ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error)

เมื่อรับใบสั่งยา เภสัชกร/เจาพน้ักงานเภส ัชกรรม ¾...

234 downloads 485 Views 152KB Size
ความคลาดเคลือ่ นทางยา (Medication error) ความคลาดเคลือ่ นทางยา (Medication error) คือ เหตุการณ์ใดๆ ที่สามารถป้ องกันได้ ที่อาจเป็ นสาเหตุ หรื อนําไปสู่ การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรื อเป็ น อันตรายแก่ผปู้ ่ วย หรื อความคลาดเคลื่อนที่ทาํ ให้ผปู ้ ่ วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับ ความคลาดเคลือ่ นทางยา (Medication error) แบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ได้แก่ 1. ความคลาดเคลื่อนในการสัง่ ใช้ยา (Prescription error) 2. ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคําสั่งใช้ยา (Transcribing error) 3. ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error) 4. ความคลาดเคลื่อนในการบริ หารยา (Administration Error) 1. ความคลาดเคลือ่ นในการสั่ งใช้ ยา (Prescription error ) คื อ ความคลาดเคลื่ อนที่ พ บในใบสั่งยา (ใบ order) อาจเกิ ดจากแพทย์เขี ยนผิ ด พลาด หรื อไม่ ชัด เจน รวมถึงการเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรู ปแบบยาผิด การสัง่ ยาในจํานวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยา ผิด การเลือกความเข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็ วในการให้ยาผิด หรื อการให้คาํ แนะนําการใช้ยาผิด การสัง่ ยาผิด ตัวผูป้ ่ วย หรื อการไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ทาํ ให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึง ตัวผูป้ ่ วย ความคลาดเคลื่อนในการสัง่ ใช้ยา แบ่งเป็ นประเภทดังนี้ - สั่ งยาผิดขนาด หมายถึง แพทย์สงั่ ใช้ยาที่มีขนาดมากเกิน maximum dose หรื อ สัง่ ยาในขนาดที่ไม่เหมาะสม กับ ผูป้ ่ วย เช่น Isosorbide dinitrate 5mg. SL prn chest pain แต่แพทย์สงั่ 10mg. SL เป็ นต้น - สั่ งยาผิดชนิด หมายถึง เขียนใบสัง่ ยา สัง่ ยาคนละอย่าง (คนละชนิด) กับที่ควรจะเป็ น - ผิดวิถีทาง หมายถึง เขียนใบสัง่ ยา สั่งใช้ยาผิดวิถีทาง ทําให้ใช้ยาไม่ถูกวิธี เช่น ยาใช้ภายนอก แต่นาํ มาใช้เป็ น ยาใช้ภายใน, ยาสําหรับให้ IV แต่สงั่ ให้ IM, ยาเหน็บ แต่นาํ มาใช้อม เป็ นต้น - ผิดความถี่ หมายถึง เขียนใบสั่งยา วิธีรับประทานผิด หรื อระบุวิธีรับประทานที่ไม่เหมาะสมกับผูป้ ่ วยคนนั้น เช่น norfloxacin 400 mg tid แทนที่จะเป็ น bid เป็ นต้น - สั่ งยาทีม่ ีประวัติแพ้ หมายถึง แพทย์สงั่ ยาที่ผปู้ ่ วยมีประวัติแพ้ ซึ่ งเป็ นสาเหตุหลักที่ทาํ ให้เกิดการแพ้ยาซํ้า - ลายมือไม่ ชัดเจน หมายถึง เขียนใบสัง่ ยาด้วยลายมือที่ทาํ ให้ผอู ้ ่านเข้าใจผิดและอ่านผิด

