How to get acquainted with the sky - earthscience.ipst.ac.th

ดาวฤกษ์ เนบิวลา กาแล็กซี เอกภพ How to get acquainted with the sky Abstract :...

615 downloads 745 Views 1MB Size
การดูดาวให้ เป็ น สนุก น่ าสนใจ และได้ ความรู้ บทคัดย่อ การดูดาวให้เป็ นคือการรู ้จกั ท้องฟ้ าและดวงดาวที่อยูบ่ นท้องฟ้ าของประเทศไทย โดยเฉพาะดาวที่ ปรากฏสว่างมากๆ และกลุ่มดาวเด่นๆ ตระหนักว่าโลกหมุนรอบตัวเองทาให้เกิดปรากฏการณ์ข้ นึ ตกของ ดวงดาว ทาให้เกิดทิศ ทาให้เกิดกลางวันกลางคืน ส่วนโลกเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ทาให้เห็นดาวขึ้นเร็วทุก วัน วันละประมาณ 4 นาที หรื อเดือนละ 2 ชัว่ โมง บนท้องฟ้ ามีดาวที่เป็ นต้นกาเนิดของชื่อวัน และคนไทย ตั้งชื่อเดือนสุริยคติตามชื่อกลุ่มดาวจักรราศี สิ่งที่อยูบ่ นท้องฟ้ ามีความสวยงามทั้งที่เห็นด้วยตาเปล่า และภาพ ที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์

คาสาคัญ ท้องฟ้ า การขึ้น- ตกของดาว ดาววันเกิด ดาวเดือนเกิด กลุ่มดาวฤดูหนาว กลุ่มดาวฤดูร้อน ดาวฤกษ์ เนบิวลา กาแล็กซี เอกภพ

How to get acquainted with the sky Abstract : In order to be acquainted with the sky, one must realize what a sky is. When the Earth is rotating our sky is moving with the Earth from West to East. The moment that the western horizon meeting the celestial objects is what we say they are setting. Rising is when they meet the eastern horizon. Rising, setting, Western point, Eastern point, day and night are due to the spinning of the Earth. The revolution of the Earth around the Sun causes rising and setting to be earlier each day by about 4 minutes, or 2 hours in a month. To our naked eyes, we can see 7 wanderers among 21 brightest stars in the sky. Day names came from these 7 wanderers. Thai month names are also related to the signs of zodiac. Stars and planets up in the sly are wonderful to witness. There are many other celestial objects that can be photographed though telescopes, such as nebulae and galaxies.

Key words :

Earth’s rotation, revolution, rising, setting, planets, stars, constellations, nebulae, galaxies, universe.

1

การดูดาวให้ เป็ น สนุก น่ าสนใจและได้ความรู้ นิพนธ์ ทรายเพชร*

1. ความหมายของชื่อเรื่ อง หมายความว่า เมื่อดูดาวเป็ นแล้วจะสนุก เป็ นเรื่ องน่าสนใจ ที่เต็มไปด้วย ความรู้มากมาย การดูดาวให้เป็ นคืออย่างไร การดูดาวให้เป็ นคือ การรู้จกั ท้องฟ้ า รู้จกั สิ่ งที่อยูบ่ นท้องฟ้ า โดยเฉพาะดาวที่อยูใ่ กล้ๆโลก เข้าใจผลที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของโลก เมื่อดูดาวเป็ นก็จะคุน้ เคยกับ ดวงดาวบนฟ้ า ไปที่ไหนก็ไม่หลงทาง รุ้จกั ที่อยูข่ องตนในโลก และมีเพื่อนเป็ นดาวเต็มฟ้ า 2. ท้องฟ้ าคืออะไร ท้องฟ้ าคือส่วนเบื้องบนที่ครอบแผ่นดินอยู่ เป็ นสิ่ งที่เรามองเห็นว่าเป็ นรู ปครึ่ งทรง กลมกลวงคล้ายสุ่ม หรื อ กระทะคว่าโดยเราอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของครึ่ งทรงกลมนี้ ระดับต่าสุดของ ท้องฟ้ าเรี ยกว่า ขอบฟ้ า (Horizon) อยูโ่ ดยรอบตัวเรา เป็ นระดับสายตาที่ยืนมองไปตรงๆ ขอบฟ้ าของ คนที่อยูบ่ นพื้นโลกและคนที่อยูบ่ นตึกสูง 100 ชั้น เป็ นขอบฟ้ าเดียวกันเพราะระยะระหว่างพื้นโลก กับชั้นที่ 100 ของตึกสั้นมากเมื่อเทียบกับระยะจากผูส้ งั เกตถึงขอบฟ้ า เส้นขนานกันที่ผา่ นตาของผู้ สังเกตบนพื้นโลกกับคนที่อยูบ่ นชั้นที่