คู่มือ - .:: 21st Century Skills Toolkit

4 สำรบัญตำรำง หนoำ ตารางที่ 1 ตารางแสดงกรอบแนวคิดโครงสร้าง...

7 downloads 1591 Views 4MB Size
คูม่ ือ

1

2

คำนำ ด้วยความเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว รุนแรง ของโลกในปจั จุบนั นิสยั ใฝเ่ รียนรูจ้ งึ เป็ นสิง่ ทีส่ าคัญ มากต่อการรับมือกับต่อภาวะการแข่งขันทัง้ ทางด้านสังคม เศษฐกิจ และ เทคโนโลยี ทาให้การศึกษา ไม่ได้เป็ นไปแค่การเรียนรูใ้ นห้องเรียน เพื่อศึกษาหาความรูจ้ ากตารา เพราะความรูไ้ ม่สามารถเรียนรูไ้ ด้ หมดในห้องเรียน เพราะความรู้มมี ากมายมหาศาสเกินกว่าที่มนุ ษ ย์จะเรียนรู้กัน ได้ห มด ต่ อวิธกี าร เรียนรูต้ ่างหากทีจ่ ะสามารถนาไปพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและช่วยผูอ้ ่นื ต่อไป ในศตวรรษที่ 21 ประเทศไทยจาเป็ นต้องค้นหายุทธศาสตร์ใหม่ในการพัฒนาระบบการศึกษา ดังที่ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า "การศึกษาทีถ่ ูกต้องสาหรับศตวรรษใหม่ ต้อ งเรียนให้บรรลุ ทักษะ คือทาได้ต้องเรียนเลย จากรูว้ ชิ าไปสู่ทกั ษะในการใช้วชิ าเพือ่ การดารงชีวติ ในโลกแห่งความเป็ น จริง การเรียนจึงต้องเน้นเรียนโดยการลงมือทา หรือการฝึกฝนนัน่ เอง และคนเราต้องฝึกฝนทักษะต่างๆ ทีจ่ าเป็ นตลอดชีวติ ”เครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็ นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับ การเรียนรูร้ ่วมกันของทัง้ ผู้บริหารการศึกษาครูและผู้เรียนบนฐานคิด “กระบวนการเรียนรูส้ าคัญ กว่า ความรู”้ และ“กระบวนการหาคาตอบสาคัญกว่าคาตอบ”โดยใช้ฐานคิด“ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) เพื่อ รองรับ ความท้าทายและการเปลี่ย นแปลงต่ างๆที่จะเกิด ขึ้น กับ ประเทศไทยใน ศตวรรษที่ 21 การยกระดับผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาและส่งเสริมการผลิตกาลังคนทีม่ ขี ดี ความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีเศรษฐกิจโลกในศตวรรษที่ 21 โดยอยู่บนพืน้ ฐานความเป็ นไทยและฐานคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เข้าใจตัวตนความเป็ นไทยอย่างเข้มแข็งก่อนเข้าสู่เวทีประชาคมอาเซียนอย่าง ยังยื ่ น ดังนัน้ การสร้างเครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จึงได้ถูกสร้างขึน้ ผ่านฐานปรัชฐญา ความคิดและกระบวนการทางการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องเด็กไทยให้บรรลุ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) ที่เน้ นทักษะการใช้ชวี ติ และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ซึ่งจะมีครูมบี ทบาทหน้ าที่ เป็นผูแ้ นะนาและทาโครงการการเรียนรูร้ ่วมกันกับเด็กซึง่ เด็กจะได้ทงั ้ ความสนุ กสนานและแนวทาง การ คิดและสร้างองค์ความรูร้ ว่ มทัง้ นวัตกรรมต่าง ๆ จากความคิดทีเ่ ปิดกว้างจากครูทเ่ี ป็ นผูเ้ ปิดโลกทัศน์นนั ้ ให้เด็ก เพราะเครื่องมือเป็ นเพียงตัวช่วยนาทางให้ครูเท่านัน้ แต่ “ความสาเร็จในการเรียนรู้ ไม่ได้อยู่ท่ี เครือ่ งมือ หากอยูท่ ก่ี ารเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้สร้างสรรค์องค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง”

คณะผูว้ จิ ยั เครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

3

สำรบัญ หน้ ำ คำนำ ความเป็ นมาของโครงการ…………………………………………………………………

6

วัตถุประสงค์ของการศึกษา…..………………..………………………………………….

8

แผนการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่21ของเด็กและเยาวชนไทย เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน.......................……………………………… 28 คาถามชวนถก-อภิปราย………………………………………..…………………………… 112 Matrix สาหรับการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตาม กรอบโครงสร้างในโครงการวิจยั นี้…………………………………………………………… 113

บรรณำนุกรม

4

สำรบัญตำรำง หน้ ำ ตารางที่ 1 ตารางแสดงกรอบแนวคิดโครงสร้างหลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21……..………..……..………… ตารางที่ 2 ตารางแสดงรายละเอียดคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทย ในศตวรรษที่ 21……………………………….………………………………………… ตารางที่ 3 เปรียบเทียบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอน ขอล สพฐ. กับ 8 ขัน้ ตอนการจัดการ จัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21………………………………………………………… ตารางที่ 4 ตารางแสดงบทบาทครู ......................................................................................... ตารางที่ 5 ตัวอย่างการตัง้ คาถามของครู…………………………………………………………. ตารางที่ 6 แนวคาถามและแนวคาตอบสาหรับครู………………….……………………………. ตารางที่ 7 ตารางสารวจชุมชน…………………………………………………………………... ตารางที่ 8 ตารางแบบสอบถามเพื่อหาคาตอบของนักเรียน……………………………….......... ตารางที่ 9 ตารางการคิดวิเคราะห์และต่อยอดองค์ความรู้.………………………………............ ตารางที่ 10 ตารางสรุปความคิดของตนเอง………….…………………………......................... ตารางที่ 11 ตารางบันทึกการระดมความคิดของกลุ่ม……………………….............................. ตารางที่ 12 ตารางบันทึกสาระการเรียนรูก้ บั มาตรฐานการเรียนรู้………………...................... ตารางที่ 13 ตารางบันทึกการจัดการเรียนรู… ้ ………….……………………….……................. ตารางที่ 14 ตารางบันทึกสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูแ้ ละการต่อยอดองค์ความรู้……………………………...

9 15 29 31 36 53 57 58 60 61 62 64 66 111

5

สำรบัญรูปภำพ

ภาพที่ 1 แผนภาพบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21……………………………..……..…………… ภาพที่ 2 กระบวนการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยาวชน ในศตวรรษที่ 21……………………………..…….……………………………… ภาพที่ 3 กระเป๋าชุดเครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ………………………… ภาพที่ 4 หน้าจอแสดงหนังสืออิเล็คทรอนิค ………………………………………………… ภาพที่ 5 หน้าจอแสดงe-Learning ………..………………………………………………… ภาพที่ 6 หน้าจอแสดงตัวอย่างการทดลองทางวิทยาศาสตร์ …………………………….… ภาพที่ 7 หน้าจอแสดงคลังข้อสอบ ……………………………….……………………….… ภาพที่ 8 หน้าจอแสดงโปรแกรมสแคลช ……………………………………………….…… ภาพที่ 9 หน้าจอแสดงโปรแกรมฟรีมายด์ ………………………………………………..… ภาพที่ 10 ภาพข้อความเป้าหมายของเครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21……… ภาพที่ 11 รูปแบบการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ……………………………………… ภาพที่ 12 ตัวอย่างแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียนหลังการระดมความคิด .......................... ภาพที่ 13 ตัวอย่างแผนผังมโนภาพของครูในการเชื่อมโยง คาถามกับเนื้อหาและโครงสร้างหลักสูตร …………………………………..……… ภาพที่ 14 นักเรียนวาดภาพการทานาของชุมชน ……………………………………………. ภาพที่ 15 การเขียนแผนภาพมโนทัศน์เรือ่ งทีน่ กั เรียนสนใจ………………..……………… ภาพที่ 16 แผนภาพมโนทัศน์การบูรณาการเนื้อหาวิชากับสิง่ ทีน่ กั เรียนสนใจ……………… ภาพที่ 17 การประเมินตนเองของนักเรียน ……………………………………………………

หน้ ำ 14 21 22 24 25 25 26 26 27 27 30 43 56 59 61 63 110

6

บทนำ หลักกำรและเหตุผล ในปี 2546 ผู้นาประเทศในสมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) หรือ อาเซีย นเล็ ง เห็ น ว่ า การรวมตัว เป็ น ประชาคมอาเซีย น (ASEAN Community: AC) จะสามารถเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความสามารถในการแข่งขันของ ภูม ิภาคต่ อ ประชาคมโลกได้ จึงได้ม ีดาริท่จี ะรวมตัว กัน ก่ อ ตัง้ เป็ นประชาคมอาเซียน และมีกฎบัต ร อาเซีย น (ASEAN charter) และกรอบข้อ ตกลงอาเซีย น (ASEAN Blueprint) เป็ น แนวทางในการ ร่ว มกัน พัฒ นาภายในปี 2558 โดยประชาคมอาเซีย นประกอบด้ว ย 3 เสาหลัก ได้แ ก่ ประชาคม การเมืองและความมันคงอาเซี ่ ยน (ASEAN Political and Security Community – APSC) ที่มุ่งเน้ น ความมันคงของภู ่ มภิ าคให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปญั หาขัดแย้งได้อย่างสันติวธิ ี เข้าใจในสังคม วัฒ นธรรม และประวัติ ศ าสตร์ ท่ี แ ตกต่ า ง ,ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community – AEC) ซึ่งมุ่ งเน้ น การผลิต และการมีต ลาดการค้าและบริก าร การลงทุ น เงิน ทุ น และ แรงงานทีม่ คี วามสามารถในการทางาน สามารถสร้างตลาดทีม่ คี วามสามารถในการแข่งขันกับภูมภิ าค อื่น และประชาคมสังคมและวัฒ นธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) ที่มุ่งหวังให้ อาเซียนที่ม ีป ระชาคมเป็ น ศู น ย์ก ลาง เอื้อ อาทรและแบ่ งป นั ยกระดับ คุ ณ ภาพชีว ิต ส่ ง เสริม การใช้ ทรัพยากรอย่างยังยื ่ น และส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียน เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมอาเซียนเต็มรูปแบบในปี 2558 ประเทศต่างๆจึงมุ่งเน้ นในเรื่อง ของการพัฒ นาคนเป็ น ประเด็น ส าคัญ การศึก ษาจึงถู ก จัด ให้เป็ น แกนและเครื่อ งมือ ส าคัญ ในการ ดาเนินการพัฒนา แต่สถานการณ์ทผ่ี ่านมาชีใ้ ห้เห็นว่าระบบการศึกษาไทยอยู่ในขัน้ วิกฤติดา้ นคุณภาพ ของผูเ้ รียน โดยในรอบสิบปี ทผ่ี ่านมาคุณภาพของระบบการศึกษาไทยและความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศมีแนวโน้มตกต่ าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ อาทิเช่น IMD World Competitiveness Yearbook 2012 พบว่า ความสามารถแข่งขันของไทยในภาพรวมลดลงเป็ นอันดับที่ 30 และอันดับด้านการศึกษาก็ลดลงเป็ นอันดับที่ 52 จากทัง้ หมด 59 ประเทศ โดยพบว่าการศึกษาเป็ น ตัว ฉุ ดความสามารถสถาบัน (คณะกรรมการร่ว มภาคเอกชน 3,2554:Online)ส่ ว น World Economic Forum (WEF) 2012 ลดอันดับประเทศไทยด้านคุณภาพระบบการศึกษาลง 11 อันดับ โดยอยู่ลาดับที่ 77 จาก 142 ประเทศ นอกจากนัน้ ผลการศึกษาของธนาคารโลก (2012) บ่งชี้ว่าประเทศไทยต้องเร่ง พัฒ นามาตรฐานแรงงานเพื่อ ขับเคลื่อ นเศรษฐกิจ บนฐานความรู้และนวัตกรรมดรรชนีเศรษฐกิจบน ฐานความรู้ (Knowledge Economy Index: KEI) ของไทยปรับตัวลดลงในช่วง 10 ปีทผ่ี ่านมาจากอันดับ ที่ 54 (ปี 2543) เป็ น อัน ดับ 63 (ในปี 2552) จากทัง้ หมด 132 ประเทศสาเหตุ ห ลัก มาจากป จั จัย การศึก ษาและเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร(คณะกรรมการพัฒ นาขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ, 2554:Online). ดังผลการศึกษาทัง้ จาก IMD, WEF และ World Bank

7

อย่างไรก็ดดี ้วยสภาวะที่งบประมาณด้านการศึกษาใกล้ “ชนเพดาน” และปริมาณข้อ มูลและ ความรู้จานวนมหาศาลที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในป จั จุบนั ประเทศไทยจาเป็ นต้อ งค้นหา ยุทธศาสตร์ใหม่ในการพัฒ นาระบบการศึกษาดังที่ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า "การศึกษาที ่ ถูกต้องสาหรับศตวรรษใหม่ ต้องเรียนให้บรรลุทกั ษะ คือทาได้ต้องเรียนเลย จากรูว้ ชิ าไปสู่ทกั ษะในการ ใช้วชิ าเพือ่ การดารงชีวติ ในโลกแห่งความเป็ นจริง การเรียนจึงต้องเน้นเรียนโดยการลงมือทา หรือการ ฝึกฝนนันเอง ่ และคนเราต้องฝึกฝนทักษะต่างๆ ทีจ่ าเป็นตลอดชีวติ ”(วิจารณ์ พานิช,2555:Online) ดังนัน้ การจัดการเรียนรูท้ จ่ี ะช่วยพัฒนาการศึกษาของไทยในศตวรรษใหม่น้ี ต้องมีเป้าหมายใน การปรับ เปลี่ย นการเรีย นการสอนไปสู่ ก ระบวนการเรีย นรู้ร่ว มกัน ของทัง้ ครูแ ละผู้เ รีย นที่มุ่ งเน้ น “กระบวนการเรียนรูส้ าคัญกว่าความรู”้ และ “กระบวนการหาคาตอบสาคัญกว่าคาตอบ” โดยใช้ฐานคิด “ทัก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) ที่พ ัฒ นาโดยองค์กรภาคีเพื่อ ทัก ษะแห่ งศตวรรษที่ 21(Partnership for 21st Skills: P21.org) ซึง่ ประกอบด้วย 3 ทักษะ สาคัญได้แก่ 1. ทักษะกำรเรียนรู้และนวัตกรรม มุง่ เน้นให้เกิดความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ และแก้ปญั หาการสื่อสาร การสร้างความร่วมมือ การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2. ทักษะชี วิตและกำรประกอบอำชี พ มุ่งเน้ นให้มคี วามสามารถในการยืดหยุ่นและ ปรับตัวมีเป้าหมายของชีวติ และความมุ่งมัน่ เข้าใจสังคมและยอมรับความแตกต่ างทางวัฒนธรรมมี ศักยภาพการผลิต และยอมรับการตรวจสอบมีความเป็นผูน้ าและมีความรับผิดชอบ 3.ทักษะด้ำนข้อมูลข่ำวสำร กำรสื่อสำร เทคโนโลยี มุง่ เน้นให้มคี วามสามารถใน การเข้าถึงสารสนเทศและสื่อต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถจัดการ เชื่อมโยง ประเมินและสร้าง สารสนเทศ รวมถึงการประยุกต์ใช้เรือ่ งจริยธรรมและกฎหมายกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ ด้วยเหตุน้ีเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็ นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับ การเรียนรูร้ ่วมกันของทัง้ ผู้บริหารการศึกษา ครูและผู้เรียนบนฐานคิด “กระบวนการเรียนรูส้ าคัญกว่า ความรู้” และ “กระบวนการหาคาตอบสาคัญ กว่าค าตอบ” โดยใช้ฐานคิด “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) เพื่อรองรับความท้าทายและการเปลีย่ นแปลงต่างๆทีจ่ ะเกิดขึน้ กับประเทศไทยใน ศตวรรษที่ 21 โดยมีโจทย์ทม่ี คี วามเร่งด่วนอย่างการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ใน ปี 2558 เป็ น เป้ าหมายแรกในการทดสอบศัก ยภาพของฐานคิด และยุ ท ธศาสตร์ก ารใช้ ท ัก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21ดังกล่าวในการยกระดับผลสัมฤทธิ ์ทางการศึก ษาและส่งเสริมการผลิตกาลังคนที่มขี ดี ความสามารถในการแข่งขันในเวทีเศรษฐกิจโลกในศตวรรษที่ 21 โดยอยู่บนพืน้ ฐานความเป็ นไทยและ ฐานคิด ปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพีย ง เพื่อ ให้เข้า ใจตัว ตนความเป็ น ไทยอย่า งเข้ม แข็งก่ อ นเข้าสู่ เวที ประชาคมอาเซียนอย่างยังยื ่ น

8

วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ เพื่อ ส่ งเสริม การพัฒ นาเครื่อ งมือ สนับ สนุ นการท างานของครูและโรงเรียน ในการออกแบบ แผนการเรียนรู้เพื่อ เสริมสร้างทัก ษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 สาหรับเด็กและเยาวชนไทยเพื่อ เตรียมความพร้อมสู่การเป็ นพลเมืองที่มคี ุณ ภาพของประชาคมอาเซียน ซึ่งสอดคล้องกับบริบทและ หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการและผูเ้ รียนก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนรูใ้ นอนาคตโดย แบ่งออกเป็นวัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้ 1.1.1 สังเคราะห์ชุดความรู้หลักสูต รASEAN Curriculum Sourcebook (ACS)ซึ่งจัดทาโดย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อสนับสนุ นการพัฒนาเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 12ของเด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 1.1.2 เสนอกรอบแนวคิด การพัฒ นาทัก ษะการเรีย นรู้แ ห่ งศตวรรษที่ 1 2ส าหรับ เด็ก และ เยาวชน ไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8กลุ่มสาระของกระทรวงศึกษาธิการ 1.1.3 พัฒ นาเครื่อ งมือ ครูเพื่อ สนับ สนุ น การจัดกิจกรรมการเรีย นรู้ท่ีเสริม สร้างทัก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 12ของเด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 1.1.4 พัฒนากลยุทธ์การบริหารวิชาการในสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21ของเด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน จะเห็นได้ว่าความซับซ้อนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของปญั หาต่างๆ ทาให้ตอ้ งทุ่มเทมากยิง่ ขึน้ เพื่อเตรียม นักเรียนให้เป็ นนักแก้ปญั หาต้องจัดหายุทธศาสตร์ทช่ี ่วยนักเรียนรับมือกับปญั หาการเรียนรูจ้ ากปญั หา (Problem-based learning หรือ PBL) คือ หนึ่งในยุทธศาสตร์นนั ้ หลังจากได้ตารางเปรียบเทียบกรอบแนวคิด ASEAN Curriculum Sourcebook (United States Agency for International Development, 2012)ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (Bellanca and Brandt, 2010) และหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปี 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) แล้วจึงได้นามาสร้างเป็นกรอบแนวคิดโครงสร้าง หลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21โดยยึดหลักการ ตามแผนการศึกษาชาติทเ่ี น้นการพัฒนาทีร่ อบด้าน ทัง้ ด้านร่างกาย สติปญั ญา จิตใจ และการประกอบ อาชีพ ทีส่ งั เคราะห์รว่ มกับกรณีตวั อย่างการนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ไปบูรณาการในชัน้ เรียนได้ ข้อสรุปตามตารางต่อไปนี้

ตำรำงที่ 1 ตารางแสดงกรอบแนวคิดโครงสร้างหลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของ เด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 ช่วงชัน้ ป.1-3

ทักษะชีวิต 1. การคิดวิพากษ์และการแก้ปญั หา 1.1 สามารถวิพากษ์และแก้ปญั หาง่ายๆ ได้ 2. การสือ่ สารและทางานเป็ นทีม 2.1 สามารถแสดงความคิดเห็น และ ยอมรับความคิดเห็นของเพื่อนร่วม งาน ได้ 2.2 รูจ้ กั แบ่งหน้าทีแ่ ละทางานทีไ่ ด้ รับ มอบหมาย 3. ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3.1 สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อแก้ปญั หา ในชีวติ ประจาวัน

1.

2. 3. 4.

ทักษะอำชีพ หัตถกรรมและคหกรรม เย็บปกั ถักร้อย งานสาน เกษตรกรรมเลีย้ งสัตว์ ผูป้ ระกอบการ ค้าขาย เศรษฐกิจพอเพียง

องค์ควำมรู้ 1. สมรรถนะด้านสารสนเทศ 2. การอ่าน-เขียน 3. คิด-คานวณ 4. การคิดตรรกะพืน้ ฐาน วิทย์, คณิต, เทคโนโลยี 5. พลเมืองทีด่ ี 6. ด้านสุขภาพ

9

กระบวนกำรเรียนรูเ้ พื่อพัฒนำร่ำงกำยและจิ ตใจ 1. ภูมใิ จในความเป็ นไทย- อาเซียน 1.1 ภูมใิ จในการแต่งกายเป็ นไทย-อาเซียน 1.2 รูจ้ กั ประเพณีไทยในชีวติ ประจาวัน-อาเซียน (อาหาร, การละเล่น, เทศกาลวันสาคัญ) 2. เคารพความคิดทีแ่ ตกต่าง 2.1 เข้าใจความคิดทีแ่ ตกต่างของเพื่อนร่วมชัน้ เรียน 3. ฝึกฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ 3.1 ส่งการบ้าน (ส่งงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้) 4. จริยธรรม (มีน้าใจ, ความซื่อสัตย์, ขยัน, ประหยัด, มีวนิ ยั , สามัคคี สุภาพ, อดทน อดกลัน้ ) 5. สุนทรีย 6. ลงมือทาเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 6.1 ต้องสร้างงานต่างๆเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 7. มีจติ วิจารณญาณเบือ้ งต้น 8. ความเสมอภาค 9. ความยุตธิ รรม 10. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและมีความสุข

10

ช่วงชัน้ ทักษะชีวิต ป. 4-6 1. คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม 1.1 เพื่อประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน (มาจากการคิดทีอ่ ยู่ในสิง่ แวดล้อมนัน้ ๆ เช่น เรือถีบ ประปาใต้ดนิ ) 2. คิดวิพากษ์และการแก้ปญั หา 3. การสือ่ สารและทางานเป็ นทีม ใช้ภาษาอังกฤษ 4. ความยืดหยุ่นและสามารถปรับตัวได้ 5. ทักษะด้านสังคมและทักษะข้าม วัฒนธรรม(รูแ้ ละเข้าใจความแตกต่างของ วัฒนธรรมทีห่ ลากหลายและปฏิบตั ิ ตน ได้อย่างเหมาะสม)

1.

2.

3. 4. 5.

6. 7. 8. 9.

ทักษะอำชีพ หัตถกรรมและคหกรรม (แกะสลัก, ตัดเย็บ, ทอผ้า, บาติกอย่างง่าย) เทคโนโลยีสามารถใช้ โปรแกรมในการออกแบบ งานได้ เกษตรกรรม (ขยายพันธุ์ พืชเลีย้ งสัตว์) งานช่าง (งานไม้, งาน ก่อสร้างเบือ้ งต้น) สถาปตั ยกรรม และการ ออกแบบออกแบบของใช้ใน ชีวติ ประจาวัน วิศวกรรมต่อวงจรไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย ผูป้ ระกอบการ งานบริการธุรกิจท่องเทีย่ ว มัคคุเทศก์ผชู้ ่วย (ลูกมือ) เศรษฐกิจพอเพียง

องค์ควำมรู้ วิชาการ 1. ประวัตศิ าสตร์, ภูมศิ าสตร์, พลเมืองดี, เศรษฐศาสตร์ 2. การใช้ภาษา 3. คณิตศาสตร์ (การนาไปใช้) 4. สุขภาพ

กระบวนกำรเรียนรูเ้ พื่อพัฒนำร่ำงกำยและจิ ตใจ 1.ภูมใิ จในความเป็ นไทย- อาเซียน 1.1 ภูมใิ จในการแต่งกายเป็ นไทย-อาเซียน 1.2 รูจ้ กั ประเพณีไทยในชีวติ ประจาวัน-อาเซียน (อาหาร, การละเล่น, เทศกาลวันสาคัญ) 2.เคารพความคิดทีแ่ ตกต่าง 2.1 เข้าใจความคิดทีแ่ ตกต่างของผูค้ นและสังคม ใน อาเซียน 3.ฝึกฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ 3.1 ส่งการบ้าน (ส่งงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้) 4.จริยธรรม มีน้าใจ, ความซื่อสัตย์, ขยัน, ประหยัด, มีวนิ ยั , สามัคคี, สุภาพ, อดทน 5. สุนทรีย 6.ลงมือทาเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 6.1 ต้องสร้างงานต่างๆเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 7.มีจติ วิจารณญาณทีส่ ามารถแยกแยะสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดี เพื่อ นาไปใช้ได้ 8. ความเสมอภาค 9. ความยุตธิ รรม 10. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและมีความสุข

11

ช่วงชัน้ ทักษะชีวิต ม. 1-3 1. คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม 1.1 เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 2. คิดวิพากษ์และการแก้ปญั หา 2.1 คิดวิพากษ์และแก้ปญั หาของตนเอง และสังคมทีม่ คี วามหลากหลายได้ 3. การสือ่ สารและทางานเป็ นทีม โดยใช้ภาษาต่างประเทศและอาเซียน ตลอดจนสามารถทางานร่วมกับผูค้ นใน อาเซียนได้ 4. ความยืดหยุ่นและสามารถปรับตัวได้ กับ ทุกสิง่ แวดล้อม 5.ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม (ยอมรับความแตกต่างและอยู่ร่วมกันได้ สันติ สุข)

ทักษะอำชีพ 1. หัตถกรรมและคหกรรม ตัดเย็บ, ทอผ้า, บาติก 2. เทคโนโลยี (สร้างสรรค์ ชิน้ งานและใช้ โปรแกรม มัลติมเี ดียได้) 3. เกษตรกรรม (ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทางการเกษตร) 4. งานช่าง 5. สถาปตั ยกรรมและการ ออกแบบ 6. วิศวกรรม 7.ผูป้ ระกอบการ 8. งานบริการ 9. ข้าราชการและพนักงาน ** เน้นทักษะการสือ่ สารทีเ่ ป็ น ทางการได้อย่างคล่องแคล่วและ ทักษะสานักงาน 10. เศรษฐกิจพอเพียง

องค์ควำมรู้ วิชาการ 1. ประวัตศิ าสตร์, ภูมศิ าสตร์, พลเมืองดี, เศรษฐศาสตร์ 2. การใช้ภาษา (ภาษาอาเซียน 3 ภาษา) 3. คณิตศาสตร์ (การนาไปใช้) 4. สุขภาพ

กระบวนกำรเรียนรูเ้ พื่อพัฒนำร่ำงกำยและจิ ตใจ 1.ภูมใิ จในความเป็ นไทย- อาเซียน 1.1 ภูมใิ จในการแต่งกายเป็ นไทย-อาเซียน 1.2 รูจ้ กั ประเพณีไทยในชีวติ ประจาวัน-อาเซียน (อาหาร,การละเล่น,เทศกาลวันสาคัญของอาเซียน) 2.เคารพความคิดทีแ่ ตกต่าง 2.1 เข้าใจความคิดทีแ่ ตกต่างของผูค้ นและสังคม ใน อาเซียน 3.ฝึกฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ 3.1 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื 3.2 การใช้สนุ ทรีภาพเพื่อพัฒนาร่างกายและจิตใจ 4.จริยธรรม มีน้าใจ, ความซื่อสัตย์, ขยัน, ประหยัด, มีวนิ ยั , สามัคคี, สุภาพ, อดทน 5. สุนทรียะ 6.ลงมือทาเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 6.1 ต้องสร้างงานต่างๆเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 7.มีจติ วิจารณญาณทีส่ ามารถแยกแยะสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดี เพื่อ นาไปใช้ได้ 8. ความเสมอภาค 9. ความยุตธิ รรม 10. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและมีความสุข

12

ช่วงชัน้ ทักษะชีวิต ม. 4-6 1. คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อประโยชน์ต่อสังคมตลอดจนประเทศชาติ และภูมภิ าคอาเซียน 2. คิดวิพากษ์และการแก้ปญั หา คิดวิพากษ์และแก้ปญั หาของสังคมและ อาเซียนได้ 3. การสือ่ สารและทางานเป็ นทีมโดยใช้ ภาษาต่างประเทศและอาเซียนตลอดจน ภาษาในภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์ได้ 4. ความยืดหยุ่นและสามารถปรับตัวกับ ภูมภิ าคและผูค้ นในอาเซียนได้ 5.ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม ในภูมภิ าคอาเซียนและนอกเหนือจากอาเซียน ได้

ทักษะอำชีพ 1. หัตถกรรมและคหกรรม ตัดเย็บ, ทอผ้า, บาติก 2.เทคโนโลยี (สร้างสรรค์ชน้ิ งานและใช้ โปรแกรมมัลติมเี ดียในระดับที่ ยากขึน้ ได้) 3. เกษตรกรรม (ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทางการเกษตรทีย่ ากขึน้ ) 4. งานช่าง 5. สถาปตั ยกรรม และการ ออกแบบ 6. วิศวกรรม 7.ผูป้ ระกอบการ 8. งานบริการ 9. ข้าราชการและพนักงาน ** เน้นทักษะการสือ่ สารทีเ่ ป็ น ทางการได้อย่างคล่องแคล่วและ ทักษะสานักงาน 10. เศรษฐกิจพอเพียง

องค์ควำมรู้ วิชาการ 1. ประวัตศิ าสตร์, ภูมศิ าสตร์, พลเมืองดี, เศรษฐศาสตร์ 2. การใช้ภาษา (ภาษาอาเซียน 3 ภาษา) 3. คณิตศาสตร์ (การนาไปใช้ และการคิดประยุกต์ใช้) 4. สุขภาพและจิตวิทยา

กระบวนกำรเรียนรูเ้ พื่อพัฒนำร่ำงกำยและจิ ตใจ 1.ภูมใิ จในความเป็ นไทย- อาเซียน 1.1 ภูมใิ จในการแต่งกายเป็ นไทย-อาเซียน 1.2 รูจ้ กั ประเพณีไทยในชีวติ ประจาวัน-อาเซียน อาหาร ของอาเซียน การละเล่น ของอาเซียน เทศกาลวันสาคัญ ของอาเซียน 2.เคารพความคิดทีแ่ ตกต่าง 2.1 เข้าใจความคิดทีแ่ ตกต่างของผูค้ นและสังคม ใน อาเซียนและโลก 3.ฝึกฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ 3.1 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื 4.จริยธรรม มีน้าใจ, ความซื่อสัตย์, ขยัน, ประหยัด, มีวนิ ยั , สามัคคี, สุภาพ, อดทน 5. สุนทรีย 6.ลงมือทาเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 6.1 ต้องสร้างงานต่างๆเพื่อนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง 7.มีจติ วิจารณญาณทีส่ ามารถแยกแยะสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดี เพื่อ นาไปใช้ได้ 8. ความเสมอภาค 9. ความยุตธิ รรม 10. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติและมีความสุข

13

หลังจากนัน้ จึงมาระบุคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของเด็กในแต่ละช่วงชัน้ โดยต้องพิจารณาร่วมกับ ทฤษฎีพฒ ั นาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์(ทิศนา แขมมณี, 2555) ซึง่ สามารถสรุปสาระสาคัญของเด็ก ในแต่ละช่วงวัยได้ดงั นี้ 1. เด็ก แรกเกิดถึง 2 ปี อยู่ในขัน้ การพัฒ นาประสาทรับรูแ้ ละการเคลื่อนไหว(Sensori-Motor Stage) เด็กจะพัฒนาการเคลื่อนไหวเป็ นสาคัญ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู เด็ก สามารถแก้ปญั หาได้แบบลองผิดลองถูก แต่ไม่สามารถอธิบายออกมาเป็ นคาพูด เด็กต้องมีปฏิสมั พันธ์ กับสิง่ แวดล้อมด้วยตนเอง ซึง่ สาคัญต่อพัฒนาการด้านสติปญั ญาและความคิด เด็กจะฝึ กการประสานงาน ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับสายตา และเรียนรูจ้ ากการทาซ้าและเลียนแบบ 2. เด็กอายุ 2-7 ปี อยู่ในขัน้ ก่อนปฏิบตั กิ ารคิด (Preoperational Stage) แบ่งออกเป็ นสองขัน้ ย่อย คือ  ขัน้ ก่อนเกิดสังกัป(Preconceptual Stage) เป็ นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็ นขัน้ ทีเ่ ด็กเริม่ มีเหตุผลเบือ้ งต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามา เป็ นเหตุ ผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่ เหตุ ผ ลของเด็กวัยนี้ยงั มีขอบเขตจากัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึด ตนเองเป็ นศูนย์ก ลาง คือ ถือความคิดตนเองเป็ นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุ ผ ลของผู้อ่นื ความคิดและ เหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็ นจริงนั ก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิง่ ต่างๆ ยังคงอยู่ ในระดับเบื้อ งต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือ นกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่า ความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยงั ไม่พฒ ั นาเต็มที่ แต่พฒ ั นาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก  ขัน้ การคิดแบบญาณหยังรู ่ ้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุ ผ ล)Intuitive Thought) เป็ นขัน้ พัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขัน้ นี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกีย่ วกับสิง่ ต่างๆ รวมตัวดีขน้ึ รูจ้ กั แยก ประเภทและแยกชิน้ ส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจานวนเลข เริม่ มีพฒ ั นาการเกีย่ วกับการอนุ รกั ษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปญั หาเฉพาะหน้ าได้โดยไม่คดิ เตรียมล่วงหน้ าไว้ก่อน รูจ้ กั นาความรูใ้ นสิง่ หนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปญั หาอื่นและสามารถนาเหตุผลทัวๆ ่ ไปมาสรุปแก้ปญั หา โดยไม่วเิ คราะห์อย่างถี่ ถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผลของเด็กยังขึน้ อยูก่ บั สิง่ ทีต่ นรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก 3. ขัน้ ปฏิบตั ิการคิดด้านรูปธรรม(Concrete Operation Stage) ขัน้ นี้จะเริม่ จากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปญั ญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตัง้ เกณฑ์ในการแบ่ง สิง่ แวดล้อมออกเป็ นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รูจ้ กั การแก้ปญั หาสิง่ ต่างๆ ที่เป็ น รูปธรรมได้ สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิง่ ต่างๆ โดยที่เด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือ ของเหลวจานวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยนรูปร่างไปก็ยงั มีน้ าหนัก หรือปริมาตรเท่าเดิม สามารถที่จะเข้าใจ ความสัมพันธ์ของส่วนย่อ ย ส่วนรวม ลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คอื ความสามารถในการคิดย้อ นกลับ นอกจากนัน้ ความสามารถในการจาของเด็กในช่วงนี้มปี ระสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้ อย่างสมบูรณ์ สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผูอ้ ่นื ได้ดี

14

4.

