บจะมี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น แล ว ยั งมี ผ ลต อ บุ ค ลากรผู ปฏิ บัติ งานและ ผูเกี่ยวของกับผลการปฏิบัติงาน พอสรุปไดดังนี้ คาดวาแพทย ไดรับความสะดวกในขั้นตอนการทํางาน ทําใหการบันทึกการ รัก ษาพยาบาลมีเ หตุ ผลที่แ สดงดว ยหลัก ฐานในเวชระเบี ย น ปรากฏชัดเจนและมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น สําหรับเภสัชกร การไดเห็นบันทึกความกาวหนาในการ รักษาที่ตอเนื่องอาจชวยใหเขาใจ clinical drug profile ของ ผูปวยไดดีขึ้ น ทํ าใหสามารถปรึ กษากับแพทยเ พื่อแก ปญหา เกี่ยวกับยาในผูปวยรายที่มีปญหาไดอยางชัดเจน ตรงประเด็น และสอดคลองกับสภาพปญหาของผูปวยแตละรายไดดีขึ้น พยาบาลเปนกลุมปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมใหญที่มีความพึง พอใจสูงสุดในการพัฒนานี้ เนื่องจากไมตองคัดลอกคําสั่งการ รั ก ษาลงสู ใ บสั่ งยา ในอดี ต การคั ด ลอกคํ า สั่ ง นอกจากจะ เสียเวลาแลว หากคัดลอกไมถูกตอง พยาบาลจะถูกตําหนิจาก แพทย และยั งต อ งเสีย เวลาเพิ่ม ขึ้ นอี กในการปรับปรุงแก ไ ข คําสั่ งให ถูก ตอง ดังนั้น พยาบาลจะมีเ วลาในการทํา งานการ พยาบาลเพิ่มขึ้นดวย สวนผูบริหาร คาดว ามีความพอใจในผลจากการพัฒนา คุณภาพที่ดีขึ้น กิจกรรมงานบริการที่มีคุณภาพ และตรวจสอบ ไดดวยหลักฐานคุณภาพที่ชัดเจน จะทําใหอัตราความเสี่ยงตอ การเกิดความผิดพลาดลดลง มีผลใหขอรองเรียนหรือฟองรอง ลดลง ทายที่สุด กลุมที่ไดรับผลจากการพัฒนาคุณภาพที่ดีขึ้น โดยตรง คื อ ผู ปวยที่ รับบริก ารรัก ษา การไดรั บบริ ก ารตาม มาตรฐานและมีเหตุผลที่ถูกบันทึกไวชัดเจน ทําใหมั่นใจวาจะ ไดรับการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพและปลอดภัย

สรุปผลการศึกษา การทํ า สํ า เนาในตั ว ของ doctor’s order sheet ใน โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา เปนการปรับปรุงกระบวนการ ดูแ ลผู ปว ยในให ไ ด คุณ ภาพตามมาตรฐานที่ สูงขึ้ น โดยการ ผสมผสานวิธีการทํางานรวมกันระหวางแพทย เภสัชกร และ พยาบาล โดยถู ก นํ า มาใช ตั้ ง แต ป 2548 มี ผ ลให ค วาม คลาดเคลื่อนกอนขั้นตอนการจัดยา (pre-dispensing error) ที่ เกิดจากการคัด ลอกคําสั่งแพทยลดลงอยางมาก โดยพบเป น รอยละ 0.92, 0.87 และ 0.15 ในป 2548, 2549 และ 2550 ตามลําดับ ขณะเดียวกันการบรรจุแบบบันทึกความกาวหนาใน การรั กษา (progress note) ลงในแบบเอกสารสํ าเนาในตั ว ฉบั บเดี ย วกั น เป น การอํ า นวยความสะดวกและลดเวลาใน ขั้น ตอนการปฏิ บัติ งาน และเป น แรงจู งใจให เ กิ ด การบั น ทึ ก ความกาวหนาในการรักษาใหมีคุณภาพมากขึ้น โดยคุณภาพ การบันทึกในระดับที่ยอมรับได (ดีหรือดีเยี่ยม) เพิ่มขึ้นอยา ง