D-1

2. ความคลาดเคลือ่ นในการคัดลอกคําสั่ งใช้ ยา (Transcribing error ) คือ ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอกคําสัง่ ใช้ยาจากคําสัง่ ใช้ยาต้นฉบับที่ผสู้ งั่ ใช้ยาเขียน จําแนก ตามสถานที่ที่เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น คือ - ที่หอผูป้ ่ วย หมายถึง พยาบาลลอกคําสัง่ แพทย์ / อ่านคําสัง่ แพทย์ ไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามแพทย์สงั่ ทําให้ขอ้ มูล ที่คดั ลอกไว้น้ นั มีความคลาดเคลื่อน อันจะส่ งผลกระทบไปถึงการส่ งต่อข้อมูลการรั กษา และการบริ หารยา ผูป้ ่ วย - ที่ศนู ย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่คดั กรองการลงข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ ไม่ ครอบคลุม หรื อคัดกรองข้อมูลผิดพลาด ทําให้ขอ้ มูลการรักษาของผูป้ ่ วยมีความคลาดเคลื่อน - ที่เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่หอ้ งยา/เภสัชกร อ่านคําสัง่ แพทย์ ไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามแพทย์สงั่ ส่ งผลถึง การส่งต่อข้อมูลและการจ่ายยามีความคลาดเคลื่อน 3. ความคลาดเคลือ่ นในการจ่ ายยา (Dispensing Error) คือ ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุใน คําสัง่ ใช้ยา ได้แก่ ผิดชนิดยา รู ปแบบยา ความแรงยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จํานวนยาที่สงั่ จ่าย จ่ายยาผิดตัวผูป้ ่ วย จ่ายยาที่ เสื่ อมสภาพ หรื อหมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีคาํ สัง่ ใช้ยา เตรี ยมยาผิด เช่น เจือจาง/ผสมผิด ใช้ภาชนะบรรจุยาไม่เหมาะสม ฉลากยาผิด หรื อไม่มีผปู ้ ่ วยรับยา ชื่อผูป้ ่ วยผิด หรื อชื่อยาผิด เป็ นต้น ซึ่งความคลาดเคลื่อนนี้ส่งผลให้ผปู ้ ่ วยได้รับยาที่ ไม่ถูกต้อง หรื อไม่เหมาะสม 4. ความคลาดเคลือ่ นในการบริหารยา (Administration error) คือ การบริ หารยาที่แตกต่างไปจากคําสัง่ ใช้ยาของผูส้ งั่ ใช้ยา ที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผูป้ ่ วย หรื อความคลาดเคลื่อนที่ทาํ ให้ผปู ้ ่ วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในการสัง่ ยาของผูส้ งั่ ใช้ยา จําแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ 1. การให้ ยาไม่ ครบ ( omission error) หมายถึง การให้ยาผูป้ ่ วยไม่ครบมื้อ (ไม่ครบ course) ตามที่แพทย์สงั่ 2. การให้ ยาผิดชนิด (wrong drug error) หมายถึง การให้ยาผูป้ ่ วยคนละชนิ ด (คนละตัวหรื อคนละชื่อ generic name) กับที่แพทย์สงั่ 3. การให้ ยาซึ่งผู้สั่งใช้ ยาไม่ ได้ สั่ง (unordered or unauthorized drug) 4. การให้ ยาผู้ป่วยผิดคน ( wrong patient) หมายถึง การให้ยาที่ไม่ใช่ของผูป้ ่ วยคนนั้น อาจเนื่องจากพยาบาล จัดเตรี ยมยาไว้สาํ หรับผูป้ ่ วยหลายราย จึงให้สลับกับผูป้ ่ วยคนอื่น 5. การให้ ยาผิดขนาด (wrong-dose or wrong-strength error) หมายถึง เป็ นความคลาดเคลื่อนจากการให้ยา ในขนาดที่สูงกว่าหรื อตํ่ากว่าขนาดยาที่ผสู ้ งั่ ใช้ยาสัง่