ขัน้ ปฏิบตั กิ ารคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริม่ จากอายุ 11-15 ปี ในขัน้ นี้พฒ ั นาการทางสติปญั ญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็ นขัน้ สุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริม่ คิดแบบ ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุ ผลนอกเหนือไปจากข้อ มูลที่มอี ยู่ สามารถที่จะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถที่จะตัง้ สมมุตฐิ านและทฤษฎี และเห็นว่าความเป็ นจริงที่ เห็นด้วยการรับรูท้ ส่ี าคัญเท่ากับความคิดกับสิง่ ทีอ่ าจจะเป็นไปได้ เด็กวัยนี้มคี วามคิดนอกเหนือไปกว่าสิง่ ปจั จุบนั สนใจทีจ่ ะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับทุกสิง่ ทุกอย่างและมีความพอใจทีจ่ ะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิง่ ทีไ่ ม่ม ี ตัวตน หรือสิง่ ที่เป็ นนามธรรมพัฒนาการทางการรูค้ ดิ ของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี แรกของชีวติ ซึ่งเพียเจต์ ได้ศกึ ษาไว้เป็ นประสบการณ์ สาคัญที่เด็กควรได้รบั การส่งเสริม มี 6 ขัน้ ได้แก่ (1) ขัน้ ความรูแ้ ตกต่าง (Absolute Differences) เด็ก เริ่ม รับ รู้ใ นความแตกต่ า งของสิ่ง ของที่ม องเห็น (2)ขัน้ รู้ส ิ่งตรงกัน ข้า ม (Opposition) ขัน้ นี้เด็กรูว้ ่าของต่างๆ มีลกั ษณะตรงกันข้ามเป็ น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่ม ี ใหญ่-เล็ก (3) ขัน้ รู้ หลายระดับ( Discrete Degree) เด็กเริม่ รูจ้ กั คิดสิง่ ทีเ่ กี่ยวกับลักษณะทีอ่ ยู่ตรงกลางระหว่างปลายสุดสอง ปลาย เช่น ปานกลาง น้อย (4) ขัน้ ความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อ ง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่ างๆ เช่น บอกถึงความเจริญ เติบโตของต้น ไม้ (5) ขัน้ รู้ผ ลของการกระท า (Function) ในขัน้ นี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง (6) ขัน้ การทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรูว้ ่าการกระทาให้ของสิง่ หนึ่งเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิง่ หนึ่งอย่าง ทัดเทียมกัน จากการศึกษาวิจยั กรอบแนวคิดเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 จากASEAN Curriculum Sourcebook (UnitedStatesAgencyforInternationalDevelopment, 2012) ทักษะแห่ ง ศตวรรษที่ 12 (BellancaandBrandt, 1020) หลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2544 หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จิตแห่งอนาคต (Gardner, 1008) และทฤษฎี พัฒนาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์ (ทิศนาแขมมณี, 2555) สามารถนาเสนอออกมาเป็ นแผนภาพ บุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ได้ดงั นี้

ภำพที่ 1 แผนภาพบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21

15

ตำรำงที่ 2 แสดงรายละเอียดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 ช่วงชัน้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยำวชนไทยแห่งศตวรรษที่ 21 ประถมศึกษาปีท่ี 1-3  แยกแยะเรือ่ งราวและองค์ความรูพ้ น้ื ฐานได้อย่างมีเหตุและผล  นาความคิดไปใช้อธิบาย สื่อสารความต้องการของตนเองได้  อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื อย่างมีความสุข  แบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื ได้  มีวจิ ารณญาณ เข้าใจสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั แิ ละไม่ควรปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง  มีทกั ษะการเรียนรู้  ความเป็นไทย ประถมศึกษาปีท่ี 4-6  แยกแยะเรือ่ งราวและองค์ความรูพ้ น้ื ฐานได้อย่างมีเหตุและผล  นาความคิดไปใช้อธิบาย สื่อสารความต้องการของตนเองได้  อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื อย่างมีความสุข  แบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื ได้  มีวจิ ารณญาณ เข้าใจสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั แิ ละไม่ควรปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง  มีทกั ษะการเรียนรู้  ความเป็นไทย ทักษะที่เพิ่ มเติ ม  มีทกั ษะกระบวนการเรียนรูท้ ด่ี พี อทีจ่ ะประยุกต์ใช้ความรู้  นาความรูม้ าประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิด นวัตกรรมที่เป็ น ประโยชน์ต่อตนเองและเพื่อใช้ในการแก้ปญั หา  มีคุณธรรม จริยธรรม  เข้าใจตนเองและผูอ้ ่นื  มีทกั ษะการสื่อสาร  มีความสามารถในการแก้ปญั หาและการคิดเชิงวิพากษ์  เข้าใจคนต่างประเพณีและวัฒนธรรมในภูมภิ าคและอาเซียน  หาความชอบและความถนัดด้านอาชีพของตนเองเพื่อนาไปประกอบ อาชีพและหาแนวทางการศึกษาต่อ  มีนิสยั ใฝเ่ รียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ  มีวจิ ารณญาณในการใช้ชวี ติ

16

ช่วงชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยำวชนไทยแห่งศตวรรษที่ 21  แยกแยะเรือ่ งราวและองค์ความรูพ้ น้ื ฐานได้อย่างมีเหตุและผล  นาความคิดไปใช้อธิบาย สื่อสารความต้องการของตนเองได้  อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื อย่างมีความสุข  แบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ่นื ได้  มีวจิ ารณญาณ เข้าใจสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั แิ ละไม่ควรปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง  มีทกั ษะการเรียนรู้  มีทกั ษะกระบวนการเรียนรูท้ ด่ี พี อทีจ่ ะประยุกต์ใช้ความรู้  นาความรูม้ าประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ เพื่ อให้เกิดนวัตกรรมที่เป็ น ประโยชน์ต่อตนเองและเพื่อใช้ในการแก้ปญั หา  มีคุณธรรม จริยธรรม  เข้าใจตนเองและผูอ้ ่นื  มีทกั ษะการสื่อสาร  เข้าใจคนต่างประเพณีและวัฒนธรรมในภูมภิ าคและอาเซียน  หาความชอบและความถนัดด้านอาชีพของตนเองเพื่อนาไปประกอบ อาชีพและหาแนวทางการศึกษาต่อ  มีนสิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ  มีวจิ ารณญาณในการใช้ชวี ติ  ความเป็นไทย ทักษะที่เพิ่ มเติ ม  มีความรูเ้ ชิงการประยุกต์ใช้และการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่าง เชีย่ วชาญ  สื่อสารภาษาต่างๆในภูมภิ าคและอาเซียนได้อย่างน้อย 3 ภาษา  สามารถทางานกับผูอ้ ่นื ได้ เคารพผูอ้ ่นื  มีความคิดเชิงวิพากษ์และสามารถวิเคราะห์ความคิดและความชานาญ ของตนเองได้  สามารถปรับเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ และมุมมองการใช้ชวี ติ อย่างมี จริยธรรม  มีสุนทรียภาพในการดาเนินชีวติ  มีวจิ ารณญาณต่อสิง่ ต่างๆทัง้ สิง่ ทีด่ แี ละไม่ดี

17

ช่วงชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยำวชนไทยแห่งศตวรรษที่ 21  สามารถเรียนรู้ด้ว ยตนเองจนมีค วามชานาญในสิ่งที่ต นเองรักและมี ความสุขในการใช้ชวี ติ  มีความชานาญด้านองค์ความรูท้ ่จี ะนาไปใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อทัง้ สายสามัญและสายอาชีพ  มีทกั ษะอาชีพต่างๆ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพอย่างมี คุณธรรม จริยธรรม

มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6

ทักษะที่เพิ่ มเติ ม  มีความรูเ้ ชิงการประยุกต์ใช้และการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่าง เชีย่ วชาญในสายการเรียนรูข้ องตน  วางแผนและคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม เชื่อมโยงสิง่ ต่างๆได้อย่าง ชานาญ  การมีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้องค์ความรู้  สื่อสารกับผู้คนได้อย่างเข้าใจทัง้ ในภูมภิ าคและต่างภูมภิ าค ที่มคี วาม ซับซ้อนทางความคิด ประเพณี และวัฒนธรรม  เคารพและเข้าใจความต่างของผูค้ น  นาความรูไ้ ปพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพื่อตนเองและผู้อ่นื  คิดแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนได้อย่างมีวจิ ารณญาณ  นาทักษะต่างๆไปต่อยอดองค์ความรูใ้ นระดับสูง  มีวจิ ารณญาณในเรื่องราวต่างๆทีเ่ ข้ามา และตัดสินใจอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม  ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขต่อสถานการณ์และบริบทต่างๆในชีวติ  ความเป็นไทย

18

จากกระบวนการดังกล่าวข้างต้นนัน้ สรุปได้เป็ นกรอบการวิจยั เรื่องนี้ได้การพัฒนาคุณลักษณะ และสมรรถนะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยแห่งศตวรรษที่ 21 นัน้ ผ่านกระบวนการเรื่อยนรู้ อย่ างเป็ น ระบบและส่ ง ต่ อ ทัก ษะต่ าง ๆในแต่ ล ะช่ ว งชัน้ อย่ างต่ อ เนื่ อ งที่เปรีย บเสมือ นฟ นั เฟื อ งที่จ ะ ขับ เคลื่อ นการพัฒ นาเด็ก และเยาวชนไทยให้ม ีคุ ณ ลัก ษณะอัน พึงประสงค์แห่ งศตวรรษที่ 21 ต้อ ง ประสานกันระหว่างฝา่ ยบริหารและครูผสู้ อน ดังนี้ 1. ส่วนของผูบ้ ริหาร ต้องมีกระบวนการทีด่ ี และมีหลักสูตรทีพ่ ร้อมนาไปสู่บุคคลแห่ง ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนมีกระบวนการประเมินผลทีเ่ ทีย่ งตรงและมีความเชื่อมัน่ มีการจัดสิง่ แวดล้อมีเ่ อื้อ ต่อการเรียนรูแ้ ละสุดท้ายต้องมีการอบรมครูให้มคี วามพร้อมที่สร้างบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 โดยสรุป ดังนี้ Process

Curriculum

Evaluation Learning Environment

Teacher training

2. ครูผสู้ อนต้องมีความเข้าใจคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยาวชนศตวรรษที่ 21 ตามกรอบการวิจยั นี้ ดังตารางที่ ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะ ชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

Professiona l skills ทักษะอำชีพ

ตัวบ่งชี้

Hand skills ทั ก ษ ะการ ใช้มอื

•แยกแยะเรื่องราวและองค์ความรู้พ้นื ฐานได้ อย่างมีเหตุและผล •น าความคิ ด ไปใช้ อ ธิ บ ายสื่ อ สารความ ต้องการของตนเองได้ •อยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื อย่างมีความสุข •แบ่ งหน้ า ที่ค วามรับ ผิด ชอบต่ อ ตนเองและ ผูอ้ ่นื ได้ •มีวิจารณญาณเข้าใจสิง่ ที่ควรปฏิบ ัติและไม่ ควรปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง •มีทกั ษะการเรียนรู้ •ความเป็ นไทย

กระบวนกำร เรียนรู้เพื่อ พัฒนำ ร่ำงกำยและ จิ ตใจ

ช่วงชัน้ ที่ 1

Interpers onal ความสัม พันธ์ ระหว่าง บุคคล

Learn how to learn การ เรียนรู้ เพื่อการ เรียนรู้

Self discipline วิ นั ย ใ น ตนเอง

19

ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวติ

ความรู้

ช่วงชัน้ ที่ 2

SelfUtilization

Literacy & การเข้า ใจ Logical ตนเอง ความสาม ารถใน การอ่าน ออกเขียน ได้และ ตรรกะ ต่าง ๆ

ช่วงชัน้ ที่ 3

Flexibility

มีความ ยืดหยุ่น

Application Academic for Asean life

การ ประยุกต์ ใช้และ การเข้าใจ ผูค้ นใน อาเซียน

Process for Physical and Mental กระบวนกา รเรียนรูเ้ พื่อ พัฒนา ร่างกายและ จิตใจ

Professional

skills

ทักษะ อาชีพ

Working Skills การคิด ทักษะการ อย่างเป็ น ทางาน ระบบและมี เบือ้ งต้น เหตุผล Systcmatic thinking

Pubic minded การมีจติ สาธารณะ

ตัวบ่งชี้

Mangering Skills

•มี ท ั ก ษะกระบวนการเรี ย นรู้ ท่ี ดี พ อที่ จ ะ ประยุกต์ใช้ความรู้ •น าความรู้ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งสร้า งสรรค์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด นวัต กรรมที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ตนเองและเพื่อใช้ในการแก้ปญั หา •มีคุณธรรมจริยธรรม •เข้าใจตนเองและผูอ้ ่นื •มีทกั ษะการสือ่ สาร •มีความสามารถในการแก้ปญั หาและการคิด เชิงวิพากษ์ •เข้ า ใจคนต่ า งประเพณี แ ละวัฒ นธรรมใน ภูมภิ าคและอาเซียน •หาความชอบและความถนัดด้านอาชีพ

•มี ค วามรู้ เ ชิ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ละการคิ ด วิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเชีย่ วชาญ มีทกั ษะการ •สื่อสารภาษาต่างๆในภูมภิ าคและอาเซียนได้ บริหาร อย่างน้อย 3 ภาษา •สามารถทางานกับผูอ้ ่นื ได้เคารพผูอ้ ่นื •มีความคิดเชิงวิพากษ์และสามารถวิเคราะห์ ความคิดและความชานาญของตนเองได้ •มีสามารถปรับเปลี่ยนความคิดทัศนคติและ มุมมองการใช้ชวี ติ อย่างมีจริยธรรม •มีสนุ ทรียภาพในการดาเนินชีวติ •มีวจิ ารณญาณต่อสิง่ ต่างๆทัง้ สิง่ ทีด่ แี ละไม่ดี

20

ช่วงชัน้

ช่วงชัน้ ที่ 4

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวติ

ความรู้

Innovator เป็นนวัตกร

Multidisci plinary มีความรู้ แบบ สหวิชาชีพ

Process for Physical and Mental กระบวนกา รเรียนรูเ้ พื่อ พัฒนา ร่างกายและ จิตใจ

Professional

Cross cultural การเข้าใจ การข้าม วัฒนธรรม

Coperate with Sufficiency Eco

skills

ตัวบ่งชี้

ทักษะ อาชีพ

•ความรู้ เ ชิ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ละการคิ ด วิเคราะห์แ ละสัง เคราะห์อ ย่ างเชี่ย วชาญใน สายการเรียนรูข้ องตน •วางแผนและคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม การใช้ชวี ติ เชื่อมโยงสิง่ ต่างๆได้อย่างชานาญ โดยนา •การมีคุ ณ ธรรมและจริย ธรรมในการใช้อ งค์ ปรัชญา ความรู้ เศรษฐกิจ •สื่อสารกับผู้คนได้อย่างเข้าใจทัง้ ในภูมิภาค พอเพียงไป และต่ างภู มิ ภ าค ที่ มี ค วาม ซั บ ซ้ อ นท าง ใช้ ความคิดประเพณีและวัฒนธรรม •สื่อสารกับผู้คนได้อย่างเข้าใจทัง้ ในภูมิภาค และต่ างภู มิ ภ าค ที่ มี ค วาม ซั บ ซ้ อ นท าง ความคิดประเพณีและวัฒนธรรม •เคารพและเข้าใจความต่างของผูค้ น •นาความรูไ้ ปพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพื่อ ตนเองและผูอ้ ่นื •คิ ด แ ก้ ป ั ญ ห า ที่ ซั บ ซ้ อ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี วิจารณญาณ •น าทั ก ษะต่ า งๆไปต่ อ ยอดองค์ ค วามรู้ ใ น ระดับสูง •มีวจิ ารณญาณในเรื่องราวต่างๆที่เข้ามาและ ตัดสินใจอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม •ใช้ชีวิต อย่างมีความสุขต่ อสถานการณ์ และ บริบทต่างๆในชีวติ •ความเป็ น ไทยและน าไปปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพียง

21

จากกรอบแนวคิดดังกล่าวนัน้ ต้องผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่สอดรับและครูผู้สอนต้องมี ความรูแ้ ละเข้าใจอย่างยิง่ และสิง่ สาคัญต้องมีเครื่องมือเพื่อนาไปสู่จุดมุ่งหมายของคุณคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 ดังภาพ

ภำพที่ 2 กระบวนการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กและเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 รูปแบบและแนวคิ ดกำรสร้ำงคู่มือครูที่สอดคล้องกับกำรจัดกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เมื่อได้กรอบแนวคิดจากการสังเคราะห์กรอบแนวคิดต่าง ๆ โดยได้เป็ นปรัชญาข้างต้นตลอดจน ได้ขอ้ เสนอแนะจากเครือข่ายครูสอนดีจานวน 40 คน ผลการประชุมปฏิบตั กิ ารเพื่อรับฟงั ความคิดเห็น (Public Hearing) เพื่อนาไปพัฒนาชุดเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ผู้วจิ ยั ได้ออกแบบ และสร้างเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน โดยชุดเครื่องมือดังกล่าวเป็ นชุดเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมครูในการออกแบบการสอน ให้มคี วามสอดคล้องกับการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

22

ภำพที่ 3 กระเป๋าชุดเครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยกระเป๋าชุดเครื่องมือมีโครงสร้างหลักสูตรซึ่งเน้ นทักษะที่สาคัญต่ อการพัฒนานักเรียนเพื่อ เตรียมความพร้อมสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนและเป็ นบุคคลอันพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 โดยที่ครู ผูใ้ ช้สามารถนาเครื่องมือนี้ ไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของท้องถิน่ โดยจะสร้างเป็ นกระเป๋าชุดเครือ่ งมือซึง่ ภายในประกอบด้วย 4.3.1. คู่มือครูเสริ มสร้ำงทักษะแห่งศตวรรษที่ 12 คู่มอื ครูซ่งึ มีแนวคิดของโครงการการพัฒนาเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของ เด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน พร้อมแผ่นวีดที ศั น์ส่อื การเรียนรูเ้ กี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ด้วยตัวอย่าง การจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ภาษาและวัฒนธรรม อาเซีย น ตอน ปฏิบ ัติก ารตามล่ า หาบาย” เนื่ อ งจากภาษาและวัฒ นธรรมเป็ น สิ่ งที่จ ะเข้า มาพร้อ ม ประชาคมอาเซียนและเป็ นสิง่ สาคัญอย่างยิง่ ในตัวอย่างนี้จงึ เป็ นการศึกษาเริม่ ต้นจากคาศัพท์คอื คาว่า “บาย” ซึ่งเป็ นภาษาเขมร แปลว่า “ข้าว” โดยภายในคู่มอื จะอธิบายเรื่องการบูรณาการเรื่องข้าวกับวิชา ต่าง ๆ ดังตัวอย่างในบรรณานุกรม

23

4.3.2. แบบฟอร์มกำรจัดกำรเรียนรู้ (Template) ซึ่งประกอบด้วย 4.3.2.1 แบบสอบถามเกี่ย วกับ ความรู้ค วามเข้าใจของครูต่ อ การเป็ น ผู้อ านวยความ สะดวกและสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ คือ การประเมินตนเองของครูทจ่ี ะเป็ นผูอ้ านวยความสะดวก ว่ามีความพร้อมหรือไม่ ทีจ่ ะสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 4.3.2.2 แบบฟอร์มจดหมายต่างๆ คือ จดหมายเพื่อขออนุ ญาตผู้ปกครอง จดหมายขอ อนุ ญ าตผู้อานวยการโรงเรียน จดหมายเพื่อขออนุ ญาตเข้าดูสถานที่ และจดหมายขอความอนุ เคราะห์ วิทยากร แบบฟอร์มจดหมายนี้มไี ว้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วการออกนอกสถานทีแ่ ละการอนุเคราะห์ เรือ่ งต่าง ๆ 4.3.2.3 แบบฟอร์มคู่มอื นักสารวจ คือ การออกแบบการสารวจของผูเ้ รียนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อฝึกการออกแบบการวางแผนอย่างเป็นระบบ 4.3.2.4 แบบสอบถาม เตรียมความพร้อมก่อนสารวจชุมชน คือ ข้อคาถามเพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนทีจ่ ะออกสารวจชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจและมีจดุ ประสงค์การเรียนรูร้ ว่ มกัน 4.3.2.5 แบบบันทึกความรู้ การสารวจชุมชน คือ แบบการเขียนบันทึกความรูใ้ นชุมชน เพื่อฝึกการสังเกตคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการเขียนสื่อสาร 4.3.2.6 แบบฟอร์มสาหรับการเขียนแผนผังมโนทัศน์ คือ แบบการเขียนภาพความคิด จากสิง่ ทีไ่ ด้สารวจพบเห็นและฝึกเชื่อมโยงความคิด ทาให้เกิดการคิดอย่างเป็นระบบ 4.3.2.7 แบบฟอร์มตารางสรุปความคิดเห็นของตนเอง คือ แบบฝึกการสรุปความคิดเห็น ของตนเอง โดยการเขียน อธิบายความด้วยเหตุผล 4.3.2.8 แบบฟอร์มตารางสรุปความคิดเห็นของกลุ่ม คือ แบบฝึ กการสรุปความคิดเห็น ของผูอ้ ่นื โดยการฟงั จับประเด็น การเขียนและการพูด ฝึ กการรับฟงั ผูอ้ ่นื และการแสดงความคิดเห็นอย่าง เป็นกัลยาณมิตร 4.3.2.9 แบบฟอร์มตารางบันทึกการแบ่งหัวข้อการเรียนรูก้ บั สาระวิชาต่างๆ คือ แบบ การแสดงคิดเห็นเชื่อมโยงเนื้อหาและฝึกการบูรณาการวิชาและเนื้อหาทีส่ นใจ โดยฝึกการคิดอย่างมีแบบ แผนและฝึกคิดกระบวนการสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ 4.3.2.10 แบบฟอร์มตารางบันทึกการจัดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียนคือ แบบแสดงความคิดเห็นที่ครูกบั นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันเพื่อออกการเรียนการสอนโดยให้ นักเรียนแสดงความคิดเห็นเน้น ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ 4.3.2.11 แบบฟอร์มบันทึกความรู้ (สาหรับแต่ละหัวข้อทีเ่ รียนรู้) คือ แบบการเขียนสรุป ความรูจ้ ากการสารวจและแหล่งความรูต้ ่างๆ เพื่อฝึกการเขียนและการทาความเข้าใจเนื้อหาวิชาต่าง ๆ 4.3.2.12 แบบฟอร์ม ใบงาน (ครูม อบหมายให้นัก เรีย น ) คือ ใบงานที่ค รูอ อกแบบให้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบตั แิ ละลงมือทา เพื่อเกิดทักษะและความชานาญ อีกทัง้ สร้างความเข้าใจมากยิง่ ขึน้ 4.3.2.13 สมุดจดบันทึกการไปเรียนรูน้ อกห้องเรียน (Field Trip Book) คือ สมุดบันทึก การเรียนรูเ้ มือ่ ออกไปทัศนศึกษาหรือเรียนรูน้ อกห้องเรียน

24

4.3.2.14 แบบฟอร์มประเมินตนเองของนักเรียนคือ แบบการเขียนประเมินตนเองด้าน ต่าง ๆ เพื่อฝึกกระบวนการพัฒนาด้านจิตใจและจริยธรรม การคิดวิเคราะห์และหาแนวทางพัฒนาตนเอง ด้าน ความรูแ้ ละทักษะชีวติ เพื่อการเข้าใจตนเองและผูอ้ ่นื และนาไปใช้ในชีวติ และการทางานในอนาคต 4.3.2.15 แบบฟอร์มบันทึกสิง่ ที่ได้เรียนรูแ้ ละการต่ อยอดองค์ความรูค้ อื แบบการสรุป ความคิด และการตกตะกอนทางความคิดที่ได้จากการเรียนรู้และฝึ กการคิดต่ อ ยอดองค์ค วามรู้ท่ีจ ะ นาไปใช้ในอนาคตได้ เช่น การประกอบอาชีพ การสร้างนวัตกรรม การศึกษาวิจยั แบบง่าย ๆ เป็นต้น 4.3.2.16 แบบฟอร์มตัวอย่าง ด้วยตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เรื่อง “ภาษาและวัฒนธรรม อาเซียน ตอน ปฏิบตั กิ ารตามล่าหา บาย” พร้อมหนังสืออาเซียนศึกษาคือ ตัวอย่างการจัดการเรียนการ สอนเพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21เรื่องทีป่ ระกอบด้วยเรื่องความเป็ นมาของข้าวโดยการ ”ข้าว“ บด้วยประเพณีการทาขวัญข้าวทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ความเชื่อและวัฒนธรรม ทีป่ ระกอการร้องเพลง เกี่ยวข้าว อาหารในอาเซียนเศรษฐกิจพอเพียง และการนาความรูเ้ รื่องข้าวมาผลิตเป็ นนวัตกรรมและ ประกอบอาชีพ โดยการทาน้าข้าวกล้อง 4.3.2.17 แผ่นดีวดี หี นังสืออิเล็คทรอนิค 5,000 เล่ม คือ แหล่งข้อมูลเพื่อการศึกษาเรียนรู้ ในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการหาข้อมูลในการศึกษาและอ้างอิงเพื่อสร้างใบความรูข้ องครู หรือทารายงานของนักเรียน ดังภาพ

ภำพที่ 4 หน้าจอแสดงหนังสืออิเล็คทรอนิค 4.3.2.18 แผ่ น ดีว ีดี e-Learning ประกอบด้วย 200บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอน คือ โปรแกรมช่วยสอนในวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ความสะดวกต่อครูและให้นักเรียนได้ศึกษาความรูด้ ้วยตนเอง อย่างสนุกสนาน ดังภาพ

25

ภำพที่ 5 หน้าจอแสดง e-Learning 4.3.2.19 แผ่นดีวดี ตี วั อย่างการทดลองวิทยาศาสตร์ คือ วีดทิ ศั น์ ในการทาการทดลอง วิทยาศาตร์เพื่อเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ดังภาพ

ภำพที่ 6 แสดงหน้าจอตัวอย่างการทดลองวิทยาศาสตร์ 4.3.2.20 แผ่นดีวดี คี ลังข้อสอบ ทุกกลุ่มสาระ 500 ชุด คือ ข้อสอบวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ทา เป็ น แบบทดสอบความรู้ในวิช าต่ าง ๆ เพื่อ ให้นั ก เรีย นได้ฝึ ก คิด วิเคราะห์แ ละได้ท าแบบฝึ ก การท า แบบทดสอบ ดังภาพ

26

ภำพที่ 7 แสดงหน้าจอคลังข้อสอบ 4.3.2.21 แผ่ น ซีดีโปรแกรมสแคลช (Scratch) คือ โปรแกรมคอมพิว เตอร์ช่ ว ยสอน สาหรับสร้างภาพการ์ตูนเคลื่อนไหวเพื่อการนาเสนอ โดยโปรแกรมนี้ถูกสร้างขึน้ ภายใต้แนวคิดทีม่ ุ่งเน้น การพัฒนาระบบสมองในระหว่างการใช้งานโปรแกรม ให้ผใู้ ช้งานได้ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบดังภาพ

ภำพที่ 8 แสดงหน้าจอโปรแกรมสแคลช 4.3.2.22 แผ่นซีดโี ปรแกรมฟรีมายด์ คือ โปรแกรมทีอ่ านวยความสะดวกในการสร้างผัง มโนทัศน์ หรือ Mind Map จากการระดมสมองระหว่างคุณ ครูและผู้เรียน เพื่อใช้วางแผนในการเรียนรู้ ให้กบั ผูเ้ รียน ดังภาพ

