ปิยมาส กล้าแข็ง - Teacher SSRU

ประวัติ ... Frederick w.taylor, 1881 Taylor และเพื่อนร่วมงาน Henry และ Frank and Lillian ร่วมกัน...

73 downloads 975 Views 3MB Size
ปิ ยมาส กล ้าแข็ง E-mail: [email protected] โทร 089-541-4659

การประเมินผล • • • • •

1. สอบกลางภาค 2. สอบปลายภาค 3. การเข ้าเรียน ่ 4. กิจกรรมตามทีมอบหมาย รวม

30 40 10 20 100

% % % % %

Week 1 ่ ่ ความรู ้ทัวไปเกี ยวกั บการจัดการการผลิต Week 2 ประสิทธิภาพการผลิต การแข่งขันและกลยุทธ ์ Week 3 การพยากรณ์ Week 4 การออกแบบผลิตภัณฑ ์และบริการ Week 5 การเลือกกระบวนการผลิตและการวางแผนกาลัง การผลิต

Week 6 การวางแผนกาลังการผลิต Week 7 ่ ง้ การวางแผนและวิเคราะห ์การเลือกทาเลทีตั Week 8 - สอบกลางภาค –

Week 9 การวางแผนโดยรวม Week 10 การจัดการสินค ้าคงคลัง Week 11 การวางแผนความต ้องการใช ้พัสดุ Week 12 การจัดการโซ่อป ุ ทาน Week 13 ระบบทันเวลา

Week 14 การจัดตารางกาหนดการ Week 15 การจัดการโครงการ สอบปลายภาค

Chapter 1 Introduction

ประวัตก ิ ารจัดการอุตสาหกรรม

Significant Events in Operations Management

James watt , 1769 ่ ก รไอน้า นั ก ประดิษ ฐ ์เครืองจั ้ มาแทนแรงงานคนสัตว ์เลียง ่ ซึงมาใช ง้ านในการผลิตใน เหมืองแร่ โรงทอผ้า โรง ่ ท าอุ ป กรณ์แ ละเครืองเหล็ ก ตลอดจนโรงโม่แป้ ง มีคนงาน ม า ก ผ ลั ด กั น ท า ห น้ า ที่ ห ล า ก ห ล า ย ด ้ ว ย กั นใ น ่ ย กว่า โรงงาน สถานที่ ทีเรี Factory

James watt , 1769

Adam smith ,1776  น าแนวคิด ให โ้ รงงานแบ่ ง ส่ ว น คนงานเป็ นกลุ่ม เพื่อทาการผลิต คนงานแต่ ล ะกลุ่ ม ท างานเฉพาะ หน้ า ที่ ที่ มอบหมาย เกิ ด ความ ช านาญและผลผลิ ตโรงงานให ้ สูงขึน้

Eli Whitney ,1800  เ ป็ น ผู ้ มี ชื่ อ เ สี ย งใ น ยุ ค ต ้ น ๆ ่ เกียวกั บ แนวความคิดการถอด ่ ้ วนทีทดแทนกั ่ สับเปลียนชิ น นส่ ได ้ Interchangeable parts ่ ่สุ ด ประสบความส าเร็จ ซึงในที ท า ง ด ้ า น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต ์ ใ ช ้ ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม คุณภาพ

Frederick w.taylor, 1881  บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร ์ มี ผลงานในดา้ นการจัดหาบุคลากร การ วางแผน ตารางเวลาทางาน ศึกษาการ ้ เคลื่ อนไหวซึ่งเป็ นพื นฐานของวิ ชา ปั จ จัย มนุษย ท์ ี่มีผู้ส นใจมากในปั จ จุบ น ั ่ า ผู้บ ริห ารควรอุ ทิ ศ เขามี ค วามเชือว่ ทร พ ั ยากรและผลัก ดัน การปร บ ั ปรุ ง วิธก ี ารปฎิบต ั งิ าน