D-2

6. การให้ ยาผิดวิถีทาง (wrong-route error) หมายถึง การให้ยาไม่ถูกวิถีทางตามแพทย์สงั่ เช่น การให้ยาฉี ด long acting ทางหลอดเลือดดํา รวมถึงการให้ยาผิดตําแหน่งที่ให้ยา เช่น สัง่ ให้หยอดตาข้างขวา แต่กลับหยอดที่ตา ข้างซ้าย เป็ นต้น 7. การให้ ยาผิดเวลา (wrong-time error) หมายถึงการให้ยาผูป้ ่ วยผิดเวลาไปจากที่กาํ หนดไว้ในนโยบายการให้ ยาของโรงพยาบาล เช่น กําหนดให้เป็ นความผิดพลาดหากให้ยาเกินกว่า 30 นาที ก่อนหรื อหลังเวลาที่กาํ หนดใน ตารางเวลาให้ยา 8. การให้ ยามากกว่ าจํานวนครั้ งทีส่ ั่ ง (extra-dose error) เป็ นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อมีการให้ยาแก่ ผูป้ ่ วยเกินจากจํานวนครั้งหรื อมื้อยาที่ผสู ้ งั่ ใช้ยาสัง่ ต่อวัน รวมถึงการให้ยาหลังจากมีคาํ สัง่ หยุดใช้ยานั้นแล้วหรื อมี คําสัง่ ชะลอการใช้ยา เช่น ขณะทํา ECT 9. การให้ ยาในอัตราเร็วทีผ่ ดิ (wrong rate of administration error)เป็ นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการใช้ยา โดยเฉพาะยาฉี ดในอัตราเร็ วที่ผิดไปจากที่ผสู ้ งั่ ใช้ยาสัง่ หรื อผิดไปจากวิธีปฏิบตั ิมาตรฐานที่โรงพยาบาลกําหนดไว้ 10. การให้ ยาผิดเทคนิค (wrong technique error) เป็ นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการให้ยาผิดเทคนิ คแม้จะถูก ชนิด ถูกขนาด เช่น การฉี ดยาเพื่อทดสอบการแพ้ยาเพนนิซิลลินทาง intradermal แต่ฉีดเป็ น subcutaneous เป็ นต้น 11. การให้ ยาผิดรู ปแบบยา (wrong dosage-form error) เป็ นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการให้ยาผิดรู ปแบบ จากที่ผสู ้ งั่ ใช้ยาสั่ง เช่นการให้ยานํ้าแขวนตะกอนเมื่อผูส้ งั่ ใช้ยาสัง่ ให้ยาเม็ด การให้ยาป้ ายตาแทนยาหยอดตา หรื อ การบดยาให้ผปู ้ ่ วยโดยผูส้ งั่ ใช้ยาสัง่ ให้กลืนทั้งเม็ด ซึ่ งอาจทําให้ยานั้นสูญเสี ยคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ไป เป็ นต้น เอกสารอ้ างอิง 1. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล. การป้ องกัน ความคลาดเคลื่อนทางยา เพื่อความปลอดภัยของผูป้ ่ วย. พิมพ์ครั้งที่ 2. 2548 2. สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล. เส้นทางสู่คุณภาพ บริ การเภสัชกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. 2543: 77-83

D-3

แนวปฏิบตั ิเพือ่ ป้ องกันความคลาดเคลือ่ นทางยา (Medication error) OPD

แพทย์ ¾ ตรวจสอบรายชื่อที่ให้ใช้ตวั ย่อได้ ¾ ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์ สีแดงหน้าแฟ้ ม และจากแบบฟอร์ มสี ชมพูที่ มีรายละเอียดการแพ้ยาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นแฟ้ มเวชระเบียน หรื อข้อมูลเตือนการแพ้ยาที่จะปรากฏ บนจอคอมพิวเตอร์ กรณี แพทย์สงั่ ยาทางคอมพิวเตอร์ ¾ ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง ¾ ระบุ ขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรื อจํานวนเม็ด ให้ชดั เจน โดยเฉพาะกรณี ตอ้ งการให้ผปู ้ ่ วยรับยา เดิมต่อเนื่อง ¾ ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ดว้ ย เช่น ใช้เวลารู ้สึกวิตกกังวล เวลานอนไม่หลับ เวลาปวด เป็ นต้น พยาบาล ¾ ¾ ¾ ¾

ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผูป้ ่ วยลงในคอมพิวเตอร์ เทียบกับแฟ้ ม เตือนแพทย์กรณี ผปู้ ่ วยมีประวัติแพ้ยาก่อนให้ผปู ้ ่ วยพบแพทย์ ให้แพทย์แก้ไขกรณี พบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตวั ย่อที่ไม่อนุญาตให้ใช้ ให้แพทย์พิจารณาซํ้าเมื่อผูป้ ่ วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยาและแพทย์ไม่ได้ระบุ ระยะเวลาใช้ยาเอาไว้ เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการทางกายอื่นๆ