27

ภำพที่ 9 แสดงหน้าจอโปรแกรมฟรีมายด์ บทบาทที่ส าคัญ ที่จ ะท าให้ ชุ ด เครื่อ งมือ เสริม สร้า งทัก ษะแห่ ง ศตวรรษที่ 21 ไม่ เ พี ย งเป็ น แบบฟอร์ม แต่ เป็ น เป็ น เครื่อ งมือ เสริม สร้า งนิ ส ัย รัก การพัฒ นาตนเองของผู้ใ ช้ ท าให้ผู้ใ ช้เ กิด ความ เปลีย่ นแปลงจากภายใน ด้วย “ชุดคาถามชวนถก-อภิปราย” และเป็นประเด็นทางสังคมประเด็นหนึ่งทีจ่ ะ เป็ นจุดเชื่อ มให้เกิดเครือ ข่ายในการปฏิรูป การศึกษาที่ส มาชิกคือ ครูผู้ป ฏิบ ัติงานจริงดังค ากล่ าวที่ว่ า “ความสาเร็จในการเรียนรู้ ไม่ได้อยู่ท่เี ครื่อ งมือ หากอยู่ท่กี ารเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ส ร้างสรรค์อ งค์ ความรูด้ ้วยตนเอง” ซึ่งติดอยู่ด้านหลังกระเป๋าชุดเครื่องมือ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ตระหนักถึงความสาคัญเรื่อง การเปิดโอกาสให้ผเู้ รียน ได้สร้างสรรค์องค์ความรูด้ ้วยตนเอง ซึ่งเป็ นสิง่ สาคัญทีส่ ุดเพราะผู้เรียนจะเกิด ทักษะบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ตามกรอบแนวคิดข้างต้นต้องเกิดจากผูเ้ รียนเป็นผูส้ ร้างเอง

ภำพที่ 10 ภาพข้อความเป้าหมายของเครือ่ งมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

28

จากกรอบแนวคิดการดังกล่าวข้างต้น จึงได้ขนั ้ ตอนการจัดการเรียนรูเ้ พื่อให้เกิดกระบวนการ เรียนที่เกิดจากผู้เรียนเป็ นสาคัญ (Coaching and Mentoring) กล่าวคือ แนวคิการจัดการเรียนการสอน แบบ (Coaching and Mentoring) มาจากระบบการพี่เลี้ยงเป็ นเครื่องมือหนึ่งของการพัฒนาบุคลากรใน องค์กรที่ได้รบั ความสนใจจากผู้บริหารและมีการนามาใช้ปฏิบตั แิ ล้วในหลายๆองค์กรซึ่งเน้นการพัฒนา แบบมี ส่ ว นร่ ว ม (Developmental Partnership) จากบุ ค คลที่ ต้ อ งท าหน้ าที่ แ ลกเปลี่ ย นความรู้ ประสบการณ์ขอ้ มูลต่างๆและมุมมองส่วนบุคคลเพื่อส่งเสริมสนับสนุ นและผลักดันให้อกี ฝา่ ยมีความพร้อม ในการทางานพร้อมที่จะเจริญเติบโตและมีความก้าวหน้าในสายอาชีพการเป็ นพี่เลี้ยงจึงป็ นรูปแบบของ ประสบการณ์ในการทางานของอีกฝ่ายเป็ นการพัฒนาที่เน้ นให้เกิดการสร้างโอกาสในการมีส่วนร่วมการ แก้ไขปญั หาและการกาหนดเป้าหมายเพื่อให้งานบรรลุผลสาเร็จตามทีผ่ บู้ ริหารต้องการซึง่ การเป็ นพีเ่ ลีย้ ง เป็ นการใช้ความคิดในการวิเคราะห์และการนาเสนอทิศทางทีถ่ ูกต้องให้กบั อีกฝา่ ยดังนัน้ รูปแบบของการ เป็ นพีเ่ ลีย้ งจึงเป็ นกระบวนการของการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ของผูท้ ม่ี คี วามรูแ้ ละประสบการณ์หรือที่ เรีย กว่ า Mentor ให้ ก ับ ผู้ ท่ีม ีป ระสบการณ์ ใ นการท างานในองค์ ก ารนั ้น หรือ ที่เรีย ก Mentee การท า Mentoring จะประสบความสาเร็จได้นัน้ ขึน้ อยู่กบั องค์กรจะต้องมีระบบการคัดเลือกประเมินคุณสมบัติ ประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าที่พเ่ี ลีย้ งเพื่อค้นหาและพัฒนาพีเ่ ลีย้ งให้เป็ น บุคลากรที่มคี วามสามารถรวมถึง การจัดระบบการฝึ ก อบรมพัฒ นาความสามารถของการเป็ นพี่เลี้ยงที่ดีทาให้พ่ีเลี้ยงรู้บ ทบาทหน้ าที่รู้ วิธกี ารและขัน้ ตอนการเป็นพีเ่ ลีย้ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับกระบวนการสร้างคุณลักษณะของเด็กและเยาวชนแห่งศตวรรษที่ 21 คือการสร้างเด็กและเยาวชนนัน้ ต้องเป็ นไปทัง้ ระบบโรงเรียนคือต้องมีกระบวนการที่ดแี ละมีหลักสูตรที่ พร้อมนาไปสู่บุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ตลอดจนมีกระบวนการประเมินผลทีเ่ ทีย่ งตรงและมีความเชื่อมัน่ มีการจัดสิง่ แวดล้อมีเ่ อื้อต่อการเรียนรูแ้ ละสุดท้ายต้องมีการอบรมครูให้มคี วามพร้อมที่สร้างบุคคลแห่ง ศตวรรษที่ 21 โดยครูต้องมีความเข้าใจบทบาทของตนเองเป็ นอย่างดีว่าการเป็ นพี่เลี้ยงหรือผู้อานวย ความสะดวกให้ เด็ก นั น้ ต้ อ งมีค วามเข้าใจในกระบวนการจัด การเรีย นการสนอแบบ (Coaching and Mentoring) เป็ นอย่างดีจงึ จะทาให้เด็กและเยาวชนไทยไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ได้โดยเน้ นการมีส่ วนร่วม (Developmental Partnership) ของผู้เรียนโดยครูต้องทาหน้ าที่แลกเปลี่ยน ความรู้ประสบการณ์ ข้อ มูล ต่ างๆโดยครูต้อ งมีคุ ณ สมบัติการเป็ น พี่เลี้ยงหรือ ผู้อ านวยความสะดวกที่ เหมาะสมมีความสาคัญ คือควรมีความพร้อมยินดีท่จี ะเป็ นพี่เลี้ยงมีอารมณ์ มนคงมี ั่ ความคิดเชิงบวกมี ความอดทนและความรับผิดชอบมีจริยธรรมทีด่ เี ป็ นผู้รบั ฟงั ที่ดมี ที ศั นคติท่ดี มี กี ารสื่อสารที่ดบี ริหารเวลา ได้เป็ นอย่างดีมคี วามใฝ่เรียนรูต้ ้องการการพัฒนาอยู่เสมอซึง่ เป็ นส่วนสาคัญในการจัดการเรียนการสอน ดังกล่าวโดยคณะผู้วจิ ยั พบว่าบทบาทครูเป็ นสิง่ สาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพราะ ความสาเร็จในการเรียนรูไ้ ม่ได้อยู่ทเ่ี ครื่องมือหากอยู่ท่ีการเปิ ดโอกาสในผู้เรียนได้สร้างสรรค์องค์ความรู้ ด้วยตนเองซึ่งเป็ นสิง่ สาคัญในการศึกษาเรื่องนี้ดงั นัน้ ผู้วจิ ยั จึงได้นาเสนอการจัดการเรียนการสอนแบบ (Coaching and Mentoring) คือ การเปลี่ยนบทบาทครูมาเป็ นผู้อานวยการเรียนรู้โดยมี 8 ขัน้ ตอนที่ครู เป็ นผูอ้ านวยควาสะดวกให้กบั นักเรียนในการสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง ซึง่ สอดคล้องกับ กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขัน้ ตอนของสานักงานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานดังนี้

29

กระบวนกำรเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอน หรือที่เรียกว่ำ "QSCCS" ของสำนักงำนกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน Q หมำยถึง Learning to Question การเรีย นรู้แ บบโครงงาน จาก Intel teach to the Future ซึ่งก่อนการเรียนการสอนจะมีการตัง้ คาถาม ให้นักเรียนได้ คิดและร่วมกันแสดงความคิดเห็น เพื่อ ฝึกนักเรียนให้กล้าคิด กล้าแสดงออก (Q) S ตัวที่หนึ่ ง หมำยถึง to search การเรียนรูแ้ บบโครงงาน ให้นักเรียนได้เรียนรูร้ ่วมกัน ศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า แก้ปญั หาเอง และปฏิบตั จิ น จบกระบวนการของการทาโครงงาน (S) Cตัวที่หนึ่ ง หมำยถึง to construct การเรีย นรู้แ บบบูรณาการ น าความรู้ท่ีได้ไปบูรณา การกับวิชาอื่นๆ และนาไปใช้ได้จริงอย่างถูกต้อง (C) C ตัวที่สอง หมำยถึง to communicat การเรียนรู้ในแบบของ Backworddesigeเป็ นวิธกี าร สอนที่ใช้ผลงานเป็ นทีต่ งั ้ ว่าเมื่อนักเรียนเรียนจบแล้ว หรือ ในขณะที่เรียน ต้อ งมีภาระงานในระหว่างเรียน หรือมีผลงาน แลกเปลีย่ นเรียนรู้ (C) S ตัวที่สอง หมำยถึง to service 5. เมื่อ จบการเรีย นรู้ใ นแต่ ล ะหน่ ว ยแล้ว นั ก เรีย น สามารถน าเสนอ พั ฒ นาปรับ ปรุ ง ได้ เพื่ อเกิ ด ประโยชน์ต่อตนเองและคนอื่น ๆ (S)

กำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อให้ เกิ ดกระบวนกำร เรียนที่เกิ ดจำกผูเ้ รียนเป็ นสำคัญ โดยเปลี่ยนบทบำทครูมำเป็ น ผูอ้ ำนวยกำรเรียนรู้ มี 8 ขัน้ ตอน ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมครู ขัน้ ตอนที่ 2 สารวจชุมชน หาแรงบันดาลใจ ขัน้ ตอนที่ 3 ระดมความคิด ขัน้ ตอนที่ 4 วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะข้อมูลทีถ่ ูกต้อง ขัน้ ตอนที่ 5 ออกแบบการเรียนรูร้ ว่ มกัน ขัน้ ตอนที่ 6 ลงมือปฏิบตั ิ ขัน้ ตอนที่ 7 สรุปข้อมูล

ขัน้ ตอนที่ 8 ต่อยอดองค์ความรู้

ตำรำงที่ 3 เปรียบเทียบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอนของ สพฐ. กับ 8 ขัน้ ตอน การจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 จากศึก ษาเปรียบเทียบขัน้ ตอนการสอน (Coaching and Mentoring) จึงได้เป็ นแบบการเรียน การสอนเพื่อ สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนตามระดับชัน้ บริบทและขนาดที่หลากหลายของ โรงเรียนและความต้องการจาเป็นของสถานศึกษาโดยครูเป็ นพีเ่ ลีย้ งหรือผูอ้ านวยความสะดวกดังภาพ

30

ภำพที่ 11 รูปแบบการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 1. Q หมำยถึง Learn to Question การเรียนรูแ้ บบโครงงานจากIntel teach to the Future ซึ่ง ก่อนการเรียนการสอนจะมีการตัง้ คาถามให้นักเรียนได้คดิ และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกนักเรียน ให้กล้าคิดกล้าแสดงออก (Q) ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอน คือ ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมครู ขัน้ ตอนที่ 2 สารวจ ชุมชนหาแรงบันดาลใจ และ ขัน้ ตอนที่ 3 ระดมความคิดถือเป็นขัน้ ตอนสาคัญทีส่ ุดโดยเฉพาะบทบาทครู ในแต่ละช่วงชัน้ ทีส่ ร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมครู โดยครูมบี ทบาทเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกและการสร้างบรรยากาศใน การเรียนรูแ้ ละสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ มีเครือ่ งมือแบบสอบถามเกีย่ วกับความรูค้ วามเข้าใจของครู ต่อการเป็นผูอ้ านวยความสะดวกและสร้างบรรยากาศในการเรียนรูโ้ ดยมีแบบประเมินตนเองเพื่อเป็ นครูผู้ อานวยความสะดวกในการเรียนรูข้ องนักเรียนเครื่องมือแบบประเมินตนเองด้านการเป็ นผูอ้ านวยความ สะดวกในการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละช่วงชัน้ ได้ถูกต้อง โดยในแต่ละ ช่วงชัน้ ครูมบี ทบาททีแ่ ตกต่างกัน โดยวัดผลตามคะแนนดังนี้

31 9kตารำตำรำงที่

Life s

ช่วงชัน้ ช่วงชัน้

Life skills ทักษะชีวิตkills

ช่วงชัน้ ที่ 1 Interpersonal ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล

Knowledge

ความรู้งชัน้

Learn how to learn การเรียนรู้ เพื่อการ เรียนรู้

LiProcess for Physical and Mental

กระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาร่างกาย และจิ ตใจe skills

Self discipline วินยั ในตนเอง

4 ตารางแสดงบทบาทของครู

ช่ Professional skills

Lifตัวบ่งชี้e skills

บทบาทครู ครู

ทักษะอาชีพวง ชัน้ Hand skills ทักษะ การใช้มอื

•แยกแยะเรื่องราวและองค์ความรูพ้ น้ื ฐานได้ ครูต้องมีบทบาทอ านวยความสะดวกต่ อ อย่างมีเหตุและผล เด็กวัย โดยมีอารมณ์มนคงมี ั่ ความคิดเชิง •นาความคิดไปใช้อธิบายสือ่ สารความ บวกมีค วามอดทนและความรับ ผิด ชอบ ต้องการของตนเองได้ สามารถสื่อและทาความเข้าใจกับเด็กได้ •อยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื อย่างมีความสุข เพื่ อ ให้ โ อกาสเด็ ก ได้ ซ ั ก ถามท าความ •แบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อตนเองและ เข้ า ใจ โดยมี เ ครื่อ งมือ หรือ การสอนที่ ผูอ้ ่นื ได้ •มีวจิ ารณญาณเข้าใจสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั แิ ละไม่ สนุ กสนาน เพื่อในได้เรียนรูเ้ พื่อการเรียนรู้ ควรปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง •มีทกั ษะการเรียนรู้ •ความเป็ นไทย

32 Life s

ช่วงชัน้ ช่วงชัน้

LiProcess for Physical and Mental

Knowledge Life skills ทักษะชีวิตkills ความรู้งชัน้ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาร่างกาย และจิ ตใจ e skills

ช่วงชัน้ ที่ 2 Self- Utilization การเข้าใจตนเอง

Literacy & Logical ความสามารถ ในการอ่าน ออกเขียนได้ และตรรกะ ต่าง ๆ

Systcmatic thinking การคิดอย่างเป็ น ระบบและมีเหตุผล

ช่ Professional skills

Lifตัวบ่งชี้e skills

บทบาทครู

ทักษะอาชีพ วงชัน้ Working Skills •มีทกั ษะกระบวนการเรียนรูท้ ด่ี พี อทีจ่ ะ ทักษะการทางาน ประยุกต์ใช้ความรู้ เบือ้ งต้น •นาความรูม้ าประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดนวัตกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อ ตนเองและเพื่อใช้ในการแก้ปญั หา •มีคุณธรรมจริยธรรม •เข้าใจตนเองและผูอ้ ่นื •มีทกั ษะการสือ่ สาร ั •มีความสามารถในการแก้ปญหาและการ คิดเชิงวิพากษ์ •เข้าใจคนต่างประเพณีและวัฒนธรรมใน ภูมภิ าคและอาเซียน •หาความชอบและความถนัดด้านอาชีพของ ตนเองเพื่อนาไปประกอบอาชีพและหา แนวทางการศึกษาต่อ •มีนิสยั ใฝเ่ รียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอย่าง สม่าเสมอ •มีวจิ ารณญาณในการใช้ชวี ติ

ครูมบี ทบาทผู้อานวยความสะดวกที่เหมาะสม ต่ อ วัย เด็ก ช่ ว งที่ 2คือ ควรมีค วามพร้อ มและ ความเข้าใจพัฒ นาการเด็กวัยนี้ เพื่อ สร้างให้ เกิด ทัก ษะการเรีย นรู้ท่ีส ามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู้ได้ด้ว ยอารมณ์ ท่ีม นคงมี ั่ ค วามคิด เชิง บวก ต่ อ ความแตกต่ า งของผู้เรีย นรู้ ม ีค วาม อดทนและความรับผิดชอบมีจริยธรรมที่ดเี ป็ น ผู้รบั ฟ งั ที่ด ีม ีท ัศ นคติท่ีด ีมกี ารสื่อ สารที่ด ีเพื่อ สร้างทัศนคติท่แี ละสามารถสร้างระบบเหตุผล และมี บ ทบาทสร้า งการท างานเป็ นที ม ได้ ั หาได้ เ ป็ น ตลอดจน แนะน าแนวทางแก้ ป ญ อย่างดี

33 Life s

ช่วงชัน้ ช่วงชัน้

Life skills ทักษะชีวิตkills

Knowledge

ความรู้งชัน้

LiProcess for Physical and Mental

กระบวนการ เรียนรูเ้ พื่อ พัฒนา ร่างกายและ จิ ตใจ

ช่ Professional skills

Lifตัวบ่งชี้e skills

บทบาทครู

ทักษะอาชีพ วงชัน้

e skills

ช่วงชัน้ ที่ Flexibility Application มีความยืดหยุ่น Academic 3 for Asean life การ ประยุกต์ใช้ และการเข้าใจ ผูค้ นใน อาเซียน

Pubic minded การมีจติ สารธณะ

Mangering Skills มีทกั ษะการ บริหาร

•มีความรูเ้ ชิงการประยุกต์ใช้และการคิด

ครูมบี ทบาทผู้อานวยความสะดวกที่เหมาะสม วิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเชีย่ วชาญ ต่อวัยรุ่น ตอนต้น โดยสามารถผู้อานวยความ •สื่อสารภาษาต่างๆในภูมภิ าคและอาเซียน สะดวกทีเ่ หมาะสม มีความยืดหยุ่นต่อความคิด ได้อย่างน้อย 3 ภาษา ของผู้เรียน ซึ่งมีค วามส าคัญ มาก เพราะเป็ น •สามารถทางานกับผูอ้ ่นื ได้เคารพผูอ้ ่นื วัยแห่งการเปลีย่ นแปลง ต้องมีอารมณ์มนคงมี ั่ •มีความคิดเชิงวิพากษ์และสามารถ ความคิ ด เชิ ง บวกมีค วามอดทนและความ วิเคราะห์ความคิดและความชานาญของ รับ ผิ ด ชอบมีจ ริย ธรรมที่ ด ีเ ป็ น ผู้ ร ับ ฟ งั ที่ ด ี ม ี ตนเองได้ ทัศ นคติท่ดี ีมกี ารสื่อ สารที่ดี โดยมีบทบาทใน •มีสามารถปรับเปลีย่ นความคิดทัศนคติและ การสร้างจิตสารธณะแก่ผู้เรียน และมีบทบาท มุมมองการใช้ชวี ติ อย่างมีจริยธรรม ในอ านวยความสะดวกในการประยุ ก ต์ ใ ช้ •มีสุนทรียภาพในการดาเนินชีวติ ความรู้แ ละการท าความเข้ า ใจต่ อ ผู้ อ ย่ า งมี •มีวจิ ารณญาณต่อสิง่ ต่างๆทัง้ สิง่ ทีด่ แี ละไม่ วิจารณญาณ ดี

34

ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

กระบวนกำร เรียนรูเ้ พื่อ พัฒนำ ร่ำงกำยและ จิ ตใจ ช่วงชัน้ ที่ 4

Innovator เป็ นนวัตกร

Multidisciplina Cross ry cultural มีควำมรู้ กำรเข้ำใจกำร แบบสหวิชำชีพ ข้ำม วัฒนธรรม

Professional skills

ตัวบ่งชี้

บทบาทครู

•ความรูเ้ ชิงการประยุกต์ใช้และการคิดวิเคราะห์และ สังเคราะห์อย่างเชีย่ วชาญในสายการเรียนรูข้ องตน •วางแผนและคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรมเชือ่ มโยงสิง่ ต่างๆได้อย่างชานาญ •การมีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้องค์ความรู้ •สือ่ สารกับผูค้ นได้อย่างเข้าใจทัง้ ในภูมภิ าคและต่าง ภูมภิ าคทีม่ คี วามซับซ้อนทางความคิดประเพณีและ วัฒนธรรม •สือ่ สารกับผูค้ นได้อย่างเข้าใจทัง้ ในภูมภิ าคและต่าง ภูมภิ าคทีม่ คี วามซับซ้อนทางความคิดประเพณีและ วัฒนธรรม •เคารพและเข้าใจความต่างของผูค้ น •นาความรูไ้ ปพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพือ่ ตนเองและ ผูอ้ ่นื •คิดแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนได้อย่างมีวจิ ารณญาณ •นาทักษะต่างๆไปต่อยอดองค์ความรูใ้ นระดับสูง •มีวจิ ารณญาณในเรือ่ งราวต่างๆทีเ่ ข้ามาและตัดสินใจ อย่างมีคุณธรรมจริยธรรม •ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขต่อสถานการณ์และบริบทต่างๆใน ชีวติ •ความเป็นไทยและนาไปปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ครูมบี ทบาทผูอ้ านวยความสะดวกทีเ่ หมาะสมต่อวัยรุ่น ทีเ่ ป็ น ช่ ว งหัว เลี้ย วหัว ต่ อ โดยสามารถผู้อ านวยความสะดวกที่ เหมาะสม มีค วามยื ด หยุ่ น ต่ อ ความคิด ของผู้ เ รีย น ซึ่ ง มี ความส าคัญ มาก เพราะเป็ น วัย ที่ต้อ งเลือ กเส้น ทางชีว ิต มี อารมณ์มนคงต่ ั่ อการยัวยุต่าง ๆ เพื่อนาความคิดสร้างสรรค์ ต่ าง ๆ มาอ านวยความสะดวกให้ผู้เรีย นเป็ น นวัต กร และ สามารถเรียนรูแ้ บบสหวิชาชีพได้ มีความคิดเชิงบวก เพื่อ อานวยความสะดวกและเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้สร้างทัศนคติท่ี ดีต่อบุคลคลทัวไปและเข้ ่ าใจวัฒนธรรมต่าง ๆ มีความอดทน และความรับ ผิด ชอบมีจ ริย ธรรมที่ดีเพื่อ เป็ น แบบอย่ า งต่ อ ผู้เรีย น ตลอดจนเป็ น ผู้ร บั ฟ งั ที่ดีเพื่อ สร้างบรรยากาศการ ั หาที่ม ีค วามซับ ซ้อ นมากขึ้น โดยครูม ีบ ทบาทสร้า ง แก้ป ญ สานึกการเคารพและเข้าใจผู้คนทัง้ ในภูมภิ าคและต่างภูมภิ าค ที่ม ีค วามซับ ซ้อ นทางความคิด ประเพณีแ ละวัฒ นธรรมการ สื่อสารที่ดโี ดยไม่ล ืมความเป็ น ไทย และใช้ช ีวติ อย่างเป็ น สุ ข และพอเพียง

ทักษะอำชีพ

Coperate with Sufficiency Eco กำรใช้ชีวิต โดยนำ ปรัชญำ เศรษฐกิ จ พอเพียงไปใช้

35

ขัน้ ตอนที่ 2 สำรวจชุมชน หำแรงบันดำลใจ บทบำทครู สารวจสถานที่ เส้นทางและติดต่อกับแหล่งชุมชนใกล้โรงเรียนที่จะพานักเรียนไป ศึกษาเรียนรูพ้ ร้อมทัง้ ติดต่อวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญไว้ให้คาแนะนาแก่นักเรียน หลังจากนัน้ ครูจงึ พา นักเรียนไปทัศนศึกษา พร้อมทัง้ คอยกระตุ้นซักถามชีช้ วนให้นักเรียนเกิด แรงจูงใจและสนใจหาคาตอบใน สิง่ ต่างๆรอบตัว ครูตงั ้ คาถามเกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนสนใจ หรือครูมจี ุดประสงค์จะสร้างบทเรียนรูเ้ พื่อ นาไปสู่จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การมีทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมความ พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ดังนัน้ การทาความเข้าใจวัฒนธรรมโดยจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 นัน้ ต้องเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียน ได้สร้างสรรค์องค์ความรูด้ ้วยตนเองทางคณะผูว้ จิ ยั จึงนาเสนอ ชุดการเรียนรู้ เรื่อง ภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียน ตอนปฏิบตั กิ ารตามล่าหา “บาย” เนื่องจากการก้าวเข้าสู่ประชาคม อาเซียนนัน้ ต้อ งสร้างความพร้อ มเพื่อ รองรับการแข่งขัน เพราะความรู้ในโลกยุค ป จั จุบ ันมีม ากมาย มหาศาล ผู้เรียนจะต้องสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ตนเองตลอดจนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อ ก้าวนาประเทศอื่น ผ่านเครือ่ งมือการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ดังตัวอย่างเรื่องภาษาและวัฒนธรรม ในอาเซียน ตอน ปฏิบตั กิ ารตามล่าหา “บาย” ตัวอย่างแนวคาถาม แนวคำถำมสำหรับครู 1.ชีช้ วนให้นกั เรียนสังเกตสิง่ มีชวี ติ ทีม่ ี ความสัมพันธ์กนั จากสิง่ ทีพ่ บเห็นในท้องนา เพื่อเชื่อมโยงถึงเรื่อง ระบบนิเวศ ห่วงโซ่ อาหาร สายใยอาหาร เป็ นต้น

2.นักเรียนคิดว่าต้นข้าวกับหอยเชอรีม่ ี ความสัมพันธ์กนั ในระบบนิเวศลักษณะใด

แนวคำตอบของครู นักเรียนสามารถบอกความสัมพันธ์ของสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยู่ในระบบ นิเวศได้ เช่น สังเกตหอยเชอรีม่ าเกาะทีต่ น้ ข้าว และสามารถบอกได้ ว่า ข้าวและท้องนาเป็ นแหล่งทีอ่ ยู่อาศัยของหอยเชอรี่ ครูจงึ อธิบาย เรื่องระบบนิเวศวิทยาความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบ นิเวศเดียวกัน จะ 3 รูปแบบคือ1.พึง่ พาอาศัยกัน เป็ นการอยู่ร่วมกัน ของสิง่ มีชีวิต 2 ชนิด ที่ทาให้ฝ่ายหนึ่งและทัง้ 2 ฝ่ายได้ประโยชน์ โดยที่ฝ่ ายใดไม่ เสีย ประโยชน์ เลย 2.ปฏิป กั ษ์ ต่ อกัน เป็ น การอยู่ ร่ ว มกัน ของสิ่ง มีชีวิต โดยฝ่ า ยหนึ่ ง จับ อีก ฝ่ า ยหนึ่ ง เป็ น อาหาร เรียกว่า ผูล้ ่า ส่วนฝ่ายทีถ่ ูกจับเป็ นอาหารเรียกว่า เหยื่อ 3.แบบเป็ น กลางต่อกัน เป็ นการอยู่ร่วมกันของสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ป็ นอิสระต่อกันไม่มี ฝา่ ยหนึ่งฝา่ ยใดได้หรือเสียประโยชน์ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์กนั ของ หอยเชอรี่ ต้นข้าว หรือสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ครูอธิบายว่า ต้นข้าวกับหอยเชอรีอ่ ยู่ร่วมกันโดยหอยเชอรีจ่ ะกัดกิน ต้นข้าวซึง่ เป็ นการอยู่ร่วมกันแบบเป็ นปฏิปกั ษ์ต่อกัน กล่าวคือ หอย เชอรี่ เป็ นผูไ้ ด้ประโยชน์ และต้นข้าว เป็ นผูเ้ สียประโยชน์จากการถูก หอยเชอรีก่ ดั กิน ใช้เป็ นทีอ่ ยู่อาศัยและแหล่งขยายพันธุ์

36

แนวคำถำมสำหรับครู 3.นักเรียนคิดว่า แต่ละชุมชนหรือสังคมมี ความสัมพันธ์กนั อย่างไร

แนวคำตอบของครู นักเรียนแสดงแนวคิดเกีย่ วกับสังคมในมุมมองนักเรียน ครูอธิบายเรื่องความ แตกต่ างกันของกลุ่มคนในสังคมแต่ ละสังคม กล่าวคือ ในสังคมหนึ่งจะประกอบไปด้วยบุคคลที่มีสถานภาพและ บทบาทในสังคม เช่น ผู้ มีสถานภาพเป็ น พ่อ ผู้หญิงมีสถานภาพ เป็ นแม่ พ่อมีบทบาทหาเลี้ยงครอบครัว ส่วนแม่ จะมีบทบาทใน การเลีย้ งดูลูก ซึง่ เป็ นกลุ่มปฐมภูมใิ นสังคม ส่วนทีใ่ หญ่ขน้ึ คือ กลุ่ม ทุติยภูมิ จะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั มากขึ้น กล่าวคือ กลุ่มชนหลาย กลุ่ม รวมกัน กลายเป็ น ภาคส่วน จากนัน้ ก็กลายเป็ น ประเทศ จาก ประเทศหลาย ๆ ประเทศก็กลายเป็ นภูมภิ าค เช่น ภูมภิ าคอาเซียน

4.นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดจึงมีการ รวมกลุ่มกันระหว่างประเทศสมาชิกใน ภูมภิ าคอาเซียน เหมือนหรือแตกต่างกันกับ ระบบนิเวศหรือไม่ อย่างไร

นักเรียนแสดงความคิดเห็นเชื่อมโยงระหว่างระบบนิเวศในธรรมชาติ กับระบบสังคมของมนุษย์ ครูอธิบายถึง ตัวอย่าง เรื่องหอยเชอรี่กบั ต้นข้าว มีผู้ได้และเสีย ประโยชน์ ซึง่ นักเรียนต้องการสังคมแบบนี้หรือไม่ ในความต้องการ พื้น ฐานของมนุ ษ ย์ต้ อ งการความเข้า ใจและความรัก และการอยู่ ร่ว มกัน อย่ า งมีค วามสุ ข ฉะนั น้ มนุ ษ ย์จึง ไม่ อ ยากเบีย ดเบีย นกัน ในทางกลับกันมนุษย์ต้องอยู่ดว้ ยกันแบบพึง่ พาอาศัยกัน จึงเกิดการ รวมกลุ่มของประเทศสมาชิก เช่น กลุ่มประเทศอาเซียน นักเรียนสามารถตอบได้ว่า การสือ่ สารทีเ่ ข้าใจกัน ครูอธิบ ายว่า การเข้าใจภาษาและวัฒ นธรรมเป็ นส่วนหนึ่ งในการ พัฒ นาร่วมกันเพราะการพูดจาสื่อสารกันอย่างเป็ นมิตร ทาให้รู้สกึ ปลอดภัย ดังนัน้ การทาความเข้าใจมนุ ษย์ในเรื่องความแตกต่าง สิง่ แรกคือ ภาษาและวัฒนธรรม