Frederick w.taylor, 1881 ่ า Taylor เชือว่ - จัดคนให ้เหมาะสมกับงาน ่ - จัดให ้มีการอบรมทีเหมาะสม ่ กร และวิธก - จัดหาเครืองจั ี ารทางาน ่ ทีเหมาะสม - ส ร า้ ง แ ร ง จู งใ จ ที่ ถู ก ต ้อ ง ต า ม กฎระเบีย บเพื่อให ก ้ ารท างานประสบ ผลสาเร็จ

 Taylor และเพื่อนร่ว มงาน Henry และ Frank and Lillian ร่วมกัน คิ ด ค น ้ วิ ธ ี ก ารปฎิ บ ัติ ง านที่ ดี ที่ สุ ด คน ้ พบหลัก วิช าหลายทฤษฎีแ ละที่ นามาใช ้ในการจัด การ คือ ทฤษฎี การจัดการ ได ้แก่ การวางแผน การ จัด การ การจัด หาพนั ก งาน การ ควบคุม Frank and Lillian gilbreth

Gantt chart

Gantt chart

Henry Ford, 1913  น าสายพานการผลิ ต มาใช ใ้ น โ ร ง ง า น ผ ลิ ต ร ถ ย น ต ์ ท า ใ ห ้ สามารถผลิตและจาหน่ ายรถยนต ์ ไ ด ้จ า น ว น ม า ก จ น ร ถ ย น ต ์ กลายเป็ นส่ ว นหนึ่ งของชีวิ ตใน สัง คมชองชาวอเมริก น ั Henry เป็ นนั ก อุ ต สาหกรรมคนแรกที่ นาเอาหลักการผลิตแบบปริมาณ มาก Mass Production มาใช ้ ในอุตสาหกรรมรถยนต ์

FORD PRODUCTION ความสามาร ถในการ ่ สับเปลียน ้ วนกัน ชินส่ ได ้

Walter A. Shewhart , 1924  น าความรู ท้ างสถิต ิ มาใช ก้ ับ การควบคุ ม คุ ณ ภาพและได ้ ้ ้สุ่ ม ก าหนดพืนฐานของการใช ตัวอย่างในการควบคุมคุณภาพ ในอุตสาหกรรมการผลิต และ ผสมเอาความรู ้ทางด า้ นสถิต ิ เข ้ากับการควบคุมคุณภาพ ใช ้ วิ ธี ก า ร สุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง Statistical sampling

W. Edwards Deming, 1950  ในทศวรรษที่ 80 อุตสาหกรรม ข อ ง ส ห ร ัฐ อ เ ม ริ ก า ร ป ร ะ ส บ ปั ญ หาคุ ณ ภาพและการขาย ผลผลิต อุตสาหกรรมหลายแห่ง ขาดทุน และขายให ค ้ นต่า งชาติ Deming มีส่วนช่วยในการวาง พื ้ น ฐ า น คุ ณ ภ า พ ข อ ง อุตสาหกรรมใหม่ PDCA

PDCA

Production and Operation Management

ความหมายของการจัดการการ ผลิต • กระบวนการผลิต Process ่ ลค่า หมายถึง กิจกรรมการแปรรูปและเพิมมู ให แ้ ก่ปั จ จัย น าเข า้ เพื่อผลิต เป็ นสิน ค า้ หรือ ่ ้อมต่อการส่งมอบใหแ้ ก่ลูกคา้ ใน บริการทีพร อุตสาหกรรมแต่ละประเภทจะมีกระบวนการ ้ ยดต่างๆ แตกต่างกัน ผลิตในขันของรายละเอี

ความหมายของการ จัดการการผลิต

• การจัดการการผลิต

Operation

Management

ห ม า ย ถึ ง ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ค ว บ คุ ม กระบวนการผลิ ต สิ น ค า้ หรือ บริก ารของ องค ก์ รเพื่อส่ ง มอบให แ้ ก่ ลู ก ค า้ ดัง นั้ นการ จัดการการผลิตจึงมีความสาคัญต่องค ก์ าร เนื่ องจากการจัด การการผลิต ที่ดีมีผ ลต่ อ การบรรลุเ ป้ าหมายขององค ์กรและยัง ช่ว ย ่ เพิมความได ้เปรียบในการแข่งขันขององค ์กร