ห้ องยา เมื่อรับใบสัง่ ยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ¾ ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผูป้ ่ วยลงในคอมพิวเตอร์ เทียบกับคําสัง่ การใช้ยาของแพทย์ในเวช ระเบียน ¾ ตรวจสอบการแพ้ยากรณี ผปู้ ่ วยมีประวัติแพ้ยา โอกาสเกิดการแพ้ยาข้ามกลุ่ม ¾ ตรวจสอบประวัติการเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจากการใช้ยา หากแพทย์สงั่ จ่ายยาที่เคยใช้ แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสัง่ จ่ายยา ¾ ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสมกับวินิจฉัยโรคหรื อไม่

D-4

จัดยา ¾ เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรื อจัดยาในกลุ่ม high alert drug ให้คนที่นงั่ จัดใกล้ๆ ช่วยตรวจสอบความ ถูกต้องของยา ¾ การแบ่งบรรจุ ล่วงหน้าเพื่อเตรี ย มไว้จ่ายให้ผูป้ ่ วย จะต้องบรรจุ ไว้เพี ยงพอให้ใช้หมดภายใน สัปดาห์ ¾ ยาที่แบ่งบรรจุตอ้ งเก็บรักษาตามเกณฑ์ของยานั้นๆ ห้ามแบ่งบรรจุยาที่ตอ้ งเก็บในที่เย็น ¾ ฉลากยาระบุชื่อ ความแรง จํานวนเม็ด วันที่แบ่งบรรจุ วันหมดอายุ ให้ชดั เจน ¾ สุ่ มตรวจสอบความถูกต้องของจํานวนเม็ดยาเป็ นระยะ จ่ายยา ¾ เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่ จ่าย โดยสามารถเที ยบกับ ลักษณะเม็ดยา และรายละเอียดการใช้ยาของผูป้ ่ วยรายนั้นๆ จากจอคอมพิวเตอร์ ¾ ให้เฉพาะเภสัชกรจ่ายยาในกลุ่ม high alert กรณี ตอ้ งจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัชกรรม เช่น การจ่าย ยานอกเวลาราชการ ให้พยาบาลเวรช่ วยตรวจสอบความถูกต้องของยาเที ยบกับลักษณะและ รายละเอียดยาของผูป้ ่ วยรายนั้นที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ¾ ให้มีหลักฐานระบุตวั ผูป้ ่ วยว่าตรงกับชื่อในใบสัง่ ยา ¾ กรณี ผู ้ป่ วยรั บ ยาเดิ ม ต้อ งประเมิ น อาการขั้น ต้น ของผู ้ป่ วย อาการอัน ไม่ พึ ง ประสงค์ต าม แบบฟอร์ มที่หอ้ งยาได้แนบไว้ในเวชระเบียนหากผูป้ ่ วยมีการใช้ยาในกลุ่มที่ตอ้ งเฝ้ าระวัง พร้อม ทั้งประเมินการใช้ยาของผูป้ ่ วยจากระยะเวลารับยาต่อเนื่อง การขาดยา ไม่ใช้ยาตามแพทย์สงั่ ¾ เภสัชกรให้คาํ ปรึ กษา แนะนําผูป้ ่ วยหรื อญาติเกี่ยวกับการใช้ยา การเฝ้ าระวังระหว่างใช้ยาที่บา้ น อาการสําคัญที่ผปู้ ่ วยจะต้องรี บมาพบแพทย์ IPD

แพทย์ ¾ ตรวจสอบรายชื่อยาที่สามารถใช้ตวั ย่อได้ ¾ ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์ สีชมพูหน้าแฟ้ ม และจากแบบฟอร์ มสี ชมพูที่ มีรายละเอียดการแพ้ยาของผูป้ ่ วยอยูใ่ นแฟ้ มเวชระเบียน ¾ ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง ¾ ระบุ ขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรื อจํานวนเม็ด ให้ชดั เจน โดยเฉพาะกรณี ตอ้ งการให้ผปู้ ่ วยรับยา เดิมต่อเนื่อง ¾ ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ดว้ ย เช่น ใช้เวลารู ้สึกวิตกกังวล เวลานอนไม่หลับ เวลาปวด เป็ นต้น D-5