5.นักเรียนคิดว่าสิง่ ใดทีท่ าให้ผคู้ นในอาเซียน เข้าใจซึง่ กันและกันมากทีส่ ดุ

ตำรำงที่ 5 ตัวอย่างการตัง้ คาถามของครู บทบำทนักเรียน เมื่อครูได้แสดงบทบาทผูอ้ านวยความสะดวกและแนะนาความรูแ้ ล้ว จะทาให้ นักเรียนมีความสนใจอยากรู้ ในตัวอย่างนักเรียนสนใจคาว่า “บาย” และได้นาเสนอเรื่อง “บาย” คืออะไร จึงให้นักเรียนอยากค้นหาคาตอบ โดยครูมอบบทบาทการสร้างองค์ความรูแ้ ละค้นหาความรูจ้ ากคาถาม ข้างต้นให้นกั เรียนเป็นผูแ้ สดงบทบาทผูเ้ รียนเชิงรุก เครื่องมือ 1. คู่มอื นักสารวจ 2. แบบสอบถาม 3. แบบบันทึกความรู้ จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่าครูได้แสดงบทบาทของตนในการสร้างบรรยากาศเรื่องข้าว โดย การเชิญชวนให้เด็กคิดโดยใช้คาถาม ในปจั จัยแวดล้อมอื่นครูอาจใช้คาถามชวนคิดแตกต่างกันไป เพีอดึง ศักยภาพและทักษะต่าง ๆ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังตัวอย่าง

37

ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

ช่วงชัน้ ที่ 1 Interperso Learn how nal to learn ความ การเรียนรู้ สัมพันธ์ เพื่อการ ระหว่าง เรียนรู้ บุคคล

Process for Professiona l skills Physical and Mental ทักษะอำชีพ กระบวนกำร เรียนรูเ้ พื่อ พัฒนำ ร่ำงกำยและ จิ ตใจ

Self discipline วินยั ใน ตนเอง

Hand skills ทักษะ การใช้มอื

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อดึงศักยภำพด้ำนต่ำงๆ

 นักเรียนมีใครเป็ นเพื่อนที่ สนิททีส่ ดุ เพราะอะไร  นักเรียนอยากเรียนรูเ้ รื่อง อะไร  จะเรียนรูอ้ ย่างไรให้ สนุกสนานและได้ความรู้  จะสร้างระเบียบวินยั ได้ อย่างไร  ชอบวิชาอะไรมากทีส่ ดุ  นักเรียนชอบอ่านออกเสียง หรือไม่  เราอยากช่วยเหลือใครมาก ทีส่ ดุ  เราควรแปรงฟนั กีค่ รัง้ เพราะอะไร  อวัยวะใดสาคัญทีส่ ดุ  ผลไม้ทช่ี อบมากทีส่ ดุ คือ  ใครไม่ชอบทานผักเพราะ อะไร  อาหารมีประโยชน์อย่างไร  เราควรนอนกีท่ ุ่ม  เราควรช่วยเหลือพ่อแม่ทา อะไรบ้าง

38 ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

Professional skills ทักษะอำชีพ

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อดึงศักยภำพด้ำนต่ำงๆ

กระบวนกำร เรียนรู้เพื่อ พัฒนำร่ำงกำย และจิ ตใจ

ช่วงชัน้ ที่ 2 SelfUtilization การเข้าใจ ตนเอง

Literacy & Systcmatic Working Logical thinking Skills ความสามา การคิดอย่าง ทักษะการ รถในการ เป็นระบบ ทางาน อ่านออก และมีเหตุผล เบือ้ งต้น เขียนได้ และตรรกะ ต่าง ๆ

 เมื่อโตขึน้ นักเรียนอยาก เป็ นอะไรเพราะอะไร ลอง ค้นคว้าหรือไม่ว่าอาชีพที่ อยากเป็ นทาเกีย่ วกับ อะไรบ้าง  ทาไมถึงคิดอย่างนัน้ เพราะอะไร  นักเรียนคิดว่าตนเองถนัด เรื่องอะไร  คาทีอ่ อกเสียงเหมือนกัน ทาไมถึงต่างกันและใน ภาษาอื่น ๆ นักเรียนคิดว่า มีหรือไม่  นักเรียนคิดว่าถูกผิดตัดสิน อย่างไร  เราเกิดมาทาไม  เราเกิดขึน้ มาได้อย่างไร  นักเรียนชอบอ่านหนังสือ อะไร  ได้อะไรจากการอ่าน หนังสือเรื่องทีช่ อบ  นามสกุลของเรามาจากที่ ใด  สิง่ ทีต่ อ้ งทาเมื่ออยู่กบั ผูอ้ ่นื  การเรียนมีความสาคัญกับ เราอย่างไร  อยากเรียนอะไรมากทีส่ ดุ

39 ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

Professional skills ทักษะอำชีพ

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อดึงศักยภำพด้ำนต่ำง ๆ

กระบวนกำร เรียนรู้เพื่อ พัฒนำร่ำงกำย และจิ ตใจ

ช่วงชัน้ ที่ 3

Flexibility

มีความ ยืดหยุ่น

Application Academic for Asean life

การ ประยุกต์ใช้ และการเข้าใจ ผูค้ นใน อาเซียน

Pubic minded

Mangering Skills

การมีจติ สารธณะ

มีทกั ษะการ บริหาร

 เมื่อมีปญั หานักเรียน ปรึกษาใคร เพราะเหตุใด  นักเรียนได้นาความรูท้ ่ี เรียนมานาไปแก้ปญั หา อะไรบ้าง  นักเรียนเข้าใจการเข้าสู่ AEC หรือไม่อย่างไร  นักเรียนรูจ้ กั ชาติใดมาก ทีส่ ดุ ใน AECเพราะเหตุใด  เมื่อต้องไปต่างประเทศต้อง ทาอย่างไรบ้าง  วัฒนธรรมมีความสาคัญ อย่างไร เพราะอะไร  การเข้าใจผูค้ นต้องทา อย่างไรบ้าง  ทาไมต้องมีภาษา  นักเรียนอยากเรียนรูภ้ าษา ใดเพิม่ เติม เพราะเหตุ  การเรียนรูท้ ส่ี าคัญทีส่ ดุ คือ  กาทางานกับผูค้ นสิง่ ใด สาคัญทีส่ ดุ เพราะเหตุใด  เราเกิดมาทาไม  อยากสร้างสิง่ ใดให้กบั ใคร มากทีส่ ดุ เพราะเหตุใด  เมื่อมีเหตุน้าท่วมนักเรียน อยากทาสิง่ ใดมากทีส่ ดุ  อยากแก้ปญั หาให้กบั ใคร มากทีส่ ดุ เพราะเหตุใด

40 ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

Professional skills ทักษะอำชีพ

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อดึงศักยภำพด้ำนต่ำง ๆ

กระบวนกำร เรียนรู้เพื่อ พัฒนำร่ำงกำย และจิ ตใจ ช่วงชัน้ ที่ 4

Innovator

Multi

Cross cultural

เป็นนวัตกร

disciplinary

การเข้าใจการ ข้ามวัฒนธรรม

มีความรู้ แบบสหวิชาชีพ

Coperate with Sufficiency Eco. การใช้ชวี ติ โดย นาปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้

   

       

ถ้านักเรียนสร้างสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ได้อย่างสร้างอะไรเพราะอะไร สิง่ ทีน่ กั เรียนอยากได้มากทีส่ ุด คืออะไร นักเรียนอยากเรียนสายใดมาก ทีส่ ุด นักเรียนเลือกอาชีพได้อยาก เป็นอะไร และมีความเข้าใจ อย่างไร นักเรียนมีความเข้าใจเรือ่ งผูค้ น และวัฒนธรมอย่างไรบ้าง นักเรียนมีแนวทางการใช้ชวี ติ อย่างไรเพราะอะไร สิง่ ทีอ่ ยากทามากทีส่ ุดใน อนาคตคืออะไร หากเลือกได้อยากย้อนอดีต หรือเพราะเหตุใด ถ้าแก้ไขอดีตได้อยากแก้ไข อะไร นักเรียนคิดลักษณะบุคคลมี อะไรบ้าง การเรียรูผ้ คู้ นมีความสาคัญ หรือไม่อย่างไร สิง่ สาคัญของความเป็นมนุษย์ คืออะไร

41

ขัน้ ตอนที่ 3 ระดมควำมคิ ด บทบำทของครู ระดมความคิดกับนักเรียนและซักถามนักเรียนถึงสิง่ ทีอ่ ยากเรียนรู้ ให้นักเรียน ได้แสดงภูมคิ วามรูข้ องตนเองในเรื่องนัน้ ๆ และหาวิธกี ารค้นคว้าหาคาตอบของสิง่ ทีอ่ ยากเรียนรู้ ร่วมกัน โดยนักเรียนอาจมีความคิดทีแ่ ตกต่างกัน ดังตัวอย่างแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียนทีม่ คี วามแตกต่างทาง ความคิด ดังนี้

42

ภำพที่ 12 ตัวอย่างแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียนหลังจากระดมความคิด จะเห็นได้ว่าเมื่อระดมสมองจะเกิดความแตกต่างด้านความคิด ครูควรมีบทบาทในการอานวย ความสะดวกโดยให้นกั เรียนเป็ นผูเ้ ลือกแนวทางการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองโดยครูอาจแบ่งให้ทาเป็ นกลุ่ม หรือ ให้นัก เรียนเลือ กหัวข้อ ที่สนใจและออกแบบเวลาร่วมกันโดยในขัน้ ตอนนี้ส่ งต่ อ เป็ นบทบาทนักเรียน บทบำทนักเรียน นาเสนอสิง่ ทีต่ นเองสนใจผ่านการทา Mind map บอกสิง่ ทีต่ นเองสนใจ รับฟงั ความคิดเห็นจากผูอ้ ่นื และสามารถเชื่อมโยงกับชีวติ ประจาวันและหาข้อสรุปจากการเรียน เครื่องมือ 1. แผนภาพมโนทัศน์ 2. แบบฟอร์มการเขียนสรุปความคิดของตนเอง

43

2. S ตัวที่หนึ่ ง หมำยถึง to search การเรียนรู้แบบโครงงาน ให้นักเรียนได้เรียนรูร้ ่วมกัน ศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า แก้ปญั หาเอง และปฏิบตั จิ นจบกระบวนการของการทาโครงงาน (S) ต่อกับขัน้ ตอนที่ 4 วิเคราะห์จาแนกแยกแยะข้อมูล ทีถ่ ูกต้องและขัน้ ตอนที่ 5 ออกแบบการเรียนรูร้ ว่ มกันดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 4 วิ เครำะห์ จำแนก แยกแยะข้อมูลที่ถกู ต้อง บทบำทของครู ครูน าหัว ข้อ ต่ างๆที่นั ก เรีย นต้ อ งการเรีย นรู้ม าแยกเป็ น สาระวิช าก าหน ด จุดประสงค์และการประเมินผลทีต่ อ้ งการร่วมกันดังตัวอย่าง หัวข้อ สำระวิ ชำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ข้าว วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่ ว ยพื้น ฐานของสิ่งมีชีว ิต ความสัม พัน ธ์ข อง โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิง่ มีชวี ติ ทีท่ างานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูส้ ่อื สารสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูแ้ ละนาความรูไ้ ปใช้ ในการดารงชีวติ ของตนเองและดูแลสิง่ มีชวี ติ มาตรฐาน ว 2.1 เข้า ใจสิ่งแวดล้อ มในท้อ งถิ่น ความสัม พัน ธ์ระหว่ า ง สิง่ แวดล้อมกับสิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบ นิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ ละจิตศาสตร์ สื่อสารสิง่ ที่เรียนรู้ และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้า ใจความส าคัญ ของทรัพ ยากรธรรมชาติก ารใช้ ทรัพยกรธรรมชาติในระดับท้องถิน่ ประเทศ และโลก นาความรูไ้ ปใช้ใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ อย่างยังยื ่ น ข้าว ภาษาไทย มาตารฐาน ท.1.1 ใช้ก ระบวนการอ่ านสร้างความรู้และความคิด เพื่อ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หา ในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท.1.2 ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่ าง ๆ เขียนรายงานข้อ มูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ข้าว สังคม มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารการจัดการทรัพยากรในการ ผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และคุม้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติ วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรัก ความภูมใื จและธารงความเป็นไทย มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฎิสมั พันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบั สภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วฒ ั นธรรม มีจติ สานึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม เพื่อการพัฒนาทีย่ งยื ั่ น

44

หัวข้อ

สำระวิ ชำ

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

ข้าว

คณิตศาสตร์

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้น ฐานเกี่ย วกับ การวัด วัดและคาคคะเนของ สิง่ ของทีต่ อ้ งการวัด ั หา กาให้ เหตุ ผ ล การ มาตรฐาน ค 6.1 มีค วามสามารถในการแก้ ป ญ สื่อ สาร การสื่อ ความหมายทางคณิ ต ศาสตร์ และการน าเสนอ การ เชื่อมโยงความรูต้ ่าง ๆ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อ่นื ๆ และมี ความคิดสร้างสรรค์

ข้าว

ข้าว

ข้าว

การงานอาชีพ มาตรฐาน ง 1.1 เข้ า ใจการท าง มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ มี ท ั ก ษ ะ ั หา และเทคโนโลยี กระบวนการท างาน ทัก ษะการจัด การ ทัก ษะกระบวนการแก้ ป ญ ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สิง่ แวดล้อม เพื่อการดารงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกั ษะทีจ่ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางใน งานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนอาชีพ มีคุณธรรม และ มีเจตคติทด่ี ตี ่อ อาชีพ นาฏศิลป์และ มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศ นศิลป์ ประวัติศ าสตร์ ศิลปะ และวัฒ นธรรม เห็นคุ ณ ค่ างานทัศ นศิล ป์เป็ นมรดกทางวัฒ นธรรม ภูม ิ ปญั ญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ. 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีและวัฒนธรรม เห็น ั ญาท้ อ งถิ่น ภู ม ิ คุ ณ ค่ าของดนตรี ที่เป็ น มรดกทางวัฒ นธรรม ภู ม ิป ญ ปญั ญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิล ป์ อย่ างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ ถ่ ายทอดความรู้สกึ ความคิดอย่างอิสระ ขื่นชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน สุขศึกษาและ มาตรฐาน พ. 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การ และพลศึกษา ดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ การสร้างเสริมสมรรถาพเพื่อสุภาพ

บทบำทนั กเรียน นัก เรียนช่วยครูแบ่งแยกหัวข้อการเรียนรู้เป็ นหมวดหมู่สาระวิชากาหนด จุดประสงค์และการประเมินผลทีต่ อ้ งการร่วมกัน เครื่องมือ 1. แผนภาพมโนทัศน์การบูรณาการวิชาต่าง ๆ 2. แบบฟอร์มตารางบันทึกการแบ่งหัวข้อการเรียนรูก้ บั สาระวิชาต่าง ๆ

45

ขัน้ ตอนที่ 5 ออกแบบกำรเรียนรู้ร่วมกัน บทบำทครู ครูช่วยให้คาแนะนานักเรียนในการคิดกิจกรรมการเรียนรูส้ าหรับแต่ละหัวข้อช่วยกัน วางแผน กันมาแล้วร่วมกับนักเรียนและหาข้อสรุปร่วมกันว่าจะเลือกกิจกรรมอะไร กาหนดจุดประสงค์ และการประเมินผลการเรียนรูร้ ว่ มกันในขัน้ ตอนนี้อาจให้ครูประจาวิชามาช่วยกันหรืออาจจัดเป็นกิจกรรม ค่ายการเรียนรู้ 2-3 วัน หรือ อาจจัดในคาบชุมนุ ม ตามปจั จัยต่าง ๆ ของโรงเรียนเอื้ออานวย โดยมีการ รูปแบบการออกแบบการเรียนรูร้ ว่ มกัน ดังตัวอย่าง กิ จกรรม

วิทยาศาสตร์

ราวง

สังคม

กทอ. และ คณิตศาสตร์

ควำมคิ ด นักเรียน เราสามารถ รับประทาน อาหารอะไร ทดแทนข้าว ได้บา้ ง ราวงมาตราฐาน เกีย่ วข้าว

ควำมคิ ดครู

อาหารและ สารอาหาร

สรุปกำร เรียนรู้ ร่วมกัน ทดสอบ สารอาหาร

เห็นด้วย นักเรียนฝึก แล้วถามคาถาม ราวงเกีย่ วข้าว ชวนคิดว่า และ การละเล่น ต่าง ๆ อาหารประจา นโยบายจานา อาหารประจา ชาติของประเทศ ข้าว, เศรษฐกิจ ชาติของ สมาชิกอาเซียน พอเพียง ประเทศ สมาชิก อาเซียน, นโยบายจานา ข้าว, เศรษฐกิจ พอเพียง ผลิตน้าข้าวกล้อง เห็นด้วย ทาน้าข้าว งอก กล้องงอก

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

กำรประเมิ นผล KPA

1.นักเรียนบอกเรื่องสารอาหาร ได้

ทาการทดลอง

1. เรียนรูเ้ พลงพืน้ บ้าน การละเล่น ต่าง ๆ

ร้องได้ ราได้และการละเล่น ได้

1. นักเรียนสามารถบอก แบบทดสอบอัตนัย ลักษณะต่าง ๆ ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน 2. นักเรียนนักเรียนอธิบาย เรื่องเศรษฐกิจของอาเซียน 3. นักเรียอธิบายเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงได้

1. นักเรียนบอก เการชัง่ ตวง วัดได้

ทาน้าข้าวกล้องงอก ได้

46

บทบำทนั กเรีย น ช่วยกันคิดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับแต่ล ะหัวข้อ ที่ได้ช่ว ยกันวางแผนกัน มาแล้วร่วมกับครู และหาข้อสรุปร่วมกันว่าจะเลือกกิจกรรมอะไร กาหนดจุดประสงค์และการประเมินผล การเรียนรูร้ ว่ มกัน เครื่องมือ แบบฟอร์มตารางบันทึกการจัดการเรียนรู้ และตารางบันทึกการจัดการเรียนรู้ 3. C ตัวที่หนึ่ ง หมำยถึงto construct การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ นาความรู้ท่ไี ด้ไปบูรณาการกับวิชาอื่นๆ และนาไปใช้ได้จริงอย่าง ถูกต้อง (C) ตรงกับขัน้ ที่ 6 ลงมือปฏิบตั กิ ล่าวคือ ขัน้ ตอนที่ 6 ลงมือปฏิ บตั ิ ในขัน้ ตอนนี้เป็ นขัน้ ตอนของการลงมือทา ดังนัน้ การสร้างใบงานและใบความรูข้ องครูจงึ สาคัญ ควรเป็นอย่างทีน่ ่าสนใจ เพื่อให้เด็ก ๆ ได้ทากิจกรรมได้อย่างสนุกสนาน บทบำทของครู ออกแบบการเรียนรูแ้ ละปรับแผนการเรียน ให้สอดคล้องกับความสนใจของ นักเรียน และเรียนรูไ้ ปพร้อมกับนักเรียนโดยครูเป็ นผู้อานวยความสะดวกหรือพี่เลีย้ งคอยช่วยเหลือและ ให้คาแนะนา บทบำทนักเรียน ศึกษา ค้นคว้า ลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้ จนถึงการสรุปผลการเรียนรูแ้ ละ สร้างชิน้ งานต่างๆตรวจทานงานที่ทาและแก้ไขปรับปรุงหากเกิดข้อผิดพลาดนักเรียนหาข้อมูล/ทดลอง/ สร้างชิน้ งาน เครื่องมือ 1. ใบงาน 2. ใบบันทึกความรู้ ในขัน้ ตอนนี้ต้องมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูโ้ ดยบทบาทของครูช่วยแนะนาและให้ความรูน้ ักเรียนให้ รูจ้ กั รูปแบบในการนาเสนอข้อมูล การเรียนรูใ้ นแบบต่างๆและให้นักเรียนได้เลือกรูปแบบที่ตนเองถนัด หรือสนใจ เช่น สร้างชิน้ งาน ทา power point presentation หรือ Poster ต่างๆ บทบาทนักเรียนสรุปความรูท้ ต่ี นเองเรียนมาในแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละหัวข้อ โดยเลือกรูปแบบ การนาเสนอผลงานในรูปแบบทีต่ นเองสนใจ เครือ่ งมือนาเสนอชิน้ งานจากโปรแกรมต่าง ๆ ข้างต้น 4. C ตัวที่สอง หมำยถึง to communicat การเรียนรูใ้ นแบบของ Backward desige เป็ นวิธกี ารสอนที่ใช้ผลงานเป็ นที่ตงั ้ ว่าเมื่อนักเรียนเรียนจบ แล้วหรือ ในขณะที่เรียน ต้องมีภาระงานในระหว่างเรียนหรือมีผ ลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (C) ตรงกับ ขัน้ ตอนที่ 7 สรุปข้อมูล กล่าวคือ ขัน้ ตอนที่ 7 สรุปข้อมูล บทบำทครู ครูให้ค วามรู้นัก เรียนให้รู้จกั รูป แบบในการนาเสนอ เช่นสร้างชิ้นงาน ทา power point presentation หรือ Poster ต่างๆส่วนในช่วงชัน้ เด็กเล็กก็อาจนาเสนอเป็ นผลงานทีน่ ักเรียนทาและ สามารถสร้างความภูมใิ จแก่นักเรียน หรือในชัน้ เด็กโตก็อาจจัดเป็ นนิทศั น์การการเรียนรูใ้ นวันสาคัญ ๆ ของโรงเรียนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจและกาลังใจต่อไป

47

บทบำทนั กเรีย น สรุป ความรู้ท่ีต นเองเรียนมาในแต่ ล ะกิจกรรมหรือ แต่ ล ะหัว ข้อ โดยเลือ ก รูปแบบการนาเสนอผลงานในรูปแบบทีต่ นเองสนใจ เครื่องมือ 1. ชิน้ งานทีจ่ ะนาเสนอ 2. แบบประเมินตนเอง 5. S ตัวที่สอง หมำยถึง to service เมือ่ จบการเรียนรูใ้ นแต่ละหน่วยแล้ว นักเรียนสามารถนาเสนอ พัฒนาปรับปรุงได้ เพื่อเกิดประโยชน์ต่อ ตนเองและคนอื่น ๆ (S) ตรงกับขัน้ ตอนที่ 8 ต่อยอดองค์ความรู้ ขัน้ ตอนที่ 8 ต่อยอดองค์ควำมรู้ บทบำทของครู ครูช่วยแนะนานักเรียนในการต่อยอดองค์ความรู้ ถามคาถามเพื่อให้นักเรียน ได้คดิ ต่อยอดจากสิง่ ทีต่ นเองเรียนรูม้ า ช่วงชัน้

Life skills

Knowledge

ทักษะชีวิต

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

กระบวนกำ รเรียนรู้เพื่อ พัฒนำ ร่ำงกำยและ จิ ตใจ

Professional skills

ทักษะ อำชีพ

ช่วงชัน้ ที่ 1 Interpersonal ความ สัมพันธ์ ระหว่างบุคคล

Learn how to learn การเรียนรู้ เพื่อการ เรียนรู้

Self discipline วินยั ในตนเอง

Hand skills ทักษะ การใช้มอื

ช่วงชัน้ ที่ 2 SelfUtilization การเข้าใจ ตนเอง

Literacy & Logical ความ สามารถใน การอ่านออก เขียนได้และ ตรรกะ ต่าง ๆ

Systcmatic thinking การคิดอย่าง เป็ นระบบและมี เหตุผล

Working Skills ทักษะการ ทางาน เบือ้ งต้น

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อต่อยอดองค์ควำมรู้

 นักเรียนอยากนาความรู้ เรื่องนี้ไปใช้กบั ใคร  นักเรียนจะนาไปสร้างวินยั ในตนเองได้หรือไม่  นักเรียนอยากนาความรูไ้ ป สร้างเป็ นศิลปะหรือไม่ อย่างไร  นักเรียนได้เรียนรูเ้ รื่องนี้ แล้วนาไปพัฒนาตนเองได้ อย่างไร  นักเรียนให้เหตุผลต่อสิง่ ที่ ได้เรียนด้วยกระบวนการ ใดและจะนาไปใช้ต่อไปได้ อย่างไร  นักเรียนจะนาความรูไ้ ปใช้ ในการทางานในอนาคตได้ อย่างไร

48

ช่วงชัน้

Life skills

ทักษะชีวิต

Knowledge

ควำมรู้

Process for Physical and Mental

กระบวน กำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำ ร่ำงกำยและ จิ ตใจ ช่วงชัน้ ที่ 3 Flexibility มีความยืดหยุ่น

ช่วงชัน้ ที่ 4 Innovator เป็ นนวัตกร

Application Academic for Asean life การ ประยุกต์ใช้ และการ เข้าใจผูค้ นใน อาเซียน Multi disciplinary มีความรู้ แบบสห วิชาชีพ

Professional skills

ทักษะ อำชีพ

Pubic minded Mangering การมีจติ Skills สารธณะ มีทกั ษะการ บริหาร

Cross cultural การเข้าใจการ ข้ามวัฒนธรรม

Coperate with Sufficiency Eco การใช้ชวี ติ โดยนา ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้

ตัวอย่ำงคำถำม เพื่อต่อยอดองค์ควำมรู้

 จากการเรียนรูน้ กั เรียนจะ นาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ใน อนาคตได้อย่างไร  นักเรียนจะนาความรูไ้ ป สร้างอะไรได้บา้ งเพื่อ ช่วยเหลือสังคม  สิง่ ทีไ่ ด้เรืยนรูไ้ ปจะนาไป ต่อยอดความรูด้ า้ นใดได้ บ้าง  จากสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูไ้ ป นักเรียนคิดว่าสามารถ สร้างนวัตกรรมอะไรได้ บ้าง  นักเรียนสามารถนาความรู้ ไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ อย่างไร  สิง่ ทีไ่ ด้จากการเรียนรูแ้ ละ จะนาไปต่อยอดองค์ ความรูค้ อื อะไรและเพราะ อะไร

บทบำทนั กเรีย น นักเรียนสรุปสิ่งที่ต นเองได้เรียนรู้มาตลอดโครงงาน รู้จกั เชื่อมโยงสิง่ ที่ได้ เรียนรูก้ บั ชีวติ จริงและคิดต่อยอดองค์ความรูเ้ พื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม เครื่องมือ แบบฟอร์มบันทึกสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูแ้ ละการต่อยอดองค์ความรู้

49

บทบาทที่สาคัญ ของชุดเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นี้ คอื เป็ นเครื่องมือ เสริมสร้างนิส ยั รัก การพัฒ นาตนเองของผู้ใช้ ท าให้ผู้ใช้เกิดความเปลี่ยนแปลงจากภายใน ด้ว ย “ชุ ด คาถามชวนถก-อภิปราย” และเป็ นประเด็นทางสังคมประเด็นหนึ่งที่จะเป็ นจุดเชื่อมให้เกิดเครือข่ายใน การปฏิรปู การศึกษาทีส่ มาชิกคือครูผปู้ ฏิบตั งิ านจริง โดยมีบริบทและปจั ยั สิง่ แวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ ใน การจัดการเรียนดังกล่าว อาจมีการปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมของการบริหารของโรงเรียนและ การออกแบบการเรียนการสอนของครู ดังตัวอย่าง วิ ธีกำรจัดกำรเรียนกำรสอน

เวลำ

1. การจัดกิจกรรมเป็ นชัวโมงโครงงาน ่

1 คาบต่อสัปดาห์

2. การจัดกิจกรรมค่ายโครงงาน

2- 3 วันต่อ ภาคการศึกษา 3-5 วันต่อ ภาคการศึกษา 5-7 วันต่อ ภาคการศึกษา ตามความเหมาะสมของเนื้อหาและจุดประสงค์ของผูส้ อน

3. การจัดกิจกรรมโครงงานในวิชาเรียน

ตามชัวโมงการเรี ่ ยน

4. การจัด กิจกรรมเรียนรู้เป็ น โครงงาน ร่วมกันทุกวิชาในระดับชัน้

ตามชัวโมงการเรี ่ ยน

5. การจัด เป็ น กิ จ กรรมชุ ม ชม โดยใช้ โค รงงาน เป็ น ก ารเรี ย น รู้ เ รื่ อ งที่ นักเรียนสนใจ

1 คาบต่อสัปดาห์

คณะผู้วจิ ยั จึงเสนอเป็ นแนวทางในการจัดกาเรียนรู้ เพื่อเข้าใจของชุมชนและสร้างความยังยื ่ นของตัว ผูเ้ รียนเพราะได้ทาความเข้าใจรากความเป็ นไทยและชุมชนของตนในบริบทของภูมภิ าคและหากต้องไป ชุมชนอื่นก็ใช้ความเข้าใจชุมชนเพื่อทางานหรืออยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดังตัวอย่างเรื่องการตามหา “บาย” เพื่อเป็นตัวอย่างสาหรับครูผสู้ นใจได้นาไปประยุกต์ใช้ต่อไป

50

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยำวชนไทย เพื่อเตรียมควำมพร้อมสู่ประชำคมอำเซียน 1. ขัน้ เตรียมครู บทบาทครู

เตรียมความพร้อ มของครูโดยมีแบบประเมิน ตนเอง ด้านการเป็ น ผู้ อานวยความสะดวก และการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ เครือ่ งมือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความรูค้ วามเข้าใจของครูต่อการเป็ นผู้อานวย ความสะดวกและสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ขัน้ เตรียมครูบทบาทครูเตรียมความพร้อมของครูโดยมีแบบประเมิน ตนเองเพื่อเป็ นครูผู้อานวย ความสะดวกในการเรียนรูข้ องนักเรียนเครือ่ งมือแบบประเมินตนเองด้านการเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกใน การเรียนรูโ้ ดยมีเครือ่ งมือในการประเมินความพร้อมของครูโดยวัดผลตามคะแนนดังนี้ คะแนน เกณฑ์ 1-5 คะแนน ยังไม่พร้อม 6-11 คะแนน มีความพร้อมพอสมควร 12 -16 คะแนน มีความพร้อมมาก 17 – 21 คะแนน มีความพร้อมมากทีส่ ุด แบบสอบถำมเกี่ยวกับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ กำรเป็ นผูอ้ ำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ของครู คำชีแ้ จงให้คุณครูสำรวจตนเองว่ำมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกีย่ วกับกำรเป็นผูอ้ ำนวยควำมสะดวกในกำร เรียนรู้ หรือไม่ ให้ใส่เครือ่ งหมำย ×หน้ำข้อทีม่ ี และใส่เครือ่ งหมำย หน้ำข้อทีไ่ ม่ม ี ………....... 1.พร้อ มใช้ค าถามกระตุ้น ส่ งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสร้างองค์ค วามรู้ด้ว ย ตนเอง ………....... 2.พร้อมช่วยคิดค้นสร้างสรรค์ คอยช่วยเหลือชีแ้ นะ ………....... 3.พร้อมจัดสภาพการณ์เพื่อให้เกิดการเรียนรูใ้ นมีความสนุกสนาน ………....... 4.พร้อมทาหน้าทีเ่ ป็นสื่อกลางคอยให้ความช่วยเหลือในการเรียนรู้ แนะนาผูเ้ รียน ………....... 5.พร้อมตัง้ คาถาว่า“ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร”เพื่อช่วยนักเรียนให้เกิด การเชื่อมโยง ………....... 6.พร้อมช่วยให้ผเู้ รียนนาสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หาอื่นๆ ………....... 7.พร้อมช่วยให้ผเู้ รียนเกิดความตัง้ ใจและตอบสนองในการเรียนรู้ ………....... 8.พร้อมแจ้งจุดประสงค์การเรียนรูแ้ ก่นกั เรียน ………....... 9.พร้อมให้นกั เรียนอภิปรายความสัมพันธ์ของเนื้อหาทีเ่ รียนรูก้ บั เนื้อหาอื่น ๆ ………....... 10.พร้อมแสดงให้เห็นถึงการตอบสนองทีเ่ หมาะสม เช่น ให้กาลังใจ ถามกลับ ชี้ ชัดความถูกต้อง ………....... 11.พร้อมตัง้ คาถามช่วยทาให้ผเู้ รียนเกิดความตระหนักในคุณค่าของการเรียนรู้

51

………....... ………....... ………....... ……….......