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008

มากจาก รอยละ 60.00 เปน 72.86 และ 81.67 ในป 2548, 2549 และ 2550 ตามลําดับ นวัตกรรมนี้เปนสิ่งแสดงใหเห็ น ผลของการพั ฒ นาความคิ ด และรู ปแบบการทํ า งานร ว มกั น ของสหวิ ชาชี พ เพื่อ ใหเ กิ ดประโยชนสูงสุด ร วมกั น ซึ่ งจะส ง สงผลใหผูรับบริการไดรับการรักษาที่มีคุณภาพ

เอกสารอางอิง 1. ธานี อัตวินิจตระการ. ประสิทธิผลของการกระจายยาผูปวยใน ระบบ Daily Dose ในโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัด กาญจนบุ รี. ประชุมวิชาการสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) ประจําป 2542: น. 201. 2. อภิฤ ดี เหมะจุฑา. ระบบการจายยาแบบยูนิตโดส. กรุ งเทพฯ. ภาค วิ ช า เภสั ช กรรม คณะเภสั ช ศา สตร จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2531. 3. ปกครอง มณีสิน การพัฒนาระบบการกระจายยาแบบยูนิตโดสใน โรงพยาบาลบํารุง ราษฎร. วิทยานิพ นธปริญญามหาบัณฑิ ต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534.

4. ธิดา นิงสานนทและคณะ. การปองการความคลาดเคลื่อนทางยา เพื่อความปลอดภัยของผูปวย. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย). พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2547: บริษัทประชาชน จํากัด. 5. Bate DW. Medication error; how common are the and what can be done to prevent them. Drug Saf 1996;15:303310. 6. ASHP guidelines on preventing medication errors in hospital. Am J Health-Syst Pharm 1993;50:305-314. 7. Davis NM, Cohen MR. Medication errors: cause and prevention. Philadelphia, USA. 1981. 8. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ. แนวทางการตรวจสอบ คุ ณ ภาพการให ร หั ส โรคและเวชระเบี ย น (Coding and Medical Record Audit Guideline). ตุลาคม 2547. 9. โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา. รายงานผลการประเมินคุณภาพ เวชระเบี ย น พ.ศ. 2547, 2548, 2549, 2550. (ข อ มู ล ไม ตีพิมพ)

Original Article

The Effectiveness of New Doctor’s Order Sheet Copy Form for In-patient Pharmacy Service Tanee Attavinijtrakarn* Pharmaceutical Department, Paholpolpayuhasena Hospital, Kanchanaburi, Thailand * Correspondence: [email protected]

ABSTRACT Daily-dose drug distribution system was established in in-patient pharmacy service, Paholpolpayuhasena hospital since 1998. Such distribution system resulted in a cost-saving for inventory management. Unfortunately, transcribing error remained a troublesome problem. The objective of this action research was to lessen transcribing errors by means of implementing the copy of doctor’s order sheet. A new form of doctor’s order sheet with self-copied carbon paper was developed and tried since 2005. This new practice resulted in substantial reduced rates of pre-dispensing errors from 14% – 17% in the year 2004 to 0.92%, 0.87% and 0.15% in 2005, 2006 and 2007 respectively. Later on, doctor’s progress note was also added into this copied form. Progress note completion in medical record was audited, and numbers of acceptable progress note had been increased dramatically to 60.00%, 72.86% and 81.67% in 2005, 2006 and 2007 respectively. Thai Pharm Health Sci J 2008;3(1):103-108§ §

12th year of Srinakharinwirot Journal of Pharmaceutical Science

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008

107

ภาคผนวก

108

Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, Vol. 3 No. 1, Jan. – Apr. 2008