พยาบาล ¾ เตือนแพทย์กรณี ผปู ้ ่ วยมีประวัติแพ้ยาหรื อมีอาการไม่พึงประสงค์จากยาก่อนให้ผปู ้ ่ วยพบแพทย์ โดยแนบแฟ้ มประวัติผปู้ ่ วยในการรายงานแพทย์ทุกราย ¾ ให้แพทย์พิจารณาซํ้าเมื่อผูป้ ่ วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยาและแพทย์ไม่ได้ระบุ ระยะเวลาใช้ยาเอาไว้ เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการทางกายอื่นๆ ¾ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของยาผูป้ ่ วยทันที ที่ได้รับจากห้องยา โดยเที ยบกับข้อมูลที่ ปรากฏในจอคอมพิวเตอร์ หากพบความผิดพลาดให้รีบแจ้งให้หอ้ งยาทําการแก้ไข ¾ ใช้ Medical Sheet ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ ในการสรุ ปและส่งต่อข้อมูลการใช้ยาของผูป้ ่ วย ศูนย์คอมพิวเตอร์ ¾ บันทึ กข้อมูลการใช้ยาของผูป้ ่ วยตามแบบบันทึ กการจ่ายยาของหอผูป้ ่ วยเทียบกับสําเนาคําสั่ง แพทย์ เพื่อจัดทําเป็ นรายงานขอเบิกยาจากห้องยา ¾ ให้พยาบาลแจ้งแพทย์แก้ไขกรณี พบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตวั ย่อที่ไม่อนุญาตให้ใช้ ¾ ตรวจสอบการข้อมูลบันทึ กการจ่ ายยา วัสดุการแพทย์อื่นๆ ที่ หอผูป้ ่ วยได้บนั ทึ กไว้ เที ยบกับ สําเนาคําสัง่ แพทย์ หากพบว่าไม่สอดคล้อง เช่น ใช้ไปแต่ไม่มีการบันทึก ให้แจ้งพยาบาลเพื่อหา สาเหตุ และให้ดาํ เนินการแก้ไขให้ถูกต้อง ห้องยา การจ่ ายยาแบบหนึ่งหน่ วยพร้ อมใช้ (Unit dose system) เมื่อรับคําสัง่ จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ¾ ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผูป้ ่ วยลงในคอมพิวเตอร์ เทียบกับสําเนาการสัง่ ใช้ยาของแพทย์ ¾ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรื ออาการไม่พึงประสงค์จากยา และพิมพ์ประวัติดงั กล่าวแนบไปกับ แฟ้ มยา ¾ ตรวจสอบประวัติการเกิดการแพ้ยา หรื ออาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจากการใช้ยา หากแพทย์สงั่ จ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสัง่ จ่ายยา ¾ ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสมกับวินิจฉัยโรคหรื อไม่ ¾ แนบแบบฟอร์ มการเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงไว้ในกล่องยา unit dose กรณี ผปู ้ ่ วย ได้รับยาในกลุ่ม high alert หรื อคู่ยาที่มีโอกาสเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้สูงและรุ นแรง