………....... ………....... ………....... ………....... ………....... ……….......

เช่น เราเรียนรูเ้ รือ่ งนี้ไปทาไม เรือ่ งนี้มคี วามสาคัญอย่างไร เมือ่ เรียนเรือ่ งนี้ 12.พร้อมช่วยให้เกิดการตัง้ เป้าหมายการวางแผนการดาเนินงานและการติดตาม ผลด้วยตนเอง 13. พร้อมกับการสื่อสารได้แก่ การคาพูดทีช่ ่วยทาให้ผเู้ รียนเกิดความรูส้ กึ เชื่อมัน่ ในตนเองมากยิง่ ขึน้ 14.พร้อ มช่ ว ยเสริม สร้า งการมีส่ ว นร่ว มในการเรีย นรู้ข องผู้เ รีย น ด้ว ยการใช้ กระบวนการกลุ่ม 15.พร้อมใช้คาถามที่บ่งชีถ้ งึ พฤติกรรมการอานวยความสะดวกในการเรียนรูเ้ ช่น “นักเรียนคิดว่าจะปรับปรุงการทางานของตนให้ดขี น้ึ ได้อย่างไรการเรียนครัง้ นี้ม ี ประโยชน์อย่างไร?” 16.พร้อมเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้เลือก 17.พร้อมชีแ้ นะแนวทางแก่ผเู้ รียนในการวางแผน 18.พร้อมเป็ นแบบอย่างที่ดใี นการกาหนดจุดมุ่งหมายของบทเรียนและกิจกรรม การเรียนรู้ 19.พร้อมส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดความตระหนักในความสาคัญของการวางแผน 20.พร้อมใช้คาพูดทีช่ ่วยเสริมสร้างความรูส้ กึ ท้าทายในการเรียนรู้ 21.พร้อมช่วยเสริมสร้างให้ผเู้ รียนมีการปรับเปลีย่ นตนเอง

2. สำรวจชุมชน หำแรงบันดำลใจ บทบำทครู สารวจสถานที่ เส้นทางและติดต่อกับแหล่งชุมชนใกล้โรงเรียนทีจ่ ะพา นักเรียนไปศึกษาเรียนรูพ้ ร้อมทัง้ ติดต่อวิทยากรหรือผูเ้ ชีย่ วชาญไว้ให้คาแนะนาแก่นักเรียน หลังจากนัน้ ครูจงึ พานักเรียนไปทัศนศึกษา พร้อมกับกระตุน้ ความสนใจครูตงั ้ คาถามเกีย่ วกับเรื่องทีน่ กั เรียน สนใจ หรือครูมจี ุดประสงค์จะสร้างบทเรียนรูเ้ พื่อนาไปสู่จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การมีทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ดังนัน้ การทาความเข้าใจ วัฒนธรรมโดยจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 นัน้ ต้องเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียน ได้สร้างสรรค์องค์ความรูด้ ว้ ย ตนเอง ทางคณะผู้วจิ ยั จึงนาเสนอ ชุดการเรียนรูเ้ รื่อง ภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียนตอนปฏิบตั กิ าร ตามล่าหา“บาย” เพื่อเป็ นตัวอย่างในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้ตนเอง ตลอดจนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อก้าวนาประเทศอื่น ผ่านเครื่องมือการจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษ ที่ 21 ดังตัวอย่าง

52

ตำรำงที่ 6 แนวคาถามและแนวคาตอบสาหรับครู แนวคำถำมสำหรับครู 1. ชีช้ วนให้นกั เรียนสังเกตสิง่ มีชวี ติ ทีม่ ี ความสัมพันธ์กนั จากสิง่ ทีพ่ บเห็นในท้องนา เพื่อเชื่อมโยงถึงเรือ่ ง ระบบนิเวศ ห่วงโซ่ อาหาร สายใยอาหาร เป็ นต้น

2.นักเรียนคิดว่าต้นข้าวกับหอยเชอรีม่ ี ความสัมพันธ์กนั ในระบบนิเวศลักษณะใด

แนวคำตอบของครู นักเรียนสามารถบอกความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวติ ที่ อาศัยอยู่ในระบบนิเวศได้ เช่น สังเกตหอยเชอรีม่ า เกาะที่ต้นข้าว และสามารถบอกได้ว่า ข้าวและท้อง นาเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของหอยเชอรี่ ครูจงึ อธิบาย เรื่อ งระบบนิ เ วศวิท ยาว่ า ความสัม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง สิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศเดียวกัน จะ 3 รูปแบบ คือ 1. พึ่ ง พาอาศั ย กั น เป็ น การอยู่ ร่ ว มกั น ของ สิง่ มีชวี ติ 2 ชนิด ที่ทาให้ฝ่ายหนึ่งและทัง้ 2 ฝ่ า ยได้ ป ระโยชน์ โดยที่ ฝ่ า ยใดไม่ เ สี ย ประโยชน์เลย 2. ปฏิ ป กั ษ์ ต่ อ กั น เป็ น การอยู่ ร่ ว มกั น ของ สิง่ มีชวี ติ โดยฝ่ายหนึ่ง จับอีกฝ่ายหนึ่งเป็ น อาหารเรีย กว่ า ผู้ล่ า ส่ ว นฝ่ ายที่ถู ก จับ เป็ น อาหารเรียกว่า เหยือ่ 3. แบบเป็ น กลางต่ อ กัน เป็ น การอยู่ร่ว มกัน ของสิง่ มีชวี ติ ที่เป็ นอิสระต่อกันไม่มฝี ่ายหนึ่ง ฝา่ ยใดได้หรือเสียประโยชน์ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ ความสัมพันธ์กนั ของหอยเชอรี่ ต้นข้าว หรือสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ครูอ ธิบ ายว่ า ต้น ข้าวกับ หอยเชอรี่อ ยู่ร่ว มกัน โดย หอยเชอรีจ่ ะกัดกินต้นข้าวซึง่ เป็ นการอยู่ร่วมกันแบบ เป็ น ปฏิป กั ษ์ ต่ อ กัน กล่ า วคือ หอยเชอรี่ เป็ น ผู้ ไ ด้ ประโยชน์ และต้นข้าว เป็ นผู้เสียประโยชน์ จากการ ถู ก หอยเชอรี่กัด กิน ใช้เ ป็ น ที่อ ยู่อ าศัย และแหล่ ง ขยายพันธุ์

53

แนวคำถำมสำหรับครู 3.นักเรียนคิดว่า แต่ละชุมชนหรือสังคมมี ความสัมพันธ์กนั อย่างไร

4.นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดจึงมีการ รวมกลุ่มกันระหว่างประเทศสมาชิกใน ภูมภิ าคอาเซียน เหมือนหรือแตกต่างกัน กับระบบนิเวศหรือไม่ อย่างไร

5.นักเรียนคิดว่าสิง่ ใดทีท่ าให้ผคู้ นใน อาเซียนเข้าใจซึง่ กันและกันมากทีส่ ุด

แนวคำตอบของครู นักเรียนแสดงแนวคิดเกีย่ วกับสังคมในมุมมอง นักเรียน ครูอ ธิบ ายเรื่อ งความ แตกต่ า งกัน ของกลุ่ ม คนใน สังคมแต่ละสังคม กล่าวคือ ในสังคมหนึ่งจะประกอบ ไปด้วยบุคคลทีม่ สี ถานภาพและบทบาทในสังคม เช่น ผู้ มีสถานภาพเป็ น พ่อ ผู้หญิงมีสถานภาพ เป็ นแม่ พ่ อ มีบ ทบาทหาเลี้ ย งครอบครัว ส่ ว นแม่ จะมี บทบาทในการเลี้ย งดู ลู ก ซึ่ง เป็ น กลุ่ ม ปฐมภู ม ิใ น สังคม ส่วนทีใ่ หญ่ขน้ึ คือ กลุ่มทุตยิ ภูม ิ จะเกี่ยวข้อง สัม พัน ธ์กัน มากขึ้น กล่ า วคือ กลุ่ ม ชนหลายกลุ่ ม รวมกั น กลายเป็ น ภาคส่ ว น จากนั ้น ก็ ก ลายเป็ น ประเทศ จากประเทศหลาย ๆ ประเทศก็กลายเป็ น ภูมภิ าค เช่น ภูมภิ าคอาเซียน นักเรียนแสดงความคิดเห็นเชื่อ มโยงระหว่างระบบ นิเวศในธรรมชาติกบั ระบบสังคมของมนุษย์ ครูอธิบายถึง ตัวอย่าง เรือ่ งหอยเชอรีก่ บั ต้นข้าว มีผู้ได้และเสียประโยชน์ ซึ่งนักเรียนต้อ งการสังคม แบบนี้หรือไม่ ในความต้อ งการพื้น ฐานของมนุ ษ ย์ต้อ งการความ เข้ า ใจและความรัก และก ารอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ความสุ ข ฉะนั ้น มนุ ษ ย์จ ึง ไม่ อ ยากเบีย ดเบีย นกัน ในทางกลับกันมนุษย์ตอ้ งอยู่ดว้ ยกันแบบพึง่ พาอาศัย กัน จึง เกิด การรวมกลุ่ ม ของประเทศสมาชิก เช่ น กลุ่มประเทศอาเซียน นักเรียนสามารถตอบได้ว่า การสื่อสารทีเ่ ข้าใจกัน ครูอธิบายว่า การเข้าใจภาษาและวัฒนธรรมเป็ นส่วน หนึ่งในการพัฒนาร่วมกันเพราะการพูดจาสื่อสารกัน อย่ า งเป็ น มิต ร ท าให้ รู้ส ึก ปลอดภัย ดัง นั ้น การท า ความเข้า มนุ ษ ย์ในเรื่อ งความแตกต่ าง สิ่งแรกคือ ภาษาและวัฒนธรรม

54

แนวคำถำมสำหรับครู 6.นักเรียนคิดว่าลักษณะภาษาแต่ประเทศ เป็นอย่างไรบ้าง

7.นักเรียนรูจ้ กั พืชทีช่ ่อื ว่า “บาย” หรือไม่

8.นักเรียนเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่

แนวคำตอบของครู นักเรียนสามารถอธิบายความแตกต่างด้านภาษาได้ ครูอธิบาย เรื่องลักษณะภาษาประกอบด้วย เสียงแต่ ละเสียงที่เป็ นหน่ วยที่เล็กที่สุดในภาษา ซึ่งเสียงใน ภ าษ าไท ย ป ระก อ บ ไป ด้ ว ย พ ยั ญ ช น ะ ส ระ วรรณยุกต์ แต่ ในความแตกต่ างของภาษานัน้ คือ วรรณยุกต์ ในบางภาษาไม่ม ี ดังนัน้ การศึกษาภาษา ต้องศึกษาอย่างสนุกและสร้างสรรค์ เพราะภาษาเป็ น สิ่งหนึ่งที่ม ีชีว ิต และสามารถทาความเข้าใจผู้อ่ืนได้ เพราะสิ่ ง ของ หรือ พื ช อย่ า งเดี ย วกั น หรือ ชนิ ด เดียวกัน เมื่ออยู่ต่างภูมภิ าคหรือต่างประเทศก็เรียก แตกต่างกัน ดังนัน้ เราควรศึกษาคาศัพท์ต่าง ๆ เพื่อ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นักเรียนสามารถคาดเดาคาตอบได้ ครูอธิบายเรือ่ งวงศ์คาศัพท์ทเ่ี กีย่ วกับพืชในภูมภิ าค โดยใบ้ว่ามีความเกี่ยวเนื่องกับเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนสามารถอธิบายเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงได้

ครู อ ธิ บ ายเรื่ อ ง เศ รษ ฐกิ จ พ อ เพี ย ง คื อ แน ว พระราชด าริข องพระบาท สมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห ัว พระราชทานให้กบั ชาวไทยเพื่อ ให้ได้ใช้ชีวติ อย่าง พอเพี ย งและยั ง่ ยื น โดยอยู่ กั บ ธรรมชาติ แ ละ สิ่ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ที่ม ีพื ช พัน ธุ์ ธ ัญ ญาหารใน ท้องถิน่ ซึ่งเป็ นแนวปรัชญาในการดาเนินชีวติ ของคน ไทย 9. นักเรียนลองเป็นสารวจ หรือ เป็นนักสืบ นักเรียนมีความกระตือรือร้นและมีความสนใจทีจ่ ะหา เพื่อตามหาว่า “บาย” คืออะไร คาตอบว่า “บาย” คืออะไร ครูอธิยาย นักเรียนต้องศึกษาค้นคว้าและหาคาตอบ ร่วมกัน

55

ภำพที่ 13 มโนภาพของคุณครูในการเชื่อมโยงคาถามกับเนื้อหาและโครงสร้างหลักสูตร

56

บทบำทนักเรียน เมือ่ ครูได้แสดงบทบาทผูอ้ านวยการและแนะนาความรูแ้ ล้ว จะทาให้นกั เรียนมีความสนใจอยากรู้ เรือ่ ง “บาย” ว่าคืออะไร โดยครูมอบบทบาทการสร้างองค์ความรูแ้ ละค้นหาความรูจ้ ากคาถามข้างต้นให้ นักเรียนเป็ นผูแ้ สดงบทบาทผูเ้ รียน โดยมีเครือ่ งมีดงั นี้ เครื่องมือ

1. คู่มอื นักสารวจ

2. แบบสอบถาม

3. แบบบันทึกความรู้

คู่มือนักสำรวจ สถำนที่ อำเภอบ้ำนนำ จังหวัดนครนำยก วันที่ 19 สิ งหำคม 2556 วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจในครัง้ นี้ คือ 1. เพื่อศึกษาภาษาท้องถิน่ เกี่ยวกับพืชพรรณ 2. เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมและวิถชี วี ติ ของคนในชุมชน 3. เพื่อศึกษาลักษณะของพืชในชุมชน 1 . เลือกวิ ธีกำรในกำรสำรวจชุมชน วิ ธีกำร สังเกตและจดบันทึก

เลือก รำยละเอียดที่จะสำรวจ สิ่ งที่ต้องเตรียม สมุดบันทึก/ปากกา  บันทึกสิง่ ต่าง ๆทีพ่ บ เช่น ต้นไม้ แหล่งน้า สัตว์ สิง่ ปลูกสร้าง

วำดภำพหรือถ่ำยภำพบริ เวณพื้นที่ที่ สำรวจ ระบุรำยละเอียด พูดคุยกับคนในชุมชน อื่น ๆ ตำรำงที่ 7 ตารางสารวจชุมชน

57

ข้อแนะนำก่อนออกสำรวจ  กาหนดวัตถุประสงค์ของการสารวจให้ชดั เจน  รูจ้ กั สังเกตสิง่ ต่ าง ๆ รอบตัว สิง่ ที่สงั เกตได้ อาจแบ่งเป็ นหมวดได้หลากหลาย เช่น สภาพแวดล้อม ,สิง่ ปลูกสร้าง ,ศิลปะหัตถกรรมเป็นต้น  ตัง้ คาถามเป็ น หากต้องพูดคุยกับคนในชุมชนเพื่อสอบถามข้อมูลต้องรูจ้ กั ถามคาถาม คาถามที่ดี ควรเป็ นค าถามปลายเปิ ด ไม่ใช่ค าถามที่ตอบได้เพียงใช่หรือไม่ใช่ เช่น ทำไมวัดนี้จงึ ชื่อวัดหนองแขม , สร้างขึน้ เมื่อไร  ควรค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นของสถานทีท่ จี ่ ะไปสารวจก่อนไปสารวจจริง  ในตัวอย่างนี้นกั เรียนต้องตามหาว่า “บาย” คืออะไรนักเรียนจึงต้องออกสารวจ ตามแหล่งชุมชนทีค่ รูได้ ออกแบบและวางแผนไว้แล้วโดยครูมแี บบสอบให้นกั เรียนได้ไปสอบถาม ดังตัวอย่าง แบบสอบถำม คำถำม นักเรียนคิ ดคำถำม ใคร ใครใช้คาว่า ”บาย“ ใครเป็ นคนคิดค้นปุ๋ย

อะไร

ทีไ่ หน กับใคร เมือ่ ไร ทาไม เมือ่ ใด

ใครเป็นผูน้ ามาปลูก อะไรคือบาย อะไรทีท่ าให้ “บาย” เจริญเติบโต บายอยู่ทไ่ี หน บายอยูก่ บั ใคร จะเห็นมันเมือ่ ไร ทาไมต้องปลูกข้าวในน้ า กาหดการในแต่ละครัง้ ตอนใช้ เวลาเมือ่ ใดบ้าง

คำตอบที่ได้ ทุกคน ปุ๋ยยูเรีย คิดค้นโดย นักวิชาการการเกษตร ของ กระทรวงเกษตรแห่งชาติ บราซิล ดร.คาร์โดโซ ยังไม่หลักฐานชีช้ ดั เพราะมีมาตัง้ บรรพกาลแล้ว ข้าว แสง น้ า ปุ๋ย อยูใ่ นทุ่งนา ชาวนา ฤดูฝนจะเป็ นสีเขียว ฤดูหนาวจะเป็นสีทอง เพราะข้าวเป็ นพืชทีต่ อ้ งการน้ามาก ประมาณ 3 เดือน มี นาปี และ นาปรัง นาปี ทาปีละครัง้ ส่วนนาปงั ทาปีละ 2 ครัง้

ตำรำงที่ 8 ตารางแบบสอบถามเพื่อหาคาตอบของนักเรียน

58

เมื่อนักเรียนได้คำตอบว่ำบำยคือ “ข้ำว” แล้ว นักเรียนออกสำรวจพื้นที่ ในกำรปลูกข้ำวในแหล่ง ชุมชนเพื่อวำดภำพและหำแรงบันดำลใจเพื่อต่ อยอดองค์ควำมรู้

เริ่ มสำรวจกันเถอะ !

ให้นกั เรี ยนวาดแผนที่ชุมชนที่ไปสารวจพบพืชที่ชื่อ “บาย”

3.บันทึกข้อมูลจำกกำรพูดคุยกับคนในชุมชน จากการผูค้ ุยนักเรียนได้ความรูว้ า่ “บาย” หมายถึง “ข้าว” สามารถปลูกได้ในท้องถิน่ และ

ภำพที่ 14 นักเรียนวาดภาพการทานาของชุมชน

59

สรุปควำมรู้ที่ได้จำกกำรสำรวจ การทานาโดยในประเทศไทย สามารถทาได้ 2 ครัง้ คือ นาปีและนาปรัง ฤดูทเ่ี ริม่ ทานาคือ ฤดู ฝนและเก็บเกี่ยวในฤดูหนาว และข้าวเป็ นผลผลิตเพื่อส่งออกทารายได้ให้กบั ประเทศจากนัน้ นักเรียนนา ความคิดมาวิเคราะห์และต่อยอดความคิดจากสีง่ ได้ไปพบเพื่อออกแบบการเรียนจากสถานที่ จุดมุง่ หมาย และการต่อยอดอความคิด เพื่อจะวางแผนการเรียน ดังตัวอย่าง จุดมุ่งหมำย ศึกษาเรือ่ งราวเกีย่ วกับข้าว

สถำนที่ นาข้าว

ควำมคิ ดต่ อยอด 1. ข้าวนาไปทาอะไรได้บา้ ง นวัตกรรมทีช่ ่วยในการผลิตและ เก็บเกีย่ วข้าว 2.ในภูมภิ าคอาเซียนเรียกข้าวว่า อะไรบ้าง 3.ในภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย เรียกข้าวว่า อะไรบ้าง 4.จะปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตสูง ต้องทาอย่างไร

ตำรำงที่ 9 ตารางการคิดวิเคราะห์และต่อยอดองค์ความรู้

3. ระดมควำมคิ ด บทบำทของครู

บทบำทนักเรียน เครื่องมือ

ระดมความคิดกับนักเรียนและซักถามนักเรียนถึงสิง่ ทีอ่ ยากเรียนรู้ ให้ นักเรียนได้แสดงภูมคิ วามรูข้ องตนเองในเรือ่ งนัน้ ๆ และหาวิธกี าร ค้นคว้าหาคาตอบของสิง่ ทีอ่ ยากเรียนรูร้ ว่ มกัน นาเสนอสิง่ ทีต่ นเองสนใจผ่านการทา Mind mapบอกสิง่ ทีต่ นเองสนใจ รับฟงั ความคิดเห็นจากผูอ้ ่นื และสามารถเชื่อมโยงกับชีวติ ประจาวันได้ 1. แผนภาพมโนทัศน์ 2. แบบฟอร์มการเขียนสรุปความคิดของตนเอง 3. แบบฟอร์มตารางบันทึกการระดมความคิดของกลุ่ม

60

นักเรียนเขียนแผนภำพมโนทัศน์ที่นักเรียนสนใจ

ทาไมเวลาเคีย้ ว ข้าวนานๆ จะมีรสหวาน ทาขวัญข้าว ทาอย่างไร

ทาไมภาษาถึง เรียกข้าวไม่ เหมือนกัน

บาย "ข้าว"

ในภูมภิ าคอื่น ๆ เรียกว่า อะไรบ้าง ส่วนต่าง ๆ ของ ข้าวทา ประโยชน์อะไร ได้บา้ ง

ภำพที่ 15 การเขียนแผนภาพมโนทัศน์ทน่ี กั เรียนสนใจ เมื่อ เด็ก ๆ ได้อ อกแบบผังความคิดแล้ว นักเรียนมาเขียนสรุปประเด็นสาคัญ ของตัวเองตาม แบบฟอร์มด้านล่าง ในขัน้ นี้พฒ ั นานักเรียนให้สามารถวางแผนงานจากความสนใจของตนเองได้ เพื่อ นาเสนอเพื่อนร่วมชัน้ เพื่อสรุปประเด็นความคิดเห็นร่วมกันต่อไปดังตัวอย่างด้านล่าง แบบฟอร์มเขียนสรุปควำมคิ ดของตนเอง หัวข้อ สิ่ งที่ร้แู ล้ว สิ่ งที่อยำกเรียนรู้เพิ่ มเติ ม โครงสร้างของพืช ต้น, เมล็ด, ใบ, ทาไมเวลาเคีย้ วข้าวนานๆจะมีรส ราก หวาน คาศัพท์เกีย่ ว คาว่า ”บาย“ ในภูมภิ าคอื่น ๆ เรียกว่าอะไรบ้าง กับข้าว ”ข้าว“ หมายถึง เป็นภาษาเขมร ประเพณีและ มีการทาขวัญ ทาขวัญข้าวทาอย่างไร วัฒนธรรมเกี่ยว ข้าว กับข้าว ตำรำงที่ 10 ตารางสรุปความคิดของตนเอง

วิ ธีกำรเรียนรู้ ทาการทดลอง ศึกษาค้นคว้า

ศึกษาค้นคว้า

61

เมื่อนักเรียนนาเสนอความคิดแล้วของตัวเองตามความคิดเห็นด้านบน ก็นาเสนอเพื่อน ๆ และ ครูเพื่อสรุปและหาเหตุผลร่วมกันแล้วครูสรุปลงฟอร์มการระดมความคิดกลุ่ม ในขัน้ นี้เป็ นการพัฒนาการ ฟงั ความคิดเห็นและการทางานเป็ นทีม อีกทัง้ รวมกันหาเหตุผลเพื่อตัง้ สมมุตฐิ าน เพื่อนามาซึ่งการสร้าง องค์ความรู้ ดังตัวอย่าง แบบฟอร์มตำรำงบันทึ กกำรระดมควำมคิ ดของกลุ่ม ชื่อนักเรียน ควำมคิ ดเห็น เหตุผลในกำรนำเสนอ เด็กชาย ไก่ หากเคีย้ วหรืออมข้าวไว้ในปาก ในข้าวมีน้ าตาลจริงหรือไม่จริงต้องทาการ นานๆจะมีรสหวาน ทดลอง เด็กหญิง ปลา ทาไมภาษาถึงเรียกข้าวไม่เหมือนกัน ในแต่ละกลุ่มชนได้กาหนดการสร้างและใช้ ภาษามาไม่เหมือนกัน เป็ นการตกลงกัน ในกลุ่มชนนัน้ ๆ เป็นเพราะเหตุใด เด็กชาย โต้ง ทาไมต้องทาขวัญข้าว เป็นการเรียกกาลังใจจึงควรศึกษาว่ามีการ ทาขวัญข้าวอย่างไร เด็กหญิง สวย ส่วนต่าง ๆ ของข้าวทาประโยชน์ ข้าว สามารถทาน้ าข้าวกล่องได้ มี อะไรได้บา้ ง ประโยชน์มาก น่าจะเป็นการนาไปค้าขาย และทารายได้ได้ เด็กหญิง ออม สามารถขยายการผลิตได้อย่างไร สร้างเครือ่ งทาน้ าข้าวกล่อง การทา เครือ่ งมือทาข้าวกล่องให้งา่ ยต่อการผลิต ซึง่ สามารถต่อยอดได้ เด็กชายนัด คาศัพท์เกีย่ วกับข้าว ภูมภิ าคต่างกัน คาศัพท์กต็ ่างกัน อยาก ศึกษาและเรียนรู้ ตำรำงที่ 11 ตารางบันทึกการระดมความคิดของกลุ่ม 4. วิ เครำะห์ จำแนก แยกแยะข้อมูลที่ถกู ต้อง บทบำทของครู บทบำทนักเรียน เครื่องมือ

นาหัวข้อต่างๆทีน่ กั เรียนต้องการเรียนรูม้ าแยกเป็นสาระวิชากาหนด จุดประสงค์และการประเมินผลทีต่ อ้ งการร่วมกัน นักเรียนช่วยครูแบ่งแยกหัวข้อการเรียนรูเ้ ป็ นหมวดหมู่สาระวิชา กาหนดจุดประสงค์และการประเมินผลทีต่ อ้ งการร่วมกัน 1. แผนภาพมโนทัศน์การบูรณาการวิชาต่าง ๆ 2.แบบฟอร์มตารางบันทึกการแบ่งหัวข้อการเรียนรูก้ บั สาระวิชาต่าง ๆ

62

ภำพที่ 16 แผนภาพมโนทัศน์การบูรณาการเนื้อหาวิชากับสิง่ ทีน่ กั เรียนสนใจ

63

แบบฟอร์ มตารางบันทึกการแบ่ งหัวข้ อการเรี ยนรู้ กบั สาระวิชาต่ างๆ หัวข้อ สำระวิ ชำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ข้าว วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสิง่ มีชวี ติ ทีท่ างานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูส้ ่อื สารสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูแ้ ละนาความรูไ้ ปใช้ ในการดารงชีวติ ของตนเองและดูแลสิง่ มีชวี ติ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ความสัมพันธ์ระหว่าง สิง่ แวดล้อมกับสิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ ในระบบ นิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ ละจิตศาสตร์ สื่อสารสิง่ ทีเ่ รียนรู้ และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติการใช้ ทรัพยกรธรรมชาติในระดับท้องถิน่ ประเทศ และโลก นาความรูไ้ ปใช้ใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ อย่างยังยื ่ น ข้าว

ภาษาไทย

ข้าว

สังคม

มาตารฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิด เพื่อ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หา ในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน มาตรฐานท.1.2ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ และเขียน เรือ่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารการจัดการทรัพยากรในการ ผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และคุม้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติ วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรัก ความภูมใื จและธารงความเป็ นไทย มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฎิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทาง กายภาพทีก่ ่อให้เกิดการสร้างสรรค์วฒ ั นธรรม มีจติ สานึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม เพื่อการพัฒนาทีย่ งยื ั่ น

64

หัวข้อ

สำระวิ ชำ

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

ข้าว

คณิตศาสตร์

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืน้ ฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาคคะเนของ สิง่ ของทีต่ อ้ งการวัด มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา กาให้เหตุผล การ สื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การ เชื่อมโยงความรูต้ ่าง ๆ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อ่นื ๆ และมี ความคิดสร้างสรรค์

ข้าว

ข้าว

ข้าว

การงานอาชีพ มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทาง มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะ และเทคโนโลยี กระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สิง่ แวดล้อม เพื่อการดารงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกั ษะทีจ่ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางใน งานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนอาชีพ มีคุณธรรม และ มีเจตคติทด่ี ตี ่อ อาชีพ นาฏศิลป์และ มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูม ิ ปญั ญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ. 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีและวัฒนธรรม เห็น คุณค่าของดนตรี ทีเ่ ป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ภูม ิ ปญั ญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฎศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคิดอย่างอิสระ ขืน่ ชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน สุขศึกษาและ มาตรฐาน พ. 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การ และพลศึกษา ดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ การสร้างเสริมสมรรถาพเพื่อสุภาพ ตำรำงที่ 12 ตารางบันทึกสาระการเรียนรูก้ บั มาตฐานการเรียนรู้

65

5. ออกแบบกำรเรียนรู้ร่วมกัน บทบำทครู

บทบำทนักเรียน

เครื่องมือ

ช่วยให้คาแนะนานักเรียนในการคิดกิจกรรมการเรียนรูส้ าหรับแต่ละ หัวข้อทีไ่ ด้ช่วยกันวางแผน กันมาแล้วร่วมกับนักเรียนและหาข้อสรุป ร่วมกันว่าจะเลือกกิจกรรมอะไร กาหนดจุดประสงค์และการประเมินผล การเรียนรูร้ ว่ มกัน ช่วยกันคิดกิจกรรมการเรียนรูส้ าหรับแต่ละหัวข้อทีไ่ ด้ช่วยกันวางแผน กันมาแล้วร่วมกับครู และหาข้อสรุปร่วมกันว่าจะเลือกกิจกรรมอะไร กาหนดจุดประสงค์และการประเมินผลการเรียนรูร้ ว่ มกัน แบบฟอร์มตารางบันทึกการจัดการเรียนรู้

ในขัน้ ตอนนี้เป็ นขัน้ ตอนของการเรียนรูร้ ่วมกันระหว่างครูกบั นักเรียนที่จะทาหาให้นักได้มสี ่วน ร่วมในการจัดการเรียนรู้ เมื่อนักเรียนแต่ละคนได้เสนอความคิดเห็นจองตนเองแล้วก็นาการมาสรุปรวม หัวข้อทีใ่ กล้เคียงกันสร้างจุดประสงค์และการประเมินผลร่วมกัน ดังตัวอย่าง แบบฟอร์มตำรำงบันทึกกำรจัดกำรเรียนรู้ กิ จกรรม ควำมคิ ด ควำมคิ ดครู สรุปกำร นักเรียน เรียนรู้ร่วมกัน วิทยาศาสตร์