Production Process INPUT

PROCESS

Feedback Loop

OUTPUT

ความสาคัญของการศึกษาการจัดการ การผลิ ต • บริษท ั TRU เทคโนโลยี จากัด เป็ นบริษท ั ขนาด

่ นเป็ น 2 เท่า เพือเป็ ่ นค่าใช ้จ่าย ย่อมต ้องเพิมทุ สาหร ับต ้นทุนคงที่ และสามารถทากาไรให ้เพียง ้ ่องจัก รรุ ่ นใหม่ ฝ่ ายบริห าร พอที่ จะซือเครื คาดการณ์ว่ า กรณี ที่ทางบริษ ท ั ั ไม่ ไ ด้ร บ การอนุ มต ั เิ งินกูจ้ ากธนาคาร ทางบริษท ั ก็จะ ้ ่ ก รอุป กรณ์ก ารผลิตได ้ ไม่ ส ามารถซือเครื องจั ่ และข อ้ จ ากัด ของอุ ป กรณ์เ ครืองจั ก รเก่ า จะ ผลัก ดันให บ ้ ริษ ัท ต อ้ งออกไปจากธุร กิจ นี ้หรือ ลม ้ เลิ ก กิ จ การของตนไป เหล่ า นี ้ เป็ นสิ่ งที่

คานวณทางเลือก ปั จจุบน ั

รายได ้(ยอดขาย)

ทางเลือกที่ 1 ด้านการตลาด

ทางเลือกที่ 2 ด้านการเงิน / การบัญชี

ทางเลือกที่ 3 ด้านการจัดการการ ปฎิบต ั ก ิ าร

่ เพิมยอดขาย 50%

ลดต ้นทุนการเงิน 50%

ลดต ้นทุนการผลิต 20%

100,000

150,000

100,000

100,000

ต ้นทุนสินค ้า ้ ้น กาไรขันต ต ้นทุนการเงิน

80,000 20,000 6,000

120,000 30,000 6,000

80,000 20,000 3,000

64,000 36,000 6,000

กาไรก่อนหักภาษี

14,000

24,000

17,000

30,000

ภาษี กาไรสุทธิ

3,500 10,500

6,000 18,000

4,250 12,750

7,500 22,500

สรุปผลการคานวณ ่ ่ • **เพิมยอดขาย 50% เพิมผลก าไร 7,500 บาท หรือ 71% (7,500 / 10,500) ่ • **ลดต ้นทุนการเงิน 50% เพิมผลก าไร 2,250 บาท หรือ 21% (2,250 / 10,500) ่ • **ลดต ้นทุนการผลิต 20% เพิมผลก าไร 12,000 บาท

Organizational Functions คณะกรรมกา ร ประธาน ผูบ้ ริหาร

รองฯการเงิน

รองฯดาเนิ นการ

รองฯการตลาด

Organizational Functions • การตลาด - หาลูกค ้า • ปฏิบต ั ก ิ าร - สร ้างผลิตภัณฑ ์หรือบริการ การเงิน/การบัญชี – เก็บเงิน ร ับเงิน – ติดตาม ทวงเงิน

การปฎิบต ั ก ิ าร Operation        

ธนาคารพาณิ ชย ์ Commercial Bank

จัดตารางการทางาน เคลียร ์เช็ค เก็บเงิน ประมวลผล ออกแบบ เก็บเงินเข ้าตูเชฟ ้ บารุงร ักษา ร ักษาความปลอดภัย

การเงิน Finance  การลงทุน  หลักทร ัพย ์  อสังหาริมทร ัพย ์

การบัญชี Accounting การตรวจสอบ บัญชี Auditing

การตลาด Marketing

 เงินกู ้  การค ้า  อุตสาหกรรม  การเงิน  ส่วนบุคคล  สินเชือ่ อสังหาริมทร ัพย ์

แผนกหลักทร ัพย ์

การปฏิบต ั ก ิ ารในส่วน งานบริการ

• การปฏิบต ั ก ิ ารในส่วนงานบริการ ่ มี การบริการส่วนใหญ่เป็ นสินค ้าทีไม่ ตัวตน จับต ้องไม่ได ้ อาทิเช่น การ ประกัน การซ่อมแซม การ บารุงร ักษา การบันเทิง การศึกษา การขนส่ง อสังหาริมทร ัพย ์ การแพทย ์ เป็ นต ้น