D-6

จัดยา ¾ จัดยากลับบ้านใช้ โดยมีระยะการจ่ายแต่ละรอบ 7 วัน ¾ เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรื อจัดยาในกลุ่ม high alert drug ต้องให้คนที่นงั่ จัดใกล้ๆ ช่วยตรวจสอบความ ถูกต้องของยาก่อนจัด ¾ การจัดยาที่มีลกั ษณะคล้ายกัน ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางจัดและจ่าย “ยาคู่เหมือน” ¾ การรับคืนยาจากหอผูป้ ่ วยให้ปฏิบตั ิตามแนวทางที่กาํ หนด การจ่ายยา ¾ เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย ¾ การจ่ายในกลุ่ม high alert หากจําเป็ นต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัชกรรม เช่น กรณี เภสัชกรเข้า ไปดูผูป้ ่ วยในหอผูป้ ่ วยหรื อติ ดประชุ ม ให้เจ้าพนักงานเภสัชกรรมอี กคนช่ว ยตรวจสอบความ ถูกต้องของยาซํ้า ¾ ตรวจสอบยาที่เหลือค้างในกล่องยาผูป้ ่ วยเมื่อทางหอผูป้ ่ วยนํามาแลกเพื่อเบิกยากล่องใหม่ พร้อม ทั้งหาสาเหตุที่ผปู ้ ่ วยไม่ได้รับยาในแต่ละครั้ง ¾ มีการส่ งต่อข้อมูลสําคัญที่จาํ เป็ นต่อการใช้ยาบางชนิ ดสําหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายให้กบั พยาบาลใน หอผูป้ ่ วย เพื่อเตือนให้ระวังการใช้ยา เช่น การใช้ยา cloxacillin ชนิ ดฉี ดห้ามฉี ดเข้าหลอดเลือด โดยตรงต้องเจือจางก่อนฉี ด ¾ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรื ออาการไม่พึงประสงค์จากยาพร้อมแนบเอกสารไปกับแฟ้ มยาและ ใบบันทึกการจ่ายยา

D-7

• การจ่ ายยาผู้ป่วยจําหน่ าย เมื่อรับคําสัง่ จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ¾ ตรวจสอบความถูกต้องของคําสัง่ แพทย์ จากคําสัง่ ใช้ยาปัจจุบนั และคําสัง่ ใช้ยากลับบ้าน (Summary discharge) ¾ ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผูป้ ่ วยลงในคอมพิวเตอร์ เทียบกับคําสัง่ ใช้ยากลับบ้าน ¾ ตรวจสอบประวัติการเกิดการแพ้ยา หรื ออาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจากการใช้ยา หากแพทย์สงั่ จ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสัง่ จ่ายยา ¾ ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสมกับวินิจฉัยโรคหรื อไม่ จัดยา ¾ จัดยากลับบ้านตามคําสัง่ แพทย์ ¾ เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรื อจัดยาในกลุ่ม high alert drug ต้องให้คนที่นงั่ จัดใกล้ๆ ช่วยตรวจสอบความ ถูกต้องของยาก่อนจัด ¾ การจัดยาที่มีลกั ษณะคล้ายกัน ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางจัดและจ่าย “ยาคู่เหมือน” ¾ การรับคืนยาจากหอผูป้ ่ วยให้ปฏิบตั ิตามแนวทางที่กาํ หนด การจ่ายยา ¾ เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย ¾ การจ่ายในกลุ่ม high alert หากจําเป็ นต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัชกรรม เช่น กรณี เภสัชกรเข้า ไปดูผูป้ ่ วยในหอผูป้ ่ วยหรื อติ ดประชุ ม ให้เจ้าพนักงานเภสัชกรรมอี กคนช่ว ยตรวจสอบความ ถูกต้องของยาซํ้า ¾ ตรวจสอบยาที่เหลือค้างในกล่องยาผูป้ ่ วยเมื่อทางหอผูป้ ่ วยนํามาคืนพร้อมทั้งหาสาเหตุที่ผูป้ ่ วย ไม่ได้รับยาในแต่ละครั้ง ¾ เภสัชกรค้นหาปั ญหาจากการใช้ยาและ discharge counseling เภสัชกรตรวจสอบประวัติการแพ้ ยาหรื ออาการไม่พึงประสงค์จากยาที่สาํ คัญ และให้คาํ แนะนําปรึ กษาด้านยาแก่ผปู ้ ่ วย/ญาติ/ผูด้ ูแล เกี่ยวกับวิธีการใช้ยาเองที่บา้ นอย่างถูกต้องและปลอดภัย เช่น การเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์ ระหว่างใช้ยาที่บา้ น อาการสําคัญที่ผปู ้ ่ วยจะต้องรี บมาพบแพทย์ เป็ นต้น

D-8