การอ่าน และ การเขียน

ราวง

เราสามารถ รับประทาน อาหารอะไร ทดแทนข้าว ได้บา้ ง ฝึกอ่าน

อาหารและ สารอาหาร

ทดสอบ สารอาหาร

ฝึกเขียน

ฝึกอ่าน, ฝึกเขียน

ราวง มาตราฐาน เกีย่ วข้าว

เห็นด้วย แล้วถาม คาถามชวน คิดว่า

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

1.นักเรียนบอกเรือ่ ง สารอาหารได้

1. นักเรียนสามารถอ่าน วิเคราะห์สานวนเกีย่ วข้าวได้ 2.นักเรียนเขียนเรียงความ เกีย่ วข้าวได้ 3.นักเรียนบอกคาศัพท์เกีย่ ว ข้าวในอาเซียนได้ นักเรียนฝึก รา 1. เรียนรูเ้ พลงพืน้ บ้าน วงเกีย่ วข้าว การละเล่น ต่าง ๆ และการละเล่น ต่าง ๆ

กำร ประเมิ นผล KPA ทาการทดลอง

เขียน เรียงความ

ร้องได้ ราได้และเล่ การละเล่นได้

66

กิ จกรรม

ควำมคิ ด นักเรียน

ควำมคิ ดครู

สรุปกำร เรียนรู้ร่วมกัน

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

สังคม

อาหารประจา ชาติของ ประเทศ สมาชิก อาเซียน

นโยบาย จานาข้าว, เศรษฐกิจ พอเพียง

อาหารประจา 6. นักเรียนสามารถบอก ชาติของ ลักษณะต่าง ๆ ของ ประเทศ ประเทศสมาชิกอาเซียน สมาชิก 7. นักเรียนนักเรียนอธิบาย อาเซียน, เรือ่ งเศรษฐกิจของ นโยบายจานา อาเซียน ข้าว, เศรษฐกิจ 8. นักเรียอธิบายเรือ่ ง พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงได้

กทอ. และ คณิตศาสตร์

ผลิตน้าข้าว กล้องงอก

เห็นด้วย

ทาน้ าข้าว กล้องงอก

1.นักเรียนบอกหลักการ ชัง่ ตวง วัดได้

กำร ประเมิ นผล KPA แบบทดสอบ อัตนัย

ทาน้ าข้าว กล้องงอกได้

ตำรำงที่ 13 ตารางบันทึกการจัดการเรียนรู้ 6. ลงมือปฎิบัติ บทบำทของครู

ช่วยสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรูใ้ ห้กบั นักเรียน คอยอานวยความสะดวกใน การเรียนรูแ้ ละการทากิจกรรมต่างๆ ออกแบบการเรียนรูแ้ ละปรับแผนการเรียน ให้สอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน และเรียนรูไ้ ปพร้อมกับนักเรียน บทบำทนักเรียน ศึกษา ค้นคว้า ลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้ จนถึงการสรุปผลการเรียนรูแ้ ละ สร้างชิน้ งานต่างๆตรวจทานงานทีท่ าและแก้ไขปรับปรุงหากเกิดข้อผิดพลาด นักเรียนหาข้อมูล/ทดลอง/สร้างชิน้ งาน เครื่องมือ 1. ใบงาน 2.ใบบันทึกความรู้

67

ในขัน้ ตอนนี้เป็นขัน้ ตอนของการลงมือทา ดังนัน้ การสร้างใบงานและใบความรูข้ องครูจงึ สาคัญควร เป็นอย่างทีน่ ่ าสนใจ เพื่อให้เด็ก ๆ ได้ทากิจกรรมได้อย่างสนุกสนาน ดังตัวอย่าง

ใบควำมรู้ที่1 เรื่อง สำรอำหำรในข้ำว สำระกำรเรียนรู้ วิ ทยำศำสตร์ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถบอกเรือ่ งสารอาหารได้ KPA ทาการทดลองได้ ส่วนประกอบและคุณค่าทางโภชนาการของสารอาหารในเมล็ดข้าว เมล็ดข้าวประกอบด้วยเปลือกหุม้ เมล็ดหรือแกลบ (Hull หรือHusk) ซึง่ จะหุม้ ข้าวกล้องในเมล็ดข้าวกล้อง ประกอบด้วยจมูกข้าวหรือคัพภะ (Embryo หรือGerm) ราขาวและเมล็ดข้าวขาวหรือเมล็ดข้าวสาร (Endosperm) ดังรูปที1่ ส่วนคุณค่าทางโภชนาการแร่ธาตุต่างๆและวิตามินมีอยูม่ ากมายในทุกส่วนของ เมล็ดข้าว

68

รูปแสดงส่วนประกอบของเมล็ดข้าว (ข้าวสารแกลบจมูกข้าวและราข้าว)

ส่วนประกอบของเมล็ดข้ำว 1. แกลบประกอบไปด้วยโปรตีนไขมันเยื่อใยคาร์โบไฮเดรตเถ้าสารซิลกิ าแคลเซียมฟอสฟอรัสลิกนิน เซลลูโลสเพนโตแซนเฮมิเซลลูโลสและอื่นๆ (ตารางที1่ ) เราสามารถนาแกลบไปใช้งานได้หลายอย่างเช่น ทาปุ๋ยใส่ตน้ ไม้นาไปเผาใช้เป็ นพลังงานความร้อนได้เป็ นขีเ้ ถ้าใช้ทาสบู่หรือใส่ในนาข้าวเพื่อปรับสภาพดิน และช่วยลดการทาลายของโรคและแมลงศัตรูขา้ วใช้ผสมดินเหนียวเป็นส่วนประกอบของอิฐฯลฯ 2. ข้ำวกล้องเมื่อนาข้าวกล้องมาขัดเอาผิวออกจะได้ราหยาบและจมูกข้าว (5 – 8 %), ราละเอียดและ จมูกข้าว (2 – 3 %) และข้าวสาร (60 -73 %) องค์ประกอบหลักของเมล็ดข้าวคือคาร์โบไฮเดรตหรือแป้ง ข้าว (Starch) 3. คำร์โบไฮเดรตหรือแป้ งข้ำวข้าวจะมีแป้งอยู่90 % ของน้ าหนักแห้งเม็ดแป้ง20 – 60เม็ดอัดรวมกัน อยู่ในอมิโลพลาสและล้อมรอบเม็ดแป้งด้วยโปรตีนแป้งข้าวสามารถแยกออกเป็ นองค์ประกอบย่อย2ชนิด ได้แก่อมิโลเปคติน (Amylopectin) และอมิโลส (Amylose) 3.1อมิโลเปคตินเป็ นแป้งที่เป็ นโพลิเมอร์ของน้ าตาลกลูโคสมีโครงสร้างโมเลกุลเหมือนกิง่ ไม้โดยมีพนั ธะ α 1-4 D เชื่อมน้ าตาลกลูโคสเป็ นเส้นยาวและพันธะα 1-6 D เชื่อมน้ าตาลกลูโคสที่แตกแยกออกจาก เส้นตรงคุณสมบัติของอมิโลเปคตินทาปฏิกริ ยิ ากับสารไอโอดีนได้สมี ่วงหรือน้ าตาลแดงดูดซั บไอโอดีน และเซลลูโลสได้ต่าและย่อยสลายด้วยเอ็นไซม์β-amylase ได้ต่า

69

3.2อมิโลสเป็ นแป้งทีเ่ ป็ นโพลิเมอร์ของน้ าตาลกลูโคสเช่นกันมีโครงสร้างโมเลกุลเป็ นแบบเส้นตรงมีพนั ธะ α 1-4 D เชื่อมน้าตาลกลูโคสเป็ นเส้นยาวคุณสมบัตขิ องอมิโลสคือ ทาปฏิกริ ยิ ากับสารไอโอดีนได้สนี ้ าเงิน เข้มดูดซับไอโอดีนและเซลลูโลสได้มากและย่อยสลายด้วยเอ็นไซม์β-amylase ได้100 % 4. โปรตี นเมล็ดข้าวมีส่วนประกอบของโปรตีนอยู่ประมาณ4.3 – 18.2 % หรือเฉลีย่ 9.5 % เป็ นอันดับ สองรองจากแป้ งปริม าณโปรตี น ที่ พ บในเมล็ ด ข้ า วมีค วามแปรปรวนขึ้น อยู่ ก ับ สถานที่ ป ลู ก และ สภาพแวดล้อมโปรตีนในเมล็ดข้าวสามารถแบ่งเป็ น4ชนิดตามคุณสมบัตใิ นการละลายได้แก่ 4.1อัลบลูมนิ (Alblumin) มีคุณสมบัตลิ ะลายได้ในน้า (Water soluble protein) 4.2โกลบูลนิ (Globulin) มีคุณสมบัตลิ ะลายได้ในน้าเกลือ (Salt soluble protein) 4.3โปรลามิน (Prolamin) มีคุณสมบัตลิ ะลายได้ในแอลกอฮอล์ (Alcohol soluble protein) 4.4กลูเตลลิน (Glutelin) มีคุณสมบัตลิ ะลายได้ในกรดหรือด่าง (Acid or alkali soluble protein)

5. ไขมัน ไขมันที่อยู่ในเมล็ดข้าวมัก จะอยู่ในสภาพเป็ นหยดไขมันเล็กๆขนาดเล็กกว่า 1.5ไมครอนอยู่ บริเวณเยื่อหุ้มผิวเมล็ด (ราหยาบและราละเอียด) และจมูกข้าว (คัพภะ) เมล็ดข้าวมีไขมัน 1.6 – 2.8 % ส่วนใหญ่อยู่ในราข้าวไขมันทีไ่ ด้จากข้าวเป็ นไขมันชนิดทีม่ คี ุณภาพดีมกี รดไขมันอิม่ ตัว 18%กรดไขมันไม่ อิ่ ม ตั ว เชิ งเดี่ ย ว (Monounsaturated Fatty Acid : MUFA) 45%ก ร ด ไข มั น ไม่ อิ่ ม ตั ว เชิ งซ้ อ น (Polyunsaturated Fatty Acid : PUFA) 37%น้ ามันราข้าวเหมาะสาหรับผู้ท่ตี ้องการลดคอเลสเตอรอลที่ ไม่ดี (LDL-C) เพราะมีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง (Linoleic acid, Oleic acid และPalmitic acid) มี สารแกมม่าออไรซานอล (Gamma Oryzanol) ช่วยในการควบคุมระดับโคเลสเตอรอลในเส้นเลือด 6. สำรต้ ำนอนุมูลอิ สระ (Anti-oxidants)เป็ นสารทีม่ คี ุณสมบัตชิ ่วยในการป้องกันการเกิดปฏิกริ ยิ าทาง เคมีซ่งึ ทาให้เนื้อเยื่อเสื่อมสภาพเกี่ยวข้องกับกลไกการสร้ างภูมติ ้านทานโรคเป็ นสารประกอบที่มอี ยู่ใน เมล็ดข้าวและมีมากกว่าร้อยชนิดสารต้านอนุมลู อิสระมีหลายประเภทได้แก่วติ ามินเกลือแร่หรือเอ็นไซม์ม ี ประโยชน์ช่วยป้องกันร่างกายจากอนุ มลู อิสระ (Free radicals) ซึง่ เชื่อว่าเป็ นสารก่อให้เกิดโรคมะเร็งสาร ต้านอนุ มูล อิส ระสาคัญ ที่อ ยู่ในเมล็ดข้าวได้แก่ แกมมา-ออไรซานอล (Gamma Oryzanol) โทโคฟี รอล (Tocopherol) และโทโคไตรอีนอล (Tocotrienol)

70

ใบงำนที่ 1 เรื่อง สำรอำหำรในข้ำว สำระกำรเรียนรู้ วิ ทยำศำสตร์ 1.ให้นกั เรียนทาการทดลองดังนี้ กำรทดสอบน้ำตำล ทดสอบโดยหยดสารละลายเบเนดิกต์ในอาหาร แล้วนาไปต้มในน้ าเดือดถ้าในอาหารมีน้าตาลอยู่ ถ้ามีน้าตาลโมเลกุลเดีย่ วมาก จะได้ตะกอนสีส้มอิ ฐ ถ้ามีน้าตาลโมเลกุลเดีย่ วอยูบ่ า้ ง จะได้ตะกอนสีเขียว ถ้ามีน้าตาลโมเลกุลเดีย่ วอยูน่ ้อย จะได้ตะกอนสีเหลือง

ตะกอนสีสม้ อิฐ ตะกอนสีเขียว ตะกอนสีเหลือง

ข้าวทีน่ ามาทดลองเป็นสีใด……………

2.นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

71

ใบควำมรู้ 2 เรื่อง ประเพณี ทำขวัญข้ำว สำระกำรเรียนรู้ ภำษำและวัฒนธรรมไทย จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถสรุปความและเขียนแสดงความคิดเห็นเรือ่ งประเพณีทาขวัญข้าวได้ KPA อ่านตีความ การทาขวัญข้าวแตกต่างจากภาคหนึ่งไปยังอีกภาคหนึ่ง ในภาคกลาง จะทาในช่วงเวลากลางเดือน 20 ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ ตลอดจนถวายแก่พระสงฆ์เมื่อข้าวในนาสุกดีแล้ว เมื่อนวดข้าวเสร็จก็จะกาหนดวัน พฤหัสบดีหรือวันศุกร์นาข้าวขึน้ ยุง้ ชาวบ้านก็จะมาร่วมทาขวัญข้าว ร้องเพลงทาขวัญแม่โพสพ เครื่องเซ่ นสังเวย ให้นาเครือ่ งสังเวยไปบูชาแม่โพสพในแต่ละครัง้ 1.ช่วงข้ำวในนำกำลังตัง้ ท้อง กล้วย อ้อย ถัว่ งา ส้ม อย่างละ 1คา ใส่ตะกร้าสาน 2หมาก พลูจบี คา 2 1 เมื่อเกี่ยวข้ำวและนำขึ้นยุ้งข้ำว • หมาก พลูจบี คา 2 • บุหรี่ มวน 2 • ข้าวทีเ่ กีย่ วแล้ว กา 2 • ผ้าแดง ผ้าขาว ขนาด ผืน 2 คืบ อย่างละ 2

72

ใบงำนที่ 2 เรื่อง สำรอำหำรในข้ำว สำระกำรเรียนรู้ วิ ทยำศำสตร์ คำสัง่ ให้ นักเรียนอ่ำนข้อควำมอ่ำนล่ำงแล้วอธิ บำยควำม 1 ย่อหน้ ำ คำกล่ำวรับขวัญข้ำว “วันนี้วนั ดีแม่โพสพแม่โพศรีแม่จนั เทพีแม่ศรีสุดา (เป็ นวันจันเทวีเป็นวันสีสุชาดา) ขอแต่งเนื้อแต่งตัว เตรียมไปไหว้หลวงพ่อวัดปา่ (ปา่ เลไลย์) เตรียมเนื้อเตรียมตัวเดีย๋ วลูกผัวก็จะมาพลางก็กวักน้าอาบน้ า ยอดข้าวเอากรรไกรตัดแต่งเหมือนแต่งผมให้สมสวยเอาผ้ามานุ่งเอาสไบมาห่มหวีผมก็บรรจงแต่งทัง้ แป้ง หอมน้าหอมก็ปะก็พรมด้วยคาชมว่าสวยแล้วงามแล้วดูซดิ ซู ดิ ูซใิ ห้ส่องกระจกวันดีคนื ดีถา้ แม่โพสพแม่โพ สีตอ้ งแบกท้องแบกไส้กม็ ผี ลสุกลูกไม้เตรียมเอาไว้ยามแพ้ทอ้ งด้วยแล้วนะ" ก่อนลากลับก็เอามือจับต้นตาแก(สะแก) ปากก็ว่า“ตาตาแกฝากแม่โพสพไว้ดว้ ยหากมีศตั รูหมู่รา้ ยหรือ ย้ายมาขอให้ตาช่วยไล่ไปให้พน้ จนหมดภัยนะตา”แล้วบอกลาแม่โพสพ“แม่โพสพแม่โพสีแม่จงอยูด่ กี นิ ดี บัดนี้ตอ้ งขอลาขอให้ได้รวงละหม้อกอละมัดมัดละเกวียนนะแม่นะ" ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

73

ใบควำมรู้ที่ 3 เรื่อง สำนวนไทยที่ใช้ กนั อยู่เป็ นประจำที่ มีคำว่ำ “ข้ำว” สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกเข้าใจเรือ่ งสานวนไทยเกีย่ วข้าวได้ 2. นักเรียนบอกความหมายของสานวนไทยเกีย่ วข้าวได้ KPA เขียนอธิบายสานวนทีค่ ดิ ว่าเกีย่ วข้องกับชีวติ นักเรียนมากทีส่ ุด 2 สานวน เรื่อง สำนวนไทยที่ใช้กนั อยู่เป็ นประจำที่ มีคำว่ำ “ข้ำว” สำนวนข้ำวที่เกี่ยวกับควำมเจริ ญงอกงำม ข้าวเหลือเกลืออิม่ บริบูรณ์ดว้ ยข้าวปลาอาหาร ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว มีความอุดมสมบูรณ์ กินข้าวร้อนนอนสบาย มีความเป็ นอยูอ่ ย่างสบาย นึกจะกินจะตื่นเมือ่ ไรก็ได้ หนูตกถังข้าวสาร อยูอ่ ย่างสบาย มีอาหารการกินอุดมสมบูรณ์ สำนวนข้ำวที่เกี่ยวกับขนบธรรมเนี ยมประเพณี ข้าวนอกเจ้า ข้าวนอกหม้อ การกระทาหรือประพฤติ นอกเหนือจากคาสัง่ หรือผิดจากแบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณี ข้าวแดงแกงร้อน บุญคุณ กินข้าวและแกงของผูใ้ ด ต้องนึกถึงบุญคุณของผูน้ นั ้ ข้าวไม่มยี าง คนทีร่ บั อุปการะผูอ้ ่นื ไปแล้ว ไม่นึกถึง บุญคุณ เหมือนข้าวไม่มยี าง กินไม่ดี เลีย้ งเสียข้าวสุก เลีย้ งบุคคลหรือใดๆ ไว้ แต่อาศัยพึง่ พาไม่ได สำนวนข้ำวกับควำมตกทุกข์ได้ยำก ข้าวยากหมากแพง ยามทีบ่ า้ นเมืองขาดแคลนอาการ ประชาชนทุกข์ยากลาบาก ไม่มขี า้ วสารกรอกหม้อ ยากจนไม่มแี ม้แต่อาหารจะกิน กินน้ าต่างข้าว ทุกข์มาก ลาบากมาก จนมาก สำนวนข้ำวที่เกี่ยวกับระยะเวลำ ชัวหม้ ่ อข้าวเดือด เวลาไม่นานนัก ก้นหม้อข้าวยังไม่ทนั ดา ระยะเวลาสัน้ ๆ คอยเหมือนข้าวคอยฝน ตัง้ ใจคอยแต่ไม่รเู้ วลาแน่นอน

74

สำนวนข้ำวในพิ ธีกรรม ข้าวแจก ข้าวทีท่ าบุญอุทศิ ส่วนกุศลให้ผตู้ าย ข้าวบาตร เรียกขันเชิงสาหรับใส่ขา้ วตักบาตรว่า ขันข้าวบาตรหรือเรียกข้าวทีเ่ ตรียมไว้ใส่บาตรก็ได้ ข้าวเปรต เครือ่ งเซ่นเปรตในพิธตี รุษสารท ข้าวผอกกระบอกน้ า ของกินเล็กๆ น้อยๆ และมีกระบอกน้าเล็กๆ กรอกน้า แขวนกิง่ ไม้ทท่ี าขึน้ แล้วผูกไว้ ทีบ่ นั ไดเรือน ใช้ในพิธตี รุษ ข้าวพระ ข้าวสาหรับถวายพระพุทธ ข้าวกรู ข้าวทีท่ าเพื่ออุทศิ ให้เปรตในพิธสี ารท สำนวนทัวไป ่ ข้าวใหม่ปลามัน อะไรทีเ่ ป็นของใหม่กาลังดี ชายข้าวเปลือก หญิงข้าวสาร ชายไปอยูท่ ไ่ี หนย่อมสามารถแพร่พนั ธุส์ ร้างเชือ้ สายได้เหมือนข้าวเปลือก ส่วนผูห้ ญิงทาไม่ได้เพราะต้องยึดมันอยู ่ ก่ บั สามีจงึ เปรียบเสมือนข้าวสารทีไ่ ปอยู่ทไ่ี หนก็ไม่สามารถแพร่ พันธุไ์ ด้ หมาเห็นข้าวเปลือก ทาอะไรกับสิง่ ทีอ่ ยู่ขา้ งหน้าไม่ได้ ได้เบีย้ เอาข้าว ได้อย่างหนึ่ง หากต้องการอีกสิง่ หนึ่งด้วย บนข้าวผี ตีขา้ วพระ บนบานขอร้องให้ผหี รือสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์ช่วย กินข้าวต้มกระโจมกลาง ทาสิง่ ใดโดยไม่พจิ ารณาให้รอบคอบ จะทาให้ได้รบั ความลาบาก เหมือนการกิน) ( ข้าวต้มกลางถ้วย จะเย็นช้ากว่าริมๆ ข้าวนอกนา บุคคลทีไ่ ม่ได้เกิดในถิน่ นัน้ ๆ บุคคลทีผ่ อู้ ่นื ไม่จดั เป็นพวกพ้อง ไม่เป็ นทีย่ อมรับของสังคม ตาข้าวสารกรอกหม้อ ทาอะไรแบบปจั จุบนั ทาแค่พอให้ผ่านไปไม่เผื่ออนาคต ทุบข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว การประชด ไม่ได้ทาให้เกิดผลดี กลับทาให้เสียหายไปโดยเปล่า ประโยชน์ ข้าวของ สิง่ ของเครือ่ งใช้ต่างๆ ทีม่ า หนังสือ :ข้าววัฒนธรรมแห่งชีวติ ...” สานักพิมพ์ แปลน โมทิฟ หน้า 132

75

ใบงำนที่ 3 เรื่องสำนวนเกี่ยวกับข้ำว สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย คาสัง่ ให้นกั เรียนเขียนอธิบายสานวนทีค่ ดิ ว่าเกีย่ วข้องกับชีวติ นักเรียนมากทีส่ ุด 2 สานวน ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

76

ใบควำมรู้ที่ 4 เรื่อง คำศัพท์เกี่ยวกับอำหำร สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนบอกบอกคาศัพท์เกีย่ วข้าวในอาเซียนได้ KPA เขียนอธิบายสานวนทีค่ ดิ ว่าเกีย่ วข้องกับชีวติ นักเรียนมากทีส่ ุด 2 สานวน

ภาษาในความหมายอย่างกว้างหมายถึงกริยาอาการทีแ่ สดงออกมาแล้วสามารถทาความเข้าใจกันได้ไม่ว่า จะเป็ นระหว่างมนุ ษ ย์ก ับมนุ ษ ย์มนุ ษ ย์ก ับสัต ว์หรือสัต ว์กับสัต ว์ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบนัน้ หมายถึงเสียงพูดทีม่ นุษย์ใช้ส่อื สารกันเท่านัน้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542ได้ให้คาจากัดความของคาว่าภาษาไว้ว่า "ถ้อยคาทีใ่ ช้พดู หรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเช่นภาษาไทยภาษาจีนหรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการเช่น ภาษาราชการภาษากฎหมายภาษาธรรม; เสียงตัวหนังสือหรือกิรยิ า; อาการทีส่ ่อื ความได้เช่นภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาท่าทางภาษามือ"วิชาทีว่ ่าด้วยการศึกษาภาษาในแง่ต่างๆเรียกว่า "ภาษาศาสตร์" เริม่ บุกเบิกโดยแฟร์ดนิ องเดอโซซูร์ (Ferdinand de Saussure) บุคคลทีพ่ ดู ภาษาใดก็ตามถือได้ว่าเป็นส่วน หนึ่งของชุมชนเชิงภาษาศาสตร์ของภาษานัน้ ๆ ภาษาทีใ่ ช้ส่อื สารนัน้ เป็นสิง่ สาคัญในการเป็นประชาคมอาเซียนนัน่ ก็คอื ภาษาอังกฤษแต่สงิ่ ทีเ่ ราต้องรูแ้ ละ ทาความเข้าใจในการเป็ นประชาคมอาเซียนก็คอื ภาษาต่างๆในประชาคมทัง้ สิบประเทศนัน้ แต่ละประเทศมี ภาษาทีใ่ ช้ต่างกันสาเหตุทต่ี ้องรูภ้ าษาของประเทศอื่นๆก็เพราะภาษาเปรียบเสมือนสื่อกลางในการสื่อสาร ซึง่ กันและกันในหลายๆด้านทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจรวมไปถึงการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมอันดีงามร่วมกันอีก ด้วยเรามาดูกนั ว่าแต่ละประเทศในประชาคมอาเซียนนัน้ เขาใช้ภาษาใดเป็นภาษาราชการหรือภาษาประจา ชาติบา้ ง ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็ นภาษาราชการ ประเทศบรูไนฯใช้ภาษามาเลย์และรองลงใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเป็นภาษาราชการ ประเทศกัมพูชาใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการส่วนภาษาทีใ่ ช้โดยทัวไปได้ ่ แก่องั กฤษฝรังเศสเวี ่ ยดนาม จีนและไทย

77

ประเทศอินโดนีเซียใช้ภาษาราชการและภาษาประจาชาติได้แก่ภาษาอินโดนีเซียหรือBahasa Indonesia ประเทศลาวใช้ภาษาลาวเป็ นภาษาราชการ ประเทศมาเลเซียใช้ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia เป็นภาษาราชการ) อังกฤษจีนทมิฬ ประเทศพม่าใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ ประเทศฟิลปิ ปินส์มกี ารใช้ภาษามากกว่า170ภาษาโดยส่วนมากเกือบทัง้ หมดนัน้ เป็นตระกูลภาษาย่อย มาลาโย-โปลินีเซียนตะวันตกแต่ในปีพ.ศ. 2530รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลปิ ิโน (Filipino) และ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆทีใ่ ช้กนั มากในประเทศฟิลปิ ปินส์มที งั ้ หมด8 ภาษาได้แก่ภาษาสเปนภาษาจีนฮกเกีย้ นภาษาจีนแต้จวิ ๋ ภาษาอินโดนีเซียภาษาซินด์ภาษาปญั จาบภาษา เกาหลีและภาษาอาหรับโดยฟิลปิ ปินส์นนั ้ มีภาษาประจาชาติคอื ภาษาตากาล็อก ประเทศสิงคโปร์ภาษาทางราชการคือภาษามาเลย์ (ภาษาประจาชาติ) จีนกลาง (แมนดาริน) ทมิฬและ อังกฤษสิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด2ภาษาโดยเฉพาะจีนกลางในขณะทีภ่ าษาอังกฤษเป็นภาษาทีใ่ ช้ ในการติดต่องานและในชีวติ ประจาวัน ประเทศเวียดนามภาษาเวียดนาม (Vietnamese) เป็นภาษาราชการซึง่ เมือ่ ปีพ.ศ. 2463วงการวิชาการ เวียดนามได้ลงประชามติทจ่ี ะใช้ตวั อักษรโรมัน (quocngu) แทนตัวอักษรจีน (Chu Nom) ในการเขียน ภาษาเวียดนาม อีกแค่ไม่กป่ี ีประเทศไทยของเราและอีก9ประเทศก็จะรวมกันเป็ นหนึ่งทัง้ ในด้านของเศรษฐกิจและเป็ น จุดยืนใหญ่ในการต่อรองกับประเทศนานาชาติดงั นัน้ ภาษาจึงสาคัญมากกับสิง่ เหล่านี้ไม่ใช่เพียงแค่ ภาษาอังกฤษเท่านัน้ ทีเ่ ราจะต้องศึกษาและมีความเข้าใจเป็นอย่างดีแล้วภาษาประจาชาติของแต่ประเทศก็ เช่นกันประโยคง่ายๆเช่นการกล่าวทักทายถามสารทุกข์สุกดิบก็เป็นสิง่ สาคัญและนอกจากภาษาแล้วสิง่ ที่ สาคัญมากนันก็ ่ คอื การศึกษาวัฒนธรรมทีอ่ าจจะแตกต่างกับบ้านเราซึง่ จาให้เราอยูใ่ นสังคมทีเ่ รียกว่า “อาเซียน”ได้อย่างเต็มภาคภูม ิ

78

ใบงำนที่ 4 เรื่อง คำศัพท์เกียวกับอำหำร สำระกำรเรียนรู้ ภำษำไทย คำสัง่ ให้นกั เรียนหาคาสังเกี ่ ย่ วอาหารในภาษาอาเซียนมา 2 ประเทศ คาศัพท์ภาษาไทย อาหารกลางวัน อาหารเย็น อาหารค่า ข้าว น้า น้าชา น้าแข็ง กาแฟ กาแฟเย็น กาแฟร้อน นม ครีม น้าผลไม้ เนื้อหมู ไก่ ปลา เนื้อวัว ผัก ผลไม้ อร่อย ไม่อร่อย เผ็ด หวาน เปรีย้ ว

คาศัพท์ภาษา……………

คาศัพท์ภาษา…………….