คุณลักษณะของการบริการได้แก่ ่ ไม่ ่ มต 1. การบริการส่วนใหญ่เป็ นสิงที ี วั ตน จับตอ้ งไม่ได ้ เ ช่ น ก า ร ซื อ้ ตั๋ ว เ พื่ อ จ อ ง ที่ นั่ ง ส า ย ก า ร บิ น ข อ ง ผูโ้ ดยสาร 2. การบริก ารมั ก เป็ นการผลิ ต และบริโ ภคในเวลา เดีย วกัน การบริก ารจะไม่ มี สิ น ค า้ คงคลัง ที่น าไป จัดเก็ บได ้ เช่น การตัด ผมลูกคา้ ของช่า งเสริม สวย การผ่าตัดผูป้ ่ วยหรือคนไข ้ของแพทย ์ 3. การบริก ารมั ก เป็ นสิ่ งที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะตั ว Uniqueness ได ้แก่ รูปแบบนโยบายการลงทุนการ ้ ประกัน ภัย ขันตอนการด าเนิ น การทางการแพทย ์ ก า ร ตั ด ผ ม ขั้ น ต อ น ต่ า ง ๆ เ ห ล่ า นี ้ จ ะ ส า ม า ร ถ

คุณลักษณะของการบริการได้แก่

่ มี ่ ป ฎิส ม 4. การบริการเป็ นสิงที ั พัน ธ ์กับลูก คา้ สูง มัก จะทาให เ้ ป็ นมาตรฐานได ย้ าก การบริการ ้ ี เป็ นสิ่งเฉพาะตัว และสามารถด าเนิ น การได ม ่ อ้ งการไดย้ ากเนื่ องจากความ ประสิทธิภ าพทีต ต อ้ งการหรือ อุป สงค ์ของลูก ค า้ ก็ มีเ อกลัก ษณ์ เฉพาะตัว 5 . ก า ร บ ริ ก า ร มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ไ ม่ ค ง ที่ เ ช่ น กรมธรรม ก์ ารประกัน รถยนต ์ ผู ค ้ รอบครอง ่ ้ กรมธรรม ์มีการเปลียนรถ รวมทังระยะเวลาการ ่ ประกัน และอายุของผูท้ าประกันทีแตกต่ างกัน

คุณลักษณะของการบริการได้แก่

6. การบริก ารมัก เกี่ยวข อ้ งกับ ฐานความรู ไ้ ด ้ การศึ ก ษา การแพทย ์ การบริก ารด า้ น กฎหมาย ท าให เ้ กิด ความยากล าบากในการ ทาให ้มีรป ู แบบอัตโนมัต ิ ้ั มี ่ การกระจายตัวออกไป 7.การบริการบ่อยครงที หลายแนวทาง เช่น การใหบ้ ริการลูกคา้ ผ่า น ้ ่ ผ่ า นทางร ้านค า้ ปลีก ทางส านั ก งานในพืนที หรือทางโทรศัพท ์ เป็ นต ้น

่ ่ในการบริการ และการ สินค้าทีอยู ่ ่ในสินค้า บริการทีอยู

ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต • การมุ่งเน้นระดับโลก (Global Focus)

ได ้แก่ ่ ้นทุนการขนส่งและการสือสารลดลงอย่ ่ การทีต าง ่ รวดเร็ว ท าให ต ้ ลาดเปลียนสภาพเป็ นระดับโลก ขณะเดียวกัน ทร ัพยากรการผลิตต่างๆ ในรูปของ วัตถุดบ ิ สติปัญญา และแรงงานก็ได ้กลายมาเป็ น ่ ผลต่อการเกิดโลกาภิวฒ ระดับโลก ซึงมี ั น์ขนอย่ ึ้ าง รวดเร็ว ทาใหป้ ระเทศทั่วโลกเกิดการเจริญเติบโต ทางดา้ นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมผูจ้ ด ั การฝ่ าย ปฏิบต ั ก ิ ารตอ้ งสามารถตอบสนองต่อนวัตกรรม ่ นตัวแจกแจงและขับเคลือนเพื ่ ่ ซึงเป็ อสร ้างแนวคิด

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต• การปฏิบตั งิ านแบบทันเวลาพอดี

(Justin-time Performance) ทรพ ั ยากรทาง การเงินจะมีความสัมพันธ ์กับสินค ้าคงคลังใน แง่ของต ้นทุน ขณะเดียวกันสินค ้าคงคลังต ้อง ่ ่ ดขึนอย่ ้ ตอบสนองต่อการเปลียนแปลงที าง เกิ ร ว ด เ ร็ วใ น ท ้ อ ง ต ล า ด ผู ้ จ ั ด ก า ร ฝ่ า ย ปฏิ บ ัติ ก ารจึ ง ต อ้ งด าเนิ นการลดจ านวน สิ น ค า้ คงคลังในทุ ก ระดับให น ้ ้ อ ยลง จาก ้ ขันตอนวั ต ถุด ิบ ถึง การผลิต ออกเป็ นสิน ค า้ สาเร็จรูป

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต• การเป็ นพันธมิตรในโซ่อุปทาน (Supply-

chain Partnering) วงจรชีวต ิ ผลิตภัณฑ ์ที่ ้ ้ ่ สันลงรวมทั งการเปลี ยนแปลงอย่ างรวดเร็วใน วัตถุดบ ิ กระบวนการทางดา้ นเทคโนโลยี ทา ใหเ้ กิดความจาเป็ นสาหรบั การเขา้ มามี ส่วน ่ น้ ซึงผู ่ จ้ ด ร่วมโดยผูจ้ ด ั หาวัตถุดบ ิ มากยิงขึ ั หา วั ต ถุ ดิ บ มั ก เ ป็ น ผู ้จ ั ด ส่ ง ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ่ ่ งของมูลค่าผลิตภัณฑ ์ ดังนั้น มากกว่าครึงหนึ ผูจ้ ด ั การฝ่ ายปฎิบต ั ก ิ ารตอ้ งดาเนิ น การสร ้าง กา ร เ ป็ น พั น ธมิ ต ร ร ะยะยา ว (Long-term

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต

• การพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ อ ์ ย่ า งรวดเร็ ว ่ (Rapid product Development) การสือสาร ่ ระหว่า งประเทศทีรวดเร็ ว ดา้ นข่า วสาร ความ บัน เทิ ง และรู ป แบบการด าเนิ นชีว ิ ต ต่ า งๆ ่ ส อดคลอ้ ง เหล่า นั้ น มักมีการดาเนิ นการทีไม่ กั บ ช่ ว ง ชี ว ิ ต ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ ผู ้ จ ั ด ก า ร ฝ่ า ย ปฏิบต ั ก ิ ารจึงตอ้ งดาเนิ นการตอบสนองความ ต อ้ งการของผู บ ้ ริโ ภคด ว้ ยเทคโนโลยีใ นการ ผ ลิ ต ค ว บคู่ ไ ปกั บ กา ร บริห า ร ง า น อ ย่ า ง มี

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต • การผลิ ต เพื่ อตอบสนองความต้อ งการของ

ลู กค้าเฉพาะรายจานวนมาก (Mass Customization) ่ ่ การพิ จ ารณาถึ งโลกในฐานะเป็ นตลาดใหญ่ เริมที ่ ค วามแตกต่ า งทางด า้ นวัฒ นธรรม ตลาดรวม ซึงมี (Cultural Differences) ผสมผสานกับความแตกต่างทาง ปั จ เจกบุ ค คล (Individual Differences)ในการอุ ป โภค ผู้บ ริโภคเพิ่มความส าคัญ ต่อ ทางเลือ กต่างๆ ในการ ้ ่ นแรงกดดันต่อบริษท ั ผูผ านี จะกลายเป็ ซือ้ สิงเหล่ ้ ลิตใน กา รด าเนิ นการเพื่ อ ตอ บส นองผู้บ ริโ ภ ค ฉะนั้ น ผูจ้ ด ั การฝ่ ายปฏิบต ั ก ิ ารจึงตอ้ งหาทางตอบสนองดว้ ย ่ กระบวนการการผลิต ที่มีค วามยืด หยุ่น เพีย งพอทีจะ

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต

• การมอบอ านาจให้ก บ ั พนัก งาน (Empowered ่ มเปี่ ยมไปด ้วยทักษะ Employees) การมีพนักงานทีเต็ ความรู ้ผนวกกับ สถานประกอบการที่ทัน สมัย มาก ้ ้ นจะเป็ นการเพิ่ มศั ก ยภาพให ก ยิ่ งขึ นนั ้ ับ ส ถาน ประกอบการ ผูจ้ ด ั การฝ่ ายปฏิบต ั ก ิ ารจึงตอ้ งหาทาง ด าเนิ นการมอบหมายอ านาจการตัด สิ นใจให แ้ ก่ ่ น้ พนักงานแต่ละคนมากยิงขึ

แนวโน้มการจัดการการผลิตใน อนาคต ่ • การผลิตโดยคานึ งถึงสิงแวดล้ อมควบคู ่ไปด้วย (Environmentally Sensitive Production) ผู จ้ ด ั การฝ่ ายปฏิบ ต ั ิก ารต อ้ งด าเนิ น การสร ้างสรรค ์ สร ้างการออกแบบผลิตภัณฑ ์ กระบวนการผลิตโดย ่ ไม่ทาลายสิงแวดล ้อม ได ้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ ์ โดยคานึ งถึงมลภาวะ ดังจะเห็ นไดจ้ ากอุตสาหกรรม ้ ว นรถยนต ท์ ี่มีก ารใช ้นโยบายการน า การผลิต ชินส่ ่ กลับไปใช ้ซา้ (Reused) หรือการหมุนเวียนเปลียน ้ สภาพใหม่ (Recycled) รวมทังการผลิ ตบรรจุภณ ั ฑ ์ที่ มีประสิทธิภาพ

การปร ับปรุงผลิตภาพการผลิต • ผลิตภาพการผลิต (Productivity) หมายถึง อัตราส่วน ่ ้ในการผลิต สินค า้ ของผลผลิต หารด ว้ ยปั จ จัย น าเข า้ ทีใช ่ หรือบริการซึงในการค านวณผลิตภาพการผลิตเป็ นไปตาม สมการ ดังนี ้ ผลิตภาพการผลิต = นาเข้า Input

ผลผลิต Output / ปั จจัย

โดย ผลผลิต Output หมายถึง ราคาของสินคา้ หรือ บริการ หรือจานวน สินค ้าหรือบริการ ปั จจัยนาเข้า Input หมายถึง ค่าจา้ งบุคลากร ค่า

่ ยวข้ ่ ตัวแปรทีเกี องกับผลิตภาพ

การผลิตสินค ้าและบริการได ้มาจากการแปรสภาพ ทร ัพยากรการผลิต หากการแปรสภาพเป็ นไปอย่างมี ่ ้ก็จะมีป ริมาณ ประสิทธิภาพมากเพียงใด ผลผลิตทีได ่ ้ านั้น คุณภาพและมูลค่าเพิมมากขึ นเท่ การปร ับปรุงประสิทธิภาพของการผลิตสามารถ ดาเนิ นการได ้ 2 วิธ ี คือ ่ – การลดปัจจัยนาเข ้าในขณะทีผลผลิ ตยังคงเดิม ่ ่ จจัยนาเข ้ายังคงที่ – การเพิมผลผลิ ตขณะทีปั

ลักษณะการวัดประสิทธิภาพ 1.การวัด ประสิท ธิภ าพแบบปั จจัย เดี่ยว Single Factor Productivity เป็ นการแสดงสัดส่วนของการ ใช ้ทร พ ั ยากร (ปั จ จัย น าเข า้ ) หนึ่ งอย่ า ง เพื่อการ ผลิตสินค ้าหรือบริการ (ปัจจัยนาออก) ดังสมการ นี ้

ตัวอย่าง ่ ตได ้ = ถ ้าหน่ วยของผลผลิตทีผลิ ่ั ่ ้ จานวนชวโมงแรงงานที ใช = ผลิตภาพ Productivity = = 4 ่ั ชวโมงแรงงาน

1,000 หน่ วย ่ั 250 ชวโมง 1,000/250 หน่ วยต่อ

ลักษณะการวัดประสิทธิภาพ 2. การวัด ผลิต ภาพแบบพหุ ปั จ จัย Multifactor Productivity เป็ นการแสดงสัดส่วนของการใช ้ ้ ทรพ ั ยากร (ปั จจัยนาเขา้ ) หลายอย่าง หรือทังหมด ทุกๆ ปัจจัย ได ้แก่ แรงงาน วัตถุดบ ิ พลังงาน ทุน ฯลฯ เพื่อการผลิต สิน ค า้ หรือ บริก าร (ปั จ จัย น าออก) ดัง สมการนี ้

ตัวอย่าง • บริษท ั dolly จากัด มีพนักงานอยู่ 4 คน พนักงาน ่ั แต่ละคนทางาน 8 ชวโมงต่ อวัน (ค่าจ ้างแรงงาน 640 บาทต่อวัน) ค่าใช ้จ่ายในการดาเนิ นงาน 400 บาทต่อวัน บริษท ั dolly จากัด ทาการประมวลผล ่ นานมานี ้ ข ้อมูลและปิ ดงานวันละ 8 รายการ เมือไม่ ่ อระบบคอมพิ ้ ่ บริษท ั เพิงซื วเตอร ์ ซึงประมวลผลสู งสุด ได ้ถึง 14 รายการต่อวัน ถึงแม้ว่า พนักงานจะมี ่ั ชวโมงการท างานและการจ่า ยเงิน เช่นเดียวกัน แต่ ทางบริษท ั ก็มค ี ่าใช ้จ่ายในการดาเนิ นงานเป็ นจานวน เงิน 800 บาทต่อวัน

ตัวอย่าง ผลิตภาพด้านแรงงานในระบบเดิม ่ั = 8 รายการต่อวัน / 32 ชวโมงต่ อแรงงาน (4 คน*8ชม.) ่ั = 0.25 รายการต่อชวโมงแรงงาน ผลิตภาพด้านแรงงานในระบบใหม่ ่ั = 14 รายการต่อวัน / 32 ชวโมงต่ อแรงงาน ่ั = 0.4375 รายการต่อชวโมงแรงงาน

ตัวอย่าง ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยในระบบเดิม = 8 รายการต่อวัน / 640 + 400 บาท = 0.0077 รายการต่อบาท ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยในระบบใหม่ = 14 รายการต่อวัน / 640 + 800 บาท = 0.0097 รายการต่อบาท

ตัวอย่าง สรุป ่ นจาก ้ • ผลิตภาพด้านแรงงาน เพิมขึ 0.25 เป็ น 0.4375 ่ การเปลียนแปลงเป็ น 0.437/0.25 = 1.75 หรือ ่ นเป็ ้ น 75% ในผลิตภาพด ้านแรงงาน เพิมขึ ่ นจาก ้ • ผลิตภาพแบบพหุปัจจัย เพิมขึ 0.0077 เป็ น ่ 0.0097 การเปลียนแปลงเป็ น 0.0097/0.0077 ่ นเป็ ้ น 25.9% ในผลิตภาพแบบ = 1.259 หรือเพิมขึ พหุปัจจัย

ประโยชน์ของการวัดประสิทธิภาพ • การวัดผลิตภาพ จะเป็ นตัว ช่ว ยใหผ ้ ูบ ้ ริหารสามารถ ประเมินได ้ว่า หน่ วยงานปฏิบต ั งิ านได ้ดีแค่ไหนเพียงใด • การวัดผลิตภาพแบบพหุปัจจัย จะช่วยใหไ้ ดข ้ อ้ มูล ่ กว่าในด ้านการแลกเปลียนระหว่ ่ สารสนเทศทีดี างปัจจัย ต่าง ๆ แต่มก ั จะเกิดปัญหา ดังนี ้ ด ้านคุณภาพ ด ้านองค ์ประกอบภายนอก ด ้านหน่ วยความแม่นยาของการวัด

่ ยวข้ ่ ตัวแปรทีเกี องกับผลิตภาพ ่ ่ การเพิมผลิ ตภาพนั้นต ้องพึงพาองค ์ประกอบของตัวแปร สาคัญ 3 อย่าง ได ้แก่ ่ นประมาณ ้ แรงงาน มีผลให ้ผลิตภาพเพิมขึ 10% ต่อปี ่ นประมาณ ้ เงินทุน มีผลให ้ผลิตภาพเพิมขึ 38% ต่อปี ่ นประมาณ ้ การจัดการ มีผลให ้ผลิตภาพเพิมขึ 52% ต่อปี

Q&A

แบบฝึ กหัด 1. โรงงานแห่ง หนึ่ งท าการผลิตน้าผลไม้กระป๋ องได ้ 500 ่ วโมง ่ั กล่ อ งในเวลาครึงช โดยใช ้แรงงานคนจ านวน 4 คน จงคานวณหาประสิทธิภาพในการผลิตของแรงงาน 2. โรงงานผลิต หนั ง สือ สามารถผลิต หนั ง สือได ้ 8,500 ่ น โดยมีต ้นทุนวัตถุดบ เล่มภายในครึงวั ิ ในการผลิตต่อวัน เท่ากับ 1,200 บาท ค่าจ ้างแรงงานต่อวัน 800 บาท และค่ า ใช จ้ ่ า ยในการขนส่ ง และยานพาหนะต่ อ วัน 2,000 บาท จงคานวณหาประสิทธิภาพของปัจจัยการ ผลิตของทัง้ 3 ปัจจัย

แบบฝึ กหัด 3. ให ้นักศึกษา ศึกษาองค ์การ /บริษท ั 2 บริษท ั คือ ผลิตสินค ้า 1 องค ์การ /บริษท ั และผลิต บริการ 1 องค ก ์ าร /บริษ ั ท โดยให เ้ ขี ย นโครงการสร า้ งของ องค ์การ และอธิบายแต่ละส่วนว่าดาเนิ นการอย่างไร

• • • • • • • •

ข้อ 1

่ วโมง ่ ผลิตน้าผลไม้กระป๋ องได ้ 500 กล่องในเวลาครึงชั แรงงานคนจานวน 4 คน การผลิตของแรงงาน (นาที) 120 นาที ดังนั้น ผลิตภาพแรงงาน (นาที) = 500 กล่อง / 120 นาที = 4.166 กล่องต่อนาที ่ วโมง ่ ผลิตน้าผลไม้กระป๋ องได ้ 500 กล่องในเวลาครึงชั x 2 = 1000 แรงงานคนจานวน 4 คน ่ ่ การผลิตของแรงงาน (ชัวโมง) 4 ชัวโมง ่ ดังนั้น ผลิตภาพแรงงาน (นาที) = 1000 กล่อง / 4 ชัวโมง ่ = 250 กล่องต่อชัวโมง

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ให น ้ ั ก ศึก ษาอธิบ ายความหมาย ของการจัด การการ ่ กศึกษาเข ้าใจ ผลิตและการปฎิบต ั ก ิ ารตามทีนั 2. นักศึกษาคิดว่าทาไมต ้องเรียน วิชาการจัดการการผลิต และการปฎิบต ั ิ 3. ประเภทของทุ น ในการจัด การองค ก์ ารประกอบด ว้ ย อะไรบ ้าง อธิบาย 4. โครงสร ้างในการบริหารองค ์การ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง อธิบาย 5. สินค้า goods และ บริการ service มีคณ ุ ลักษณะ อย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไร อธิบาย