79

ใบควำมรู้ 5 เรื่อง เพลงเกี่ยวข้ำว สำระกำรเรียนรู้ ศิ ลปและนำฎศิ ลป์ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถแสดงเพลงเกีย่ วข้าวได้ KPA การแสดงราเกีย่ วข้าว เพลงเกีย่ วข้าวใช้สาหรับร้องในขณะลงแขกเกี่ยวข้าวเนื่องจากการทานาเป็ นอาชีพหลักของคนไทยมาช้า นานแล้วเพลงเกีย่ วข้างจึงเกิดมีมานานแล้วเช่นกันโดยปกติชาวนาจะเริม่ ทาการไถหว่านปกั ดาข้าวใน ราวเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนซึง่ เป็นฤดูฝนและจะเริม่ เก็บเกีย่ วประมาณเดือนมกราคมพันธุก์ ารเก็บ เกีย่ วถ้าไม่รบี ทาย่อมเกิดความเสียหายได้จงึ ต้องเรียกคนมาช่วยกันซึง่ เรียกว่า "ลงแขก" เมือ่ มีคนมา ชุมนุ มกันมากในขณะทางานหรือหยุดพักผ่อนจึงเกิดการเล่นเพลงเกีย่ วข้าวขึน้ เพื่อให้เกิดความ สนุกสนานดับความเหน็ดเหนื่อยเมือ่ ยล้าเพลงเกีย่ วข้าวนี้นิยมเล่นเฉพาะในฤดูเกีย่ วข้าวเท่านัน้ และมัก เล่นกันในขณะเกีย่ วข้าวคาร้องมักมีใจความไต่ถามถึงการทานาและเกีย้ วพาราสีกนั ดังนัน้ สิง่ ทีไ่ ด้รบั นอกเหนือจากความสนุ กสนานแล้วยังเกิดประโยชน์ในทางปลูกฝงั ความสามัคคีระหว่างเพื่อนบ้านใน อาชีพเดียวกันการสมาคมระหว่างชายหญิงตลอดจนทาให้เกิดนิสยั รักในทางกาพย์กลอนฝึกให้เป็นคน เฉลียวฉลาดและมีไหวพริบอีกด้วย สถานทีเ่ ล่นเพลงเกีย่ วข้าวคือในท้องนาหรือลานหน้าโรงนาการแต่งกายก็แต่งแบบพืน้ เมืองวิธเี ล่นก็แบ่ง ผูเ้ ล่นเป็น 2 ฝา่ ยคือฝา่ ยชายและฝา่ ยหญิงฝา่ ยละกีค่ นก็ได้ไม่จากัดโดยปกติจะเป็ นฝา่ ยละ 5-6 คนแต่ละ ฝา่ ยจะมีหวั หน้าหนึ่งคนเรียกว่า "พ่อเพลง" และ "แม่เพลง" ผูเ้ ล่นทุกคนถือเคียวมือหนึ่งก่อนจะเล่นพ่อ เพลงและแม่เพลงจะต้องว่าบทไหว้ครูก่อนโดยพ่อเพลงจะเป็ นผูเ้ ริม่ ก่อนแล้วแม่เพลงจึงจะไหว้ครูบา้ ง กลอนทีช่ าวบ้านนามาร้องอาจเป็ นกลอนโบราณทีเ่ ห็นว่ามันเพราะจึงจดจาเป็นแบบอย่างมาร้องหรือ โดยมากเป็ นกลอนสดร้องว่ากันสดๆเพราะไม่จาเป็นต้องแต่งเตรียมไว้ก่อนดังนัน้ เพลงเหล่านี้จงึ ไม่ค่อยมี คนจดบันทึกไว้บางเพลง (เช่นทีย่ กตัวอย่างมา) จะสัน้ บ้างยาวตามแต่ปฏิภาณของพ่อเพลงแม่เพลงทีค่ ดิ จะร้องออกมา

80

ใบงำนที่ 5 เรื่อง เพลงเกี่ยวข้ำว สำระกำรเรียนรู้ศิลปะและนำฎศิ ลป์ คำสังให้ ่ นกั เรียนฝึกร้องเพลงเกีย่ วข้าวเพื่อทาการแสดงหน้าชัน้ เรีนย ตัวอย่างบทไหว้ครู ยกหัตถ์เหนือหว่างคิว้ ทัง้ สิบนิ้วประทุมทอง จะไหว้พระแท่นศิลาอาสน์ ไหว้พระบาททีท่ ่านจาลอง จะเล่าแต่ตน้ ให้วนเวียน ถึงพ่อค้าเกียนเจ้าขายของ คืนเข้าธานินทร์กบิลพัสดุ์ ได้เป็นกษัตริยค์ รอบครอง ได้ค่เู คียงมาร่วมภิรมย์ มีนางสนมเนืองนอง พอบุญมาเตือนก็เคลื่อนคลา ทิง้ ภริยาทีร่ ว่ มห้อง ไปบรรพชารักษาพรต สละหมดทัง้ ข้าวของ ให้เป็นมงคลอยูบ่ นสมอง ลูกทีใ่ นท้องนาเอย ลูกจะไหว้ศรีพระแม่โพสพ แม่นพดารา นางพระแม่ธรณีแม่คงคา ลูกก็ไหว้ ให้มาปกเกล้าปกผม ลูกรักดังร่ ่ มโพไทร ไหว้ครูเสร็จสรรพ ลูกจะคานับคุณใหม่ ไหว้บดิ ามารดา ทีท่ ่านเลีย้ งมาจนใหญ่

81

ได้อาบน้ าป้อนข้าว มาแต่ตวั เรานี้กะไร ทัง้ น้าขุน่ มิให้อาบ ขมิน้ หยาบมิให้ทา ท่านเอาลูกใส่ในแปล ร้องโอ้ละเห่และช้าไกว เมือ่ ไหว้ครูเสร็จแล้วก็จะเริม่ ว่าแก้กนั ต่อไปในระยะทีว่ ่าเพลงมือทีก่ าต้นข้าวและเคียวก็ราไปตามจังหวะ และคาร้องกลอนและทานองของเพลงเกีย่ วข้าวนี้คล้ายคลึงกับเพลงเรือแต่ใช้เวลาเล่นน้อยกว่าและเล่น เฉพาะเวลากลางวันเท่านัน้

ตัวอย่างบทปลอบ ชาย พีจ่ ะขอฟงั สาเนียงน้อง แม่เอ๋ยร้องราว่า พีเ่ ข้ามาปลอบทรามสงวน ทัง้ กาลก็จวนเวลา ขอเชิญแม่เยือ้ นเอือ้ นโอษฐ์ เถิดแม่พวงมะโหดสุมนา แม่งามประกอบจงตอบวาจา เถิดแม่ดอกจาปาเอย ถ้วนกาหนดสามบท แม่งามประกอบไม่ตอบมา เสียแรงทีม่ าวอนแม่ยอดรัก อยูก่ เ็ ป็นนักเป็นหนา ขอเชิญน้องร้องน้องรา อย่าให้พช่ี ายขายหน้า ทีเ่ พื่อนเข้ามาเลยเอย หญิง

82

แต่พอพีเ่ อยทรามเชยก้อร้อง ตอบสนองสนทนา ฉันเสียแค่นของพีไ่ ม่ได้ ซังจะตายจาจะว่า ไหนๆก็ได้เข้ามาปลอบ แล้วจาจะตอบวาจา มีให้พช่ี ายขายหน้า ทีเ่ พื่อนเข้ามาดอกเอย เพลงทีใ่ ช้รอ้ งในขณะเกีย่ วข้าวมักจะเป็ นกลอนสัน้ ๆตัวอย่างเช่น คว้าเถิดหนาแม่คว้า รีบตะบึงให้ถงึ คนนา จะได้พดู จากันเอย เกีย่ วเถิดหนาแม่เกีย่ ว อย่ามัวแลมัวเหลียว เคียวจะบาดมือเอย เกีย่ วข้าวแม่ยาย ผักบุง้ ผักหวาย พันทีป่ ลายกาเอย คว้าเถิดหนาแม่คว้า ผักบุง้ สันตะวา คว้าให้เต็มกาเอย ขอสังเกตสาหรับเพลงเกีย่ วข้าวคือใช้กลอน (ฉันทลักษณ์) แบบเพลงเรือแต่เวลารับลูกคู่จะรับบาทท้ายว่า "เฮ้เอ้าเฮ้เฮ้" ไปเรือ่ ยๆเป็นการกระทุง้ ซึง่ จะช่วยให้สนุกครืน้ เครงขึน้ เพลงเกีย่ วข้าวนี้บางท้องทีเ่ ช่นอ่างทองเรียกว่าเพลงเต้นกาหมายถึงการร้องทีม่ ลี กู คู่รบั "เฮ้เอ้าเฮ้เฮ้" ซึง่ ทานองจะต่างไปจากเพลงเรือเล็กน้อย (แต่ฉนั ทลักษณ์ยงั คงเป็นแบบเพลงเรือ)

83

การเล่นเพลง "เต้นกา" นัน้ พ่อเพลงแม่เพลงไม่ตอ้ งเกีย่ วข้าวด้วยเพราะถือว่ามีหน้าทีเ่ พียงเล่นเพลงการ เล่นต้องมาตัง้ วงกันมือซ้ายถือข้าวมือขาวถือเคียวแล้วร้องราไปอย่างสนุกสนานการควงเคียวควงข้าว ต้องบรรจบกันพอดีทต่ี รงหน้าเสมอจึงอาจจะลาบากบ้างสาหรับคนทีไ่ ม่ได้เป็ นพ่อเพลงแม่เพลง ตัวอย่างบทไหว้ครูเพลงเต้นกา (เกีย่ วข้าว) ของอ่างทองได้จากนายบุญเผื่อนโพธิ ์ภักดิ ์พ่อเพลงผูม้ ี ชื่อเสียงของอ่างทองในปจั จุบนั (อายุ 61 ปีพ.ศ. 2520) จะยกบายศรีขน้ึ สีม่ ุม จะไหว้พระภูมเิ จ้าท้องนา เหล้าขวดไก่ตวั มาเซ่นทีท่ อ้ งนา มานังในคอช่ ่ วยต่อปญั ญา เมือ่ ลูกจะว่าเพลงเอย (เอิงเอยเพลงเอย มานังในคอช่ ่ วยต่อปญั ญา มานังในคอช่ ่ วยต่อปญั ญา เมือ่ ลูกจะว่าเพลงเอย เอิงเอ้ยเพลงเอย เอ้าปญั ญาเอ้าปญั ญา เมือ่ ลูกจะว่าเพลงเอย) บทไหว้ครูจะสัน้ หรือยาวเท่าไรก็ได้ถา้ ไหว้พอเป็นพิธกี อ็ าจว่าสัน้ ๆเพียงคาสองคา (บทสองบท) ดังเช่นที่ ยกตัวงอย่างมาแล้วต่อจากนัน้ ก็เกริน่ แล้วจะเล่นเป็นชุดหรือเป็นบทปลีกย่อยก็ตามแต่จะคิดกัน

84

ตัวอย่างบทปลอบ (ของพระพร้อมวัดปากน้าใต้กรุงเทพมหานคร อดีตพ่อเพลงชาวอ่างทอง (อายุ 73 พรรษาพ.ศ. 2520) ไหว้ครูสาเร็จเสร็จสก ขยายยกเป็ นเพลงปลอบ (รับเฮ่เอ้าเฮ้เฮ้) หาไหนไม่เทียมเรีย่ มแล้ว ไม่มคี นเสมออย่างฟ้าครอบ ขอเชิญมาเล่นเต้นกาสักรอบ ลุกขึน้ มาตอบเพลงเอย (ลูกคู่รบั เอ้าเอยเพลงเอยขอเชิญมาเล่นเต้นกาสักรอบๆ ลุกขึน้ มาตอบเพลงเอย) ขอเชิญมาเต้นกาสักรอบ ลุกขึน้ มาตอบเพลงด้วย (รับเฮ้เอ้าเฮ้เฮ้) จิตใจเจ้าไม่สมเพช พีจ่ ะเป่าด้วยเวทย์มหาระรวย (รับ) เดชะพระคุณขลัง ให้เล่นกันด้วยนางเอย (ลูกคู่รบั เดชะพระคุณช่วยๆให้เล่นกันด้วยนางเอย)

85

ใบควำมรู้ 6 เรื่อง อำหำรประเทศสมำชิ กอำเซียน สำระกำรเรียนรู้ สังคมและวัฒนธรรม จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถบอกลักษณะต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน KPA แบบทดสอบอัตนัย อาเซียน (ASEAN) หรือ สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of Southeast Asian Natios) ก่อตัง้ ขึน้ โดยปฏิญญากรุงเทพฯซึง่ ได้ลงนามกันที่วงั สราญรมย์เมื่อวันที่ 8 สิงหาคมพ.ศ. 2510 โดยมีว ตั ถุ ป ระสงค์เพื่อ ส่ งเสริม ความเข้าใจอัน ดีต่ อ กัน ระหว่างประเทศในภูม ิภ าคธ ารงไว้ซ่ึง สันติภาพเสถียรภาพและความมันคงทางการเมื ่ องสร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการพัฒนา ทางสังคมและวัฒ นธรรมการกิน ดีอ ยู่ดีบ นพื้น ฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ ร่ว มกัน ของ ประเทศสมาชิกก่อตัง้ ขึ้นเมื่อพ.ศ. 2510 มีสมาชิก 5 ประเทศได้แก่ไทยอินโดนีเซียมาเลเซียฟิ ลปิ ปิ นส์ และสิงคโปร์ได้รว่ มกันจัดทาปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อเดือนสิงหาคมพ.ศ.2510 เป็ น สัญญาผูกพันฉบับแรกของประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อมาบรูไนดารุสซาลามได้เข้าเป็ น สมาชิกลาดับที่ 6 พ.ศ. 2527 เวียดนามเข้าเป็นสมาชิกลาดับที่ 7 ปีพ.ศ. 2538 ส่วนลาวและพม่าเข้าเป็ น สมาชิกพ.ศ. 2540 สาหรับกัมพูชาเข้าเป็ นสมาชิกล่าสุดปีพ .ศ. 2542 ทาให้ปจั จุบนั อาเซียนมีสมาชิก 10 ประเทศอาเซียนเป็ นภูมภิ าคที่มคี วามเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและเป็ นตัวอย่างของการ รวมตัวของกลุ่มประเทศทีม่ พี ลังต่อรองในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศความก้าวหน้าของ อาเซีย นมีป จั จัยส าคัญ จากความไว้ว างใจกันระหว่ างประเทศสมาชิก อัน ก่ อ ให้ส ถานการณ์ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้เปลี่ยนผ่านจากสภาวะแห่งความตึงเครียดและเผชิญหน้ าในยุคสงครามเย็นมาสู่ ความมีเสถียรภาพความมันคงและความร่ ่ วมมืออย่างใกล้ชดิ ในปจั จุบนั ปจั จุบนั สมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนมีสานักงานตัง้ อยู่ทก่ี รุงจาการ์ตาประเทศอินโดนี เซียและในปี 2553 นายสุรนิ ทร์พศิ สุวรรณทาหน้าทีเ่ ลขาธิการอาเซียน สิง่ สาคัญ ที่ควรศึกษาและเรียนรู้อย่างหนึ่ง คือเรื่องอาหาร อาหารประจาชาติอ าเซียน 10 ประเทศซึ่งในปี 2015 หรือ พ.ศ. 2558 นี้ประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะรวมเป็ นหนึ่งโดย เรียกสัน้ ๆว่ากลุ่มอาเซียนเรามาทาความรูจ้ กั เกี่ยวกับอาหารอาเซียน10 ประเทศของแต่ละประเทศว่าใน เพื่อนบ้านของเรานัน้ มีอาหารอะไรกันบ้างเรามาเริม่ ทีป่ ระเทศไทย

86

อำหำรยอดนิ ยมของไทย

ต้มยากุง้ (Tom Yam Goong) แค่เอ่ยชื่อก็เป็นทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ล้วว่า ต้มยากุง้ เป็นอาหารคาวที่ เหมาะสาหรับรับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ กลิน่ หอมของสมุนไพรทีเ่ ป็ นส่วนประกอบในต้มยากุง้ นอกจากจะทาให้รสู้ กึ สดชื่นแล้ว ยังช่วยกระตุน้ การเจริญอาหารได้เป็นอย่างดีและเนื่องจากต้มยากุง้ เป็ น อาหารทีม่ รี สเปรีย้ ว และเผ็ดเป็นหลัก ทาให้รบั ประทานแล้วไม่เลีย่ น จึงทาให้ตม้ ยากุ้งเป็นอาหารทีไ่ ด้รบั ความนิยมในทัวทุ ่ กภาคของประเทศไทย รวมถึงชาวต่างชาติเองก็ตดิ อกติดใจในความอร่อยของต้มยากุง้ เช่นเดียวกัน อำหำรยอดนิ ยมของบรูไน

อัมบูยตั (Ambuyat) เป็ นอาหารยอดนิยมของบรูไน มีลกั ษณะเด่นอยู่ทต่ี วั แป้งจะเหนียวข้นคล้าย ข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็ นส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยตั เอง ไม่มรี สชาติ แต่ความอร่อยจะอยูท่ ่ี การจิม้ กับซอสผลไม้ทม่ี รี สเปรีย้ ว นอกจากนี้ยงั มีเครือ่ งเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตองย่าง หรือเนื้อทอด ทัง้ นี้ การรับประทานอัมบูยตั ให้ได้รสชาติ ต้องรับประทานตอนร้อน ๆ จึงจะดีทส่ี ุด

87

อำหำรยอดนิ ยมของกัมพูชำ

อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลกั ษณะคล้ายห่อหมกของไทย โดยเป็ น การนาเนื้อปลาสด ๆ ลวกพริกเครือ่ งแกง และกะทิ แล้วทาให้สุกโดยการนาไปนึ่ง ซึง่ นอกจากจะใช้เนื้อ ปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่แทนก็ได้ ส่วนสาเหตุทค่ี นในประเทศกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจาก สภาพภูมปิ ระเทศของกัมพูชามีแหล่งน้ าอุดมสมบูรณ์ ทาให้ปลาเป็ นอาหารทีห่ ารับประทานได้งา่ ยนัน่ เอง อำหำรยอดนิ ยมของอิ นโดนี เซีย

กาโด กาโด (GadoGado) อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช หลากหลายชนิด ทัง้ แครอท มันฝรัง่ กะหล่าปลี ถัวงอก ่ ถัวเขี ่ ยว นอกจากนี้ยงั มีเต้าหู้ และไข่ตม้ สุกด้วย กาโด กาโดจะนามารับประทานกับซอสถัวที ่ ค่ ล้ายกับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครือ่ งสมุนไพรใน ซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ ทาให้เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รสู้ กึ เลีย่ นกะทิมาก จนเกินไปนัน่ เอง

88

อำหำรยอดนิ ยมของลำว

สลัดหลวงพระบาง (LuangPrabang Salad) เป็นอาหารขึน้ ชื่ออีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีรสชาติ กลางๆ ทาให้รบั ประทานได้ทงั ้ ชาวตะวันออก และตะวันตก โดยส่วนประกอบสาคัญคือ ผักน้า ซึง่ เป็นผัก ปา่ ทีข่ น้ึ ตามริมธารน้ าไหล และยังมีส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น มันแกว แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ตม้ ผักกาดหอม และหมูสบั ลวกสุก ส่วนวิธปี รุงรสคือ ราดด้วยน้าสลัดชนิดใส คลุกส่วนผสมทัง้ หมดเข้า ด้วยกัน แล้วโรยหน้าด้วยกระเทียมเจียว และถัวลิ ่ สงคัว่ อำหำรยอดนิ ยมของมำเลเซีย

นาซิ เลอมัก (NasiLemak) อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็ นข้าวหุง กับกะทิ และใบเตย ทานพร้อมเครือ่ งเคียง 4 อย่าง ได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหัน่ ไข่ตม้ สุก และถัวอบ ่ ซึง่ นาซิ เลอมักแบบดัง้ เดิมจะห่อด้วยใบตอง และมักทานเป็ นอาหารเช้า แต่ในปจั จุบนั กลายเป็ นอาหารยอดนิยมทีท่ านได้ทุกมือ้ และแพร่หลายในประเทศเพื่อนบ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทยด้วย

89

อำหำรยอดนิ ยมของฟิ ลิ ปปิ นส์

อโดโบ้ (Adobo) เป็นอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลปิ ปินส์ ทาจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ทีผ่ ่านการ หมัก และปรุงรส โดยจะใส่น้ าส้มสายชู ซีอวิ๊ ขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดา นาไปทาให้สุก โดยอบในเตาอบ หรือทอด แล้วนามารับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆในอดีตอาหารจานนี้เป็นทีน่ ิยมในหมู่ นักเดินทาง เนื่องจากส่วนผสมของอโดโบ้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เหมาะสาหรับพกไว้เป็นเสบียง อาหารระหว่างการเดินทาง ซึง่ ปจั จุบนั อโดโบ้ได้กลายเป็ นอาหารยอดนิยมทีน่ ามารับประทานกันได้ทุกที่ ทุกเวลา อำหำรยอดนิ ยมของสิ งคโปร์

ลักซา (Laksa) อาหารขึน้ ชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลกั ษณะคล้ายก๋วยเตีย๋ วต้มยาใส่กะทิ ทา ให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุง้ แห้ง พริก กุง้ ต้ม และ หอยแครง เหมาะสาหรับคนทีช่ อบรับประทานอาหารทะเลเป็นอย่างยิง่ อย่างไรก็ตาม ลักซามีทงั ้ แบบที่ ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบทีใ่ ส่กะทิจะเป็นทีน่ ิยมมากกว่า

90

อำหำรยอดนิ ยมของเวียดนำม

ปาะเปี๊ยะเวียดนาม (Vietnamese Spring Rolls) ถือเป็นหนึ่งในอาหารพืน้ เมืองทีโ่ ด่งดังทีส่ ุดของ ประเทศเวียดนาม ความอร่อยของเปาะเปี๊ยะเวียดนาม อยูท่ ก่ี ารนาแผ่นแป้งซึง่ ทาจากข้าวจ้าวมาห่อไส้ ซึง่ อาจจะเป็นไก่ หมู กุง้ หรือหมูยอ โดยนามารวมกับผักสมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนามารับประทานคู่กบั น้าจิม้ หวาน โดยจะมีถวคั ั ่ ว่ แครอทซอย ไชเท้าซอย ให้เ ติม ตามใจชอบ และบางครัง้ อาจมีเครือ่ งเคียงอย่างอื่นเพิม่ ด้วย อำหำรยอดนิ ยมของพม่ำ

หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็ นอาหารยอดนิยมของพม่า โดยการนาใบชาหมักมาทานกับเครือ่ งเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถัวชนิ ่ ดต่าง ๆ งาคัว่ กุง้ แห้ง ขิง มะพร้าวคัว่ เรียกได้ว่า มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับเมีย่ งคา ของประเทศไทย ซึง่ หล่าเพ็ดนี้ จะเป็นเมนูอาหารทีข่ าดไม่ได้ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสาคัญ ๆ ของ ประเทศพม่า โดยกล่าวกันว่า หากงานเลีย้ ง หรืองานเฉลิมฉลองใด ไม่มหี ล่าเพ็ด จะถือว่าการนัน้ เป็ น งานทีข่ าดความสมบูรณ์ไปเลยทีเดียว

91

ใบงำนที่ 6 เรื่อง อำหำรประจำชำติ ของประเทศสมำชิ กอำเซียน สำระกำรเรียนรู้สงั คมและวัฒนธรรม 2. ให้นกั เรียนหาข้อมูลว่านอกจากอาหารทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ในแต่ละชาติแล้ว ในแต่ประเทศมีสงิ่ ทีน่ กั เรียน ควรเรียนรูเ้ พื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีสงิ่ ทีเ่ หมือนและแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร โดยทา เป็นแผนผังมโนทัศน์

92

ใบควำมรู้ 7 เรื่องเศรษฐกิ ของอำเซียน สำระกำรเรียนรู้สงั คมและวัฒนธรรม จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายเรื่องเศรษฐกิของอาเซียนได้ KPA แบบทดสอบอัตนัย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาให้ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความมันคง ่ มัง่ คัง่ และสามารถแข่งขันกับภูมภิ าคอื่น ๆ ได้โดย 1. มุง่ ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การลด ปญั หาความยากจน และการเหลื่อมล้าทางสังคม 2. ทาให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production) โดยจะเริม่ กลไกและ มาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบตั ติ ามข้อริเริม่ ทางเศรษฐกิจทีม่ อี ยูแ่ ล้ว 3. ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วยให้ประเทศ เหล่านี้เข้าร่วมกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน

93

4. ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดทุน การ ประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่วมมือด้าน กฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเทีย่ ว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษา และการพัฒนาฝีมอื แรงงาน ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ 1. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาของอาเซียน ถือเป็ นหนึ่งในเป้าหมายหลักทีผ่ นู้ าประเทศ สมาชิกตัดสินใจรวมตัวกันเป็ นอาเซียน ปจั จุบนั อาเซียนมีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ทีเ่ รียกได้ว่า ครอบคลุมทุกสาขา ไม่ว่าจะเป็นการค้าและการลงทุน การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม การเงิน พลังงาน การ ต่อสูก้ บั ความยากจน ไปจนถึงการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมของประเทศสมาชิก โดยมีเป้าหมายเพื่อ ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายทุน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื ระหว่างประเทศสมาชิกโดยเสรี ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ลด ช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน สร้างความกินดีอยูด่ แี ละส่งเสริมให้อาเซียน สามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้ อย่างไม่อยูใ่ นภาวะทีเ่ สียเปรียบ ในด้านการค้า ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จดั ตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในพ.ศ. 2535 ตามข้อเสนอของนายอานันท์ ปนั ยารชุน นายกรัฐมนตรี ในสมัยนัน้ เพื่อเป็ นกลไก ช่วยขยายการค้าระหว่างประเทศสมาชิก และดึงดูดการลงทุน จากภายนอกจนถึง พ.ศ. 2551 ประเทศ สมาชิกอาเซียน 6 ประเทศทีเ่ ข้าเป็ นสมาชิกก่อน ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ และบรูไนดารุสซาลาม ได้ลดภาษีสนิ ค้าในกรอบ AFTA ทุกรายการลงเหลือร้อยละ 0-5 แล้ว ในขณะทีป่ ระเทศทีเ่ ข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนทีหลังได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา มีกาหนดต้อง ลดภาษีสนิ ค้าลงเหลือร้อยละ 0-5 ใน พ.ศ. 2558 ด้านการค้าบริการ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ทยอยเปิดเสรีมากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยมุง่ เน้น ใน 7 สาขาหลัก คือ การเงิน ขนส่งทางทะเล ขนส่งทางอากาศ การสื่อสารโทรคมนาคม การท่องเทีย่ ว ก่อสร้าง และ บริหารธุรกิจ ด้านการลงทุน ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ดาเนินความร่วมมือในการส่งเสริมการลงทุนครอบคลุมสาขา การผลิต เกษตร ประมง ปา่ ไม้ เหมืองแร่ และการบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับ 5 สาขาดังกล่าว ด้านอุตสาหกรรม อาเซียนมีความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN

94

Industrial Cooperation : AICO) ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันให้กบั สินค้า อุตสาหกรรมของอาเซียน โดยสนับสนุนการแบ่งการผลิตในภูมภิ าค ลดต้นทุนการผลิต โดยการลดภาษี นาเข้าสินค้าสาเร็จรูป กึง่ สาเร็จรูป และวัตถุดบิ ความร่วมมือของอาเซียนในเรือ่ งนี้เป็นประโยชน์อย่าง มากกับอุตสาหกรรมการผลิตและประกอบรถยนต์ของประเทศสมาชิกอาเซียน การมีความร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจของอาเซียนมีประโยชน์หลายประการ เช่น 1. ช่วยลดต้นทุนการผลิตและมีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการและการลงทุนภายในประเทศสมาชิกอย่าง สะดวกมากยิง่ ขึน้ 2. ช่วยลดการพึง่ พาตลาดในประเทศทีส่ าม อันเนื่องมาจากการขยายตัวของการค้าภายในภูมภิ าค โดยเฉพาะสินค้าในกลุ่มทีอ่ าเซียนมีศกั ยภาพและสามารถผลิตได้เองในระดับมาตรฐานสากล อาทิ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และผลิตภัณฑ์ดา้ นสุขภาพและ เครือ่ งสาอาง 3. ช่วยสร้างอานาจการต่อรองของอาเซียนกับกลุ่มเศรษฐกิจอื่น ๆ 4. ช่วยเพิม่ สวัสดิการและยกระดับความเป็ นอยูข่ องผูบ้ ริโภคภายในประเทศสมาชิกอาเซียนให้ดยี งิ่ ขึน้ เนื่องจากผูบ้ ริโภคสามารถเลือกสรรสินค้าต่าง ๆ ได้หลากหลายมากยิง่ ขึน้ ในราคาทีถ่ ูกลงแต่คุณภาพสูง ขึน้ 5. ช่วยให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิก อันนามาซึง่ ชีวติ ความเป็ นอยู่ทด่ี ขี น้ึ ใน พ.ศ. 2545 ผูน้ าประเทศอาเซียนได้เห็นชอบร่วมกันให้จดั ตัง้ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อให้ การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจของอาเซียนมีเป้าหมายทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ขณะนี้ประเทศ สมาชิกอาเซียนกาลัง อยูใ่ นระหว่างดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ ซึง่ เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของ การจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนภายในปีเป้าหมาย พ.ศ. 2558 ประเทศไทยกับอาเซียน สานักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ

กรมประชาสัมพันธ์

2. เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) เพื่อให้ประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียนได้บรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ นความเจริญเติบโตและความร่วมมือ ทางด้านเศรษฐกิจ เขตการค้าเสรีอาเซียน หรือ AFTA ซึง่ เป็นคาย่อมาจากคาว่า ASEAN Free Trade Area จึงถูกก่อตัง้ ขึน้ ในการประชุมผูน้ าอาเซียน (ASEAN Summit) ในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รบั การลง

95

นามในสิงคโปร์ เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2535 ประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียนได้เข้าร่วมในข้อตกลงเขต การค้าเสรีในช่วงปีต่างๆ ดังนี้ ปี พ.ศ. 2538 ประเทศบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ ไทย และ เวียดนาม ปี พ.ศ. 2540 ประเทศลาว พม่า ปี พ.ศ. 2542 ประเทศกัมพูชา เขตการค้าเสรีเป็นข้อตกลงโดยสมาชิกกลุ่มอาเซียนซึง่ กังวลต่อผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมท้องถิน่ ของตนเอง เกีย่ วกับการตลาดและคุณภาพของสินค้า เขตการค้าเสรีเป็นการลดภาษีศุลกากรเพื่อให้สนิ ค้าภายใน อาเซียนเกิดการหมุนเวียน การก่อตัง้ เขตการค้าเสรีมวี ตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1. เพิม่ ปริมาณการค้าภายในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. สร้างแรงดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในภูมภิ าคให้มากขึน้ 3. ทาให้ภมู ภิ าคอาเซียนเป็ นฐานการผลิตทีม่ ขี ดี ความสามารถในการแข่งขันระดับโลกการดาเนินการ ของเขตการค้าเสรีอาเซียนนาไปสู่การอานวยความสะดวกต่อการค้าภายในภูมภิ าคอาเซียน โดยการ ปรับกระบวนการด้านตรวจคนเข้าเมือง ภาษี และลดอุปสรรคอันเกิดจากมาตรการกีดกันทางการค้า ดังนี้ 1. ปรับขัน้ ตอนการตรวจคนเข้าเมืองให้สอดคล้องกัน 2. ปรับ Tariff Nomenclature ให้สอดคล้องกัน 3. ให้ประเทศสมาชิกปฏิบตั ติ าม GATT Valuation Agreement 4. อานวยความสะดวกพิธกี ารตรวจคนเข้าเมืองด้วย Green Lane 5. ยกเลิกค่าธรรมเนียมการตรวจคนเข้าเมือง 6. ปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และการตรวจประเมินเพื่อการรับรองของประเทศสมาชิก ให้สอดคล้องกัน 7. จัดทาความตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วม

96

ใบงำนที่ 7 เรื่อง เศรษฐกิ ของอำเซียน สำระกำรเรียนรู้ สังคมและวัฒนธรรม ให้นกั เรียนจับคู่ว่าคาถมกับคาตอบใดทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั แล้วตอบคาถามในกระดาษคาตอบ

คำถำม คำถำม 1. การค้าเสรี 2. เขตการค้าเสรีอาเซียน 3. ผลดีของการค้าเสรี 4. AFTA 5. ประเทศในประชาคมอาเซียน 6. จุดมุง่ หมายของ AFTA 7. สินค้าอุปโภคทีเ่ ข้ามาจาหน่ายและ นักเรียนรูจ้ กั มาจากประเทศใดมากทีส่ ุด 8. สินค้าอุปโภคทีน่ าเข้าจากต่างประเทศ จานวนมาก 9. คาว่าเสรี 10. ASEAN

คำตอบ 1. การค้าขายทีไ่ ม่มกี ารกีดกันด้านภาษี อากร 2. AFTA 3. ผูบ้ ริโภคสามารถซือ้ สินค้าทีม่ คี ุณภาพ ในราคาไม่แพง 4. ASEAN Free Trade Area – AFTA 5. ปี พ.ศ.2535 6. ส่งเสริมการค้าและลดต้นทุนการผลิต สินค้าอุตสาหกรรมในกลุ่มอาเซียน 7. ประเทศจีน 8. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9. การกระทาใด ๆ ทีไ่ ม่ทาให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน 10. ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

97

กระดำษคำตอบ คำถำม

คำตอบ

เหตุล

98

ใบควำมรู้ 8 เรื่องเศรษฐกิ จพอเพียงได้ สำระกำรเรียนรู้สงั คมและวัฒนธรรม จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงได้ KPA เรียงความเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงในแบบของตนเอง

เรื่องหลักปรัชญำของเศรษฐกิ จพอเพียง แนวคิ ดหลัก เป็นปรัชญาทีช่ ถ้ี งึ แนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชนทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสาย กลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ เป้ ำหมำย มุง่ ให้เกิดความสมดุลและความพร้อมต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ทาง วัตถุสงั คมสิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี หลักกำร ความพอเพียงหมายถึงความพอประมาณความมีเหตุผลการสร้างภูมคิ ุม้ กันทีด่ ใี นตัวพอสมควรต่อการมี ผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน เงือ่ นไขพืน้ ฐาน ( ความรูค้ ่คู ุณธรรม ) - ต้องอาศัยความรอบรูค้ วามรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการ วางแผนละการดาเนินการทุกขัน้ ตอน - การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติให้มจี ติ สานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและให้มคี วามรอบรู้ ทีเ่ หมาะสมดาเนินชีวติ ด้วยความอดทนความเพียรมีสติปญั ญาและความรอบคอบ

99

แผนภาพหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง

พอประมาณ มีเหตุผล ความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์

มีภมู ิค้ มุ กัน เงื่อนไข

คุณธรรม สุจริ ต ขยัน อดทน สติปัญญารอบรู้ แบ่งปนั

หลักปรัชญำของเศรษฐกิ จพอเพียง 1. เป็นวิถกี ารดาเนินชีวติ ทีใ่ ช้คุณธรรมนาความรู้ 2. เป็นการพัฒนาตนเองครอบครัวองค์กรชุมชนสังคมประเทศชาติให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มันคง ่ 3. เป็นหลักปฏิบตั เิ พื่อให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสุขระหว่างคนกันในสังคมและคนกับธรรมชาติอย่างยังยื ่ น การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พืน้ ฐานคือพึง่ ตนเองเป็นหลักทาอะไรอย่างเป็ นขัน้ ตอนรอบคอบระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะพอควรสมเหตุสมผลและพร้อมรับความเปลีย่ นแปลงในด้านต่างๆการ สร้างความสามัคคีให้เกิดขึน้ บนพืน้ ฐานของความสุมดุลในแต่ละสัดส่วนแต่ละระดับครอบทัง้ ด้าน เศรษฐกิจสังคมเทคโนโลยีทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมรวมถึงจิตใจและวัฒนธรรม การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. โดยพืน้ ฐานก็คอื การพึง่ ตนเองเป็นหลักการทาอะไรอย่างเป็ นขัน้ ตอนรอบคอบระมัดระวัง 2. พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะพอควรความสมเหตุสมผลและการพร้อมรับความเปลีย่ นแปลง 3. การสร้างสามัคคีให้เกิดขึน้ บนพืน้ ฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วนแต่ละระดับ 4. ครอบคลุมทัง้ ทางด้านจิตใจสังคมเทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมรวมทัง้ เศรษฐกิจ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ

100

ด้ำนจิตใจ มีจติ ใจเข้มแข็งพึง่ ตนเองได้มจี ติ สานึกทีด่ เี อือ้ อาทรประนีประนอมนึกถึง ผลประโยชน์สว่ นรวมเป็ นหลัก ด้ำนสังคม ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันรูร้ กั สามัคคีสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบเลือกใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดความ ยังยื ่ นสูงสุด ด้ำนเทคโนโลยี รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อมพัฒนา เทคโนโลยีจากภูมปิ ญั ญาชาวบ้านก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมูม่ าก

101

ใบงำนที่ 8 เรื่องเศรษฐกิ จพอเพียงได้ สำระกำรเรียนรู้สงั คมและวัฒนธรรม 1.ให้นกั เรียนเรียงความเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงในแบบของตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………..………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………..…………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..……………………………….

102

ใบควำมรู้ 9 เรื่องกำรทำน้ำข้ำวกล้องงอก สำระกำรเรียนรู้ กทอ. และคณิ ตศำสตร์ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถทาข้าวกล้องได้ 2.นักเรียนสามารถอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างการชังตวงให้ ่ อาหารมีรสชาตดีได้ KPA 1.ทาข้าวกล้องได้ 2.เขียนอธิบายได้ ข้าวกล้องงอก (germinated brown rice หรือGABA-rice) ถือเป็ นนวัตกรรมหนึ่งทีก่ าลังได้รบั ความสนใจ เป็ นอย่ า งมากเนื่ องจากข้ า วกล้ อ งงอก (germinated brown rice) เป็ นการน าข้ า วกล้ อ งมาผ่ า น กระบวนการงอกซึ่งโดยปกติแล้วในตัวข้าวกล้องเองประกอบด้วยสารอาหารจานวนมากเช่นใยอาหาร กรดไฟติก (Phytic acid) วิต ามินซีวติ ามินอีและ GABA (gamma aminobutyric acid) ซึ่งช่ วยป้ องกัน โรคต่างๆ เช่น มะเร็งเบาหวานและช่วยในการควบคุมน้าหนักตัวสามารถป้องกันการทาลายสมองซึง่ เป็ น สาเหตุของโรคสูญเสียความทรงจา (อัลไซเมอร์) มารูจกั ข้าวกล้องกับข้าวกล้องงอกกัน ข้ำวกล้อง ความจริงมีขา้ วกล้องมากมายที่ขายอยู่ในท้องตลาดสมัยก่อนชาวบ้านจะใช้วธิ ตี าด้วยมือเพื่อกระเทาะ เปลือกจึงเรียกว่าข้าวซ้อมมือสมัยใหม่ใช้เครื่องจักรทาจึงเรียกว่าข้าวกล้องปจั จุบนั ข้าวทุกชนิดจะผ่าน ขัน้ ตอนการขัดสีมาทัง้ นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ว่าขัดมากหรือขัดน้อยถ้าขัดจนขาวใสจะกลายเป็นข้าวขาวซึง่ เป็นข้าว พิมพ์นิยมสาหรับคนทัวโลกแต่ ่ ถ้าขัดบ้างเล็กน้อยยังเห็นเมล็ดข้าวเป็ นสีน้ าตาลอยู่หรือขัดมากขึน้ อีกนิด หนึ่งแต่เมล็ดข้าวยังคงเป็ นสีน้ าตาลอยู่จะเรียกกลุ่มนี้ว่าข้าวกล้องทัง้ หมดซึ่งมันก้อมาจากข้าวในพันธุ์ กลุ่มเดียวกันอยู่ท่วี ่าจะมันเป็ นพันธุ์อ ะไรก้อเท่านัน้ เองเช่นข้าวหอมมะลิก้ออาจมีทงั ้ ข้าวขาวและข้าว กล้องฯลฯยังมีขา้ วอีกกลุ่มหนึ่งทีม่ สี เี ข้มเช่นข้าวหอมนิลดามีสนี ้าตาลมืดจนเกือบเป็นสีดาหรือข้าวมันปูจะ มีความมันและสีแดงเข้มข้าวกลุ่มนี้จะมีสขี องเยื่อหุ้มเมล็ด (รา) ที่มสี เี ข้มตามไปด้วยนอกจากนี้ยงั มีขา้ ว บาเลย์ขา้ วโอ๊ดฯลฯซึง่ ข้าวทุกชนิดถ้าผ่านการขัดสีแต่เพียงน้อยทีเ่ รียกว่าข้าวกล้องนี้ถอื มีประโยชน์ทงั ้ นัน้ ใครชอบแบบไหนก้อเลือกมารับประทานได้ตามสะดวก

103

วิ ธีทำข้ำวกล้องงอก - นาข้าวกล้องใหม่แข่น้ าทิง้ ไว้ 5-10 ชัวโมง ่ - เทน้าออกแล้วนาข้าวกล้องทีแ่ ช่น้ าแล้วมาหมักไว้ในห่อผ้าทีช่ ุ่มน้ าทิง้ ไว้อกี ประมาณ 10-24 ชัวโมง ่ - นาข้าวกล้องทีไ่ ด้มาหุงหรือทาน้ าข้าวกล้องงอกได้ตามใจชอบ สูตรน้าข้าวกล้องงอก ส่วนผสม - ข้าวกล้องงอก 150 กรัม - น้าสะอาด2ลิตร - น้าตาลทราย - นมสด - ธัญพืชต่างๆเช่นถัวหลื ่ องถัวเขี ่ ยวงาดาฯลฯ อุปกรณ์: เครือ่ งทาน้ าเต้าหูแ้ บบไฟฟ้า

104

ใบงำนที่ 9 เรื่องกำรทำน้ำข้ำวกล้องงอก สำระกำรเรียนรู้ กทอ. และคณิ ตศำสตร์ คาสัง่ ให้นกั เรียนเขียนอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างการชังตวงให้ ่ อาหารมีรสชาตดีได้ ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..……….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

105

แบบบันทึกควำมรู้ วันที… ่ …………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………

106

6.1 กำรเรียนรู้จำกผูเ้ ชี่ยวชำญ บทบำทของครู พานักเรียนไปเรียนรูย้ งั สถานทีจ่ ริงและได้ลงมือปฎิบตั จิ ริง บทบำทนักเรียน เรียนรูจ้ ากสถานทีจ่ ริง ผูเ้ ชีย่ วชาญ ซักถามข้อสงสัยต่างๆ จากผูร้ ู้ เครื่องมือ สมุดโน้ต

ชื่อโครงงานภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียน ตอน “ปฎิบตั ิการตามล่าหา บาย” ชื่อนักเรี ยน...................................................................... ชื่อสถานที่...................................................................... วันที่...........................ศ.พ.....................เดือน..................

คาถาม ข้อสงสัย 1 …………………………………………..…………… 2………………………………………………………… 3 ………………………………………………………… 4………………………………………………………… 5 ………………………………………………………… ตอบข้อสงสัย 1………………………………………………………… 2………………………………………………………… 3.………………………………………………………… 4 ………………………………………………………… 5 …………………………………………………………

107

สิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้เพิม่ เติม 1………………………………………………………… 2………………………………………………………… 3.………………………………………………………… 4………………………………………………………… 5 …………………………………………………………

วาดรู ปตกแต่ง วาดรู ปสิ่ งที่ประทับใจหรื อบันทึกสิ่ งที่ประทับใจ

108

6.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทบำทของครู ช่วยแนะนาและให้ความรูน้ ักเรียนให้รจู้ กั รูปแบบในการนาเสนอข้อมูลการเรียนรูใ้ น แบบต่างๆและให้นกั เรียนได้เลือกรูปแบบทีต่ นเองถนัดหรือสนใจ เช่น สร้างชิน้ งาน ทา poier point presentationหรือ rosterต่างๆ บทบำทนักเรียน สรุปความรูท้ ต่ี นเองเรียนมาในแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละหัวข้อ โดยเลือกรูปแบบการ นาเสนอผลงานในรูปแบบทีต่ นเองสนใจ เครื่องมือ นาเสนอชิน้ งาน 7. สรุปข้อมูล บทบำทครู

ครูให้ความรูน้ กั เรียนให้รจู้ กั รูปแบบในการนาเสนอ เช่นสร้างชิน้ งาน ทา power point presentationหรือ Poster ต่างๆ บทบำทนักเรียน สรุปความรูท้ ต่ี นเองเรียนมาในแต่ละกิจกรรมหรือแต่ละหัวข้อโดย เลือกรูปแบบการนาเสนอผลงานในรูปแบบทีต่ นเองสนใจ เครื่องมือ 1. ชิน้ งานทีจ่ ะนาเสนอ 2. แบบประเมินตนเอง

109

แบบประเมิ นตนเอง

มีความเข้าใจเรือ่ งข้าวตลอดจนคความเชื่อมโยง

1.คาศัพท์เกีย่ วกับข้าวของประเทศสมาชิก อาเซียน 2. เศรษฐกิจ 3. การแปรรูปอาหาร

กับสิง่ มีชวี ติ อันเนื่องจากการอยูร่ ่วมกันของ มนุษย์และการเข้าเรือ่ งอาเซียนและการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

4การใช้ชวี ติ อย่างพอเพียง 5.การสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตร เช่น การ ทาน้าข้าวกล้องงอก 6.อาหารในอาเซียน

สิ่งที่ได้ เรี ยนรู้

สิ่งที่ทาได้ ดี

ประเมิน ตนเอง

ต้องศึกษาเพิม่ เติมเรือ่ งวัฒนธรรมของประเทศ สมาชิกอาเซียน

สามารถนาไปต่อยอด่อความรูไ้ ด้เพื่อสร้างองค์ ความรูด้ า้ นอื่น ๆ ให้มากขึน้

สิ่งที่ต้องปรั บปรุ ง แก้ ไข สิ่งที่ต้องเรี ยนรู้ เพิ่มเติม

ภำพที่ 11 การประเมินตนเองของผูเ้ รียน

110

8. กำรต่อยอดองค์ควำมรู้ บทบำทของครู บทบำทนักเรียน

เครื่องมือ

ช่วยแนะนานักเรียนในการต่อยอดองค์ความรู้ ถามคาถามเพื่อให้นกั เรียน ได้คดิ ต่อยอดจากสิง่ ทีต่ นเองเรียนรูม้ า สรุปสิง่ ทีต่ นเองได้เรียนรูม้ าตลอดโครงงาน รูจ้ กั เชื่อมโยงสิง่ ทีไ่ ด้ เรียนรูก้ บั ชีวติ จริงและคิดต่อยอดองค์ความรูเ้ พื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม ได้เรียนรูแ้ บบฟอร์มบันทึกสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูแ้ ละการต่อยอดอง

แบบฟอร์มบันทึกสิ่ งที่ได้เรียนรู้และกำรต่อยอดองค์ควำมรู้ สิ่ งที่ได้จำกำรเรียนรู้ กำรต่อยอดองค์ควำมรู้ ภาษา ศึกษาภาษาอาเซียนด้านวงศ์คาศัพท์ต่างๆ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การเพิม่ มูลค่าของข้าว การผลิต/การบริโภค/เศรษฐกิจพอเพียง การรวมกลุ่มทางเกษตรกรรม เช่น สหกรณ์ การเกษตร วิทยาศาสตร์ ครีมน้ ามันราข้าว ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากข้าว การปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ คิดค้นนวัตกรรมช่วยในการกาจัดศัตรูพชื ในการ ปลูกข้าว การออกแบบสูตรอาหารด้านข้าวต่าง ๆ ออกแบบสูตรอาหารได้ดว้ ยตนเอง ตำรำงที่ 14 บันทึกสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูแ้ ละการต่อยอดองค์ความรู้

111

คำถำมชวนถก-อภิ ปรำย ด้ำนวิ ทยำศำสตร์ 1. เรามานาความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในการปลูกข้าวได้อย่างไร 2. ระบบนิเวศกับสังคมมนุษย์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

ด้ำนศิ ลปะดนตรี 1. เราสามารถใช้ส่วนใดของข้าวมาสร้างงานศิลปะได้จงยกตัวอย่างหรืออธิบายกระบวนการ 2. ให้นกั เรียนช่วยกันแต่งเพลงทีม่ เี นื้อหาเกี่ยวกับข้าวส่วนประกอบของข้าวหรือการทานาโดยใช้ทานอง เพลงทีน่ กั เรียนรูจ้ กั ด้ำนคณิ ตศำสตร์ 1. ให้นกั เรียนหาวิธตี วงข้าวชนิดต่างๆโดยใช้วสั ดุทห่ี าได้ใกล้ตวั หรือกาหนดมาตราส่วนรูปแบบใหม่ 2. ความสูงของข้าวแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันหรือไม่เหตุใดจึงเป็นเช่นนัน้ ด้ำนกอท. 1. เครือ่ งสีขา้ วมีมาตัง้ แต่เมื่อไหร่ใครเป็นผูค้ ดิ ค้นนักเนียนสามารถผลิตเครือ่ งมือเหล่านัน้ ได้หรือไม่ 2. วัสดุใดทีน่ ามาทาเครือ่ งสีขา้ วได้จงยกตัวอย่างและอธิบาย 3. การเก็บเกี่ยวผลผลิตแบบใดทีใ่ ห้ปริมาณและคุณภาพของข้าวได้ดที ส่ี ุดจงอภิปราย ด้ำนภำษำไทย 1. ทาไมภาษาแต่ละถิน่ แตกต่างกัน 2. เรามีแนวทางการเรียนรูภ้ าษา ต่างประเทศอย่างไร 3. การศึกษาคาศัพท์มคี วามสาคัญอย่างไรต่อการศึกษาภาษา 4. เป็นได้หรือไม่ว่าภาษาไทยจะเป็นภาษาราชการในประชาคมอาเซียน ด้ำนสังคมและวัฒนธรรม 1. การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมมีประโยชน์ในการอยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างไร 2. ในระบบเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นสังคมนิยม เราจะสร้างนวัตกรรมใดทีเ่ ป็นเอกลักษณ์มาจากประเทศไทยและ วัฒนธรรมไทยได้บา้ ง 3. เราจะใช้แนวปรัญญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวติ ได้อย่างไร และประยุกต์ใช้ในเรือ่ งใดได้บา้ ง

112

3

ระดมควำมคิ ด

x

4

วิ เครำห์จำแนกแยกแยะข้อมูลที่ถกุ ต้อง

x

5

ออกแบบกำรเรียนรูร้ ว่ มกัน

x

สุนทรีย

x

ฝึกฝนและพัฒนา ตนเองอย่างสม่าเสมอ

สำรวจชุมชนหำแรงบันดำลใจ

ภูมใิ จในความเป็ นไทย

2

รูปทรง (เรขาคณิต)

เตรียมครู

กระบวนกำรเรียนรูเ้ พื่อพัฒนำร่ำงกำยและจิ ตใจ

สิง่ แวดล้อมรอบตัว

1

องค์ควำมรู้ ตนเอง (ร่างกายและจิตใจ)

กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน/ทักษะ ที่ได้รบั

ทักษะ อำชีพ

หัตถกรรม-คหกรรมเกษตรกรรม

ขัน้ ที่

การสือ่ สารและทางานเป็น ทีม

การริเริม่ และกากับดูแล

ทักษะชีวิต

x x

x

ลงมือปฏิ บตั ิ 6

6.1 หาข้อมูล-ทดลอง-สร้างชิน้ งานจริง 6.2 เรียนรูจ้ ากผูเ้ ชีย่ วชาญจริง 6.3 แลกเปลีย่ นเรียนรู้

7

สรุปข้อมูลองค์ควำมรู้

8

ต่อยอดองค์ควำมรู้

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x x

x

Matrix สำหรับกำรประเมิ นผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ เป็ นไปตำมกรอบโครงสร้ำงในโครงกำรวิ จยั นี้ ระดับปฐมวัย

113

6 7 8

x x

x

x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x

x

x x x x x

x x x

มีจิตวิจารณญาณที่สามารถแยกแยะสิ่ งที่ดี และไม่ดีเพื่อนาไปใช้ได้

ลงมือทาเพื่อนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง

x x

สุ นทรี ย

x

ฝึ กฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ จริ ยธรรม

เคารพความคิดที่แตกต่าง

การคิดตรรกะพื้นฐาน

สุ ขศึกษา

วิทย์, คณิ ต, เทคโนโลยี

คิด-คานวณ

การอ่าน-เขียน

สมรรถนะด้านสารสนเทศ

กระบวนการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาร่ างกายและจิตใจ

x

x x

บริ หารจัดการ

x

หัตถกรรม-คหกรรม-เกษตรกรรม

x x x

องค์ ความรู้

ภูมิใจในความเป็ นไทย

เตรียมครู สารวจชุมชนหาแรงบันดาลใจ ระดมความคิด วิเคราห์ จาแนกแยกแยะข้ อมูลทีถ่ ุกต้ อง ออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ลงมือปฏิบตั ิ 6.1 หาข้อมูล-ทดลอง-สร้างชิ้นงานจริ ง 6.2 เรี ยนรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญจริ ง 6.3 แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ สรุปข้ อมูลองค์ ความรู้ ต่ อยอดองค์ ความรู้

การสื่ อสารและทางานเป็ นทีม

1 2 3 4 5

กระบวนการจัดการเรียนการสอน/ ทักษะทีไ่ ด้ รับ

ทักษะอาชีพ

คิดวิพากษ์และการแก้ปัญหา

ขั้นที่

สร้างสรรค์นวัตกรรม

ทักษะชีวติ

x x x

x

x

x x

Matrix สำหรับกำรประเมิ นผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ เป็ นไปตำมกรอบโครงสร้ำงในโครงกำรวิ จยั นี้ ระดับช่วงชัน้ ที่ 1

x x

x x

114

1 2 3 4 5

6

7 8

x x

x

x x

x x

x

x x

x

x

x

x

x x

x x

x

x x

x x

x x x

x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x x x x

x x x

x x x

x x

มีจิตวิจารณญาณที่สามารถแยกแยะ สิ่ งที่ดีและไม่ดีเพื่อนาไปใช้ได้

ลงมือทาเพื่อนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง

x x

x x

x

x

x x x x x

สุ นทรี ย

จริ ยธรรม

ฝึ กฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ

เคารพความคิดที่แตกต่าง

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

ภูมิใจในความเป็ นไทย-อาเซียน

กระบวนการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาร่ างกายและจิตใจ

คณิ ตศาสตร์ประยุกต์ (การนาไปใช้)

การใช้ภาษา

งานบริ การ

บริ หารจัดการ

เทคโนโลยี-อุตสาหกรรม

หัตถกรรม-คหกรรม-เกษตรกรรม

ทักษะด้านสังคมและทักษะข้าม วัฒนธรรม

ความยืดหยุน่ และการปรับตัว

การสื่ อสารและทางานเป็ นทีม

กระบวนการจัดการเรียนการสอน/ ทักษะทีไ่ ด้ รับ

เตรียมครู สารวจชุมชนหาแรงบันดาลใจ ระดมความคิด วิเคราห์ จาแนกแยกแยะข้ อมูลทีถ่ ุ กต้ อง ออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ลงมือปฏิบตั ิ 6.1 หาข้อมูล-ทดลอง-สร้าง ชิ้นงานจริ ง 6.2 เรี ยนรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญจริ ง 6.3 แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ สรุปข้ อมูลองค์ ความรุ้ ต่ อยอดองค์ ความรู้

คิดวิพากษ์และการแก้ปัญหา

สร้างสรรค์นวัตกรรม

ขั้นที่

องค์ ความรู้

ประวัติศาสตร์ -ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

ทักษะอาชีพ

ทักษะชีวิต

x

x

x x

Matrix สำหรับกำรประเมิ นผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ เป็ นไปตำมกรอบโครงสร้ำงในโครงกำรวิ จยั นี้ ระดับช่วงชัน้ ที่ 2

x x

x x

115

4 5

6

7 8

x x

x x

x x

x

x

x

x

x x x

x

x x

x x

x x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x

x x

x x

x x

x x

x x

x x

x x

x x

x x

x x

x x x x

x x

มีจิตวิจารณญาณที่สามารถแยกแยะ สิ่ งที่ดีและไม่ดีเพื่อนาไปใช้ได้

ลงมือทาเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง

สุนทรี ย

จริ ยธรรม

ฝึ กฝนและพัฒนาตนเองอย่าง สม่าเสมอ

เคารพความคิดที่แตกต่าง

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

ภูมิใจในความเป็ นไทย- อาเซียน

กระบวนการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาร่ าง กายและจิตใจ

คณิ ตศาสตร์ประยุกต์ (การนาไปใช้)

การใช้ภาษา (ภาษา- อาเซียน 3 ภาษา)

ประวัติศาสตร์ -ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

การจัดการด้านรัฐกิจ

องค์ ความรู้

งานบริ การ

บริ หารจัดการ

x x

เทคโนโลยี-อุตสาหกรรม

x

หัตถกรรม-คหกรรม-เกษตรกรรม

x x

ทักษะอาชีพ

ทักษะด้านสังคมและทักษะข้าม วัฒนธรรม

ความยืดหยุน่ และการปรับตัว

2 3

เตรียมครู สารวจชุมชนหาแรง บันดาลใจ ระดมความคิด วิเคราห์ จาแนกแยกแยะ ข้ อมูลที่ถุกต้ อง ออกแบบการเรียนรู้ ร่ วมกัน ลงมือปฏิบัติ 6.1 หาข้อมูล-ทดลองสร้างชิ้นงานจริ ง 6.2 เรี ยนรู้จาก ผูเ้ ชี่ยวชาญจริ ง 6.3 แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สรุปข้ อมูลองค์ความรู้ ต่ อยอดองค์ความรู้

การสื่ อสารและทางานเป็ นทีม

1

กระบวนการจัดการ เรียนการสอน/ ทักษะที่ได้รับ

คิดวิพากษ์และการแก้ปัญหา

ขั้น ที่

สร้างสรรค์นวัตกรรม

ทักษะชีวติ

x x

x x

x

x

x

x

x x

Matrix สำหรับกำรประเมิ นผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ เป็ นไปตำมกรอบโครงสร้ำงในโครงกำรวิ จยั นี้ ระดับช่วงชัน้ ที่ 3

x x

x x

116

1 2 3 4 5

6

7 8

เตรียมครู สารวจชุมชนหาแรงบันดาลใจ ระดมความคิด วิเคราห์ จาแนกแยกแยะข้ อมูล ทีถ่ ุกต้ อง ออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ลงมือปฏิบตั ิ 6.1 หาข้อมูล-ทดลอง-สร้าง ชิ้นงานจริ ง 6.2 เรี ยนรู ้จากผูเ้ ชี่ยวชาญจริ ง 6.3 แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ สรุปข้ อมูลองค์ ความรู้ ต่ อยอดองค์ ความรู้

x x

x

x x

x x

x x

x x

x

x

x x x x

x

x x

x x x

x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x x

x x

x x x x x

Matrix สำหรับกำรประเมิ นผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ เป็ นไปตำมกรอบโครงสร้ำงในโครงกำรวิ จยั นี้ ระดับช่วงชัน้ ที่ 4

ลงมือทาเพื่อนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง มีจิตวิจารณญาณที่สามารถแยกแยะสิ่ ง ที่ดีและไม่ดีเพื่อนาไปใช้ได้

สุ นทรี ย

จริ ยธรรม

ฝึ กฝนและพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ

เคารพความคิดที่แตกต่าง

ภูมิใจในความเป็ นไทย- อาเซียน

กระบวนการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาร่ างกายและจิตใจ วิทยาศาสตร์สุขภาพ-จิตวิทยา

คณิตศาสตร์ประยุกต์ (การนาไปใช้)

การใช้ภาษา (ภาษา- อาเซี ยน 3 ภาษา)

ประวัติศาสตร์ -ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

การจัดการด้านรัฐกิจ

องค์ ความรู้

งานบริ การ

บริ หารจัดการ

หัตถกรรม-คหกรรม-เกษตรกรรม

เทคโนโลยี-อุตสาหกรรม

ทักษะอาชีพ คความยืดหยุน่ และการปรับตัววาม ยืดหยุน่ และการปรับตัว ทักษะด้านสังคมและทักษะข้าม วัฒนธรรม

การสื่ อสารและทางานเป็ นทีม

คิดวิพากษ์และการแก้ปัญหา

ขั้น กระบวนการจัดการเรียนการ ที่ สอน/ทักษะทีไ่ ด้ รับ

สร้างสรรค์นวัตกรรม

ทักษะชีวติ

x x

x x

x

x

x

x

x x

x x

x x

117

บรรณำนุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทำงกำรบริ หำรจัดกำรเรียนรู้ส่ปู ระชำคมอำเซียน. กรุงเทพฯ, 2555. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ, 2551. เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์,ภำพอนำคตและคุณลักษณะของคนไทยที่ประสงค์. กรุงเทพ : สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2546. คงรัฐ นวลแปง. กำรพัฒ นำรูป แบบกำรเรีย นกำรสอนที่ ส่ งเสริ ม จิ ต แห่ งวิ ท ยำกำร จิ ต แห่ งกำร สัง เครำะห์ และจิ ต แห่ ง กำรสร้ ำ งสรรค์ ส ำหรับ นิ สิ ต ปริ ญ ญำตรี คณะศึ ก ษำศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยบูรพำ. ปริญ ญาการศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการวิจยั และพัฒนาหลั กสูตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2554. คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน.รำยงำนผลกำรจัดสัมมนำกำรจัด อันดับควำมสำมำรถ ทำงกำรแข่ ง ขัน ของประเทศไทยโดย IMD. [Online], 2554.ที่ม า:http://www.nesdb.go.th./ LinkClick.aspx?fileticket=RsZdSgi42Qc%253D&tabid=489&mid=1163 คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (กพข.).ผลกำรวิ เครำะห์ตวั ชี้วดั และ แนวทำงกำรจัด กำรจุด อ่ อ นของประเทศไทยจำกกำรจัด อัน ดับ ควำมสำมำรถในกำร แข่งขันโดย WEF และ IMD. [Online], 2554.ทีม่ า:http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home /interest/kro52/kpc\/%E020WEF&IMD.pdf จานงค์ ทองประเสริฐ. ภำษำไทย วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดวงแก้ว, 2552. ทิศนา แขมมณี. ศำสตร์กำรสอน: องค์ควำมรู้เพื่ อกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ที่มีประสิ ทธิ ภำพ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. ประเวศ วะสี, มีปัญญำ รักษำทุก (ข์) โรค : ระบบกำรศึกษำที่แก้ควำมทุกข์ยำกของคนทัง้ แผ่นดิ น. กรุงเทพ : ปญั ญาญาณ, 2553. ไพฑู ร ย์ สิน ลารัต น์ , สัต ตศิ ล ำ หลัก เจ็ด ประกำรส ำหรับ กำรเปลี่ ย นผ่ ำ นกำรศึ ก ษำเข้ ำ สู่ ยุ ค เศรษฐกิ จ

118

วิจารณ์ พานิช. วิ ถีกำรเรียนรู้เพื่อศิ ษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดิ ์วงศ์, 2555. สานัก งานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปรัช ญำของเศรษฐกิ จพอเพี ยง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ 21 เซนจูร,ี 2550. สานักงานรับรองมาตราฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. สรุปผลกำรประเมิ น คุณภำพภำยนอก สถำนศึกษำระดับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน รอบสอง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2549-2552). [Online], http://www.onesga.or.th. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. แผนพัฒนำกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิ กำรฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 – 2559.[Online],http://www.plan.ru.ac.th/strategy/data/education _evelopement_55-59.pdf สุมน อมรวิวฒ ั น์. วิ ถีกำรเรียนรู้ : คุณลักษณะที่คำดหวังในช่วงวัย. กรุงเทพฯ: สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2546. Bellanca, James and Brandt, Ron.21st Century Skills :Rethinking How Students Learn. USA: Solution Tree Press, 2010. Gardner Howard, Five Minds for the Future.USA: Harvard Business Press, 2008. Ministry of Education Singapore.Nurturing Our Young for the Future: Competencies for 21st Century. [Online], 2010.Source : http://www.moe.gov.sg/committee-of-supplydebate/files/nurturing-our-young. pdE. Toffler Alvin. The Third Wave. USA: Global Brain Publication, 1980. United States Agency for International Development.ASEAN Curriculum Sourcebook.[Online], 2012. Source :http://www.vnseameo.org/zakir/ASEAN_Curriculum_Sourcebook.pdf

119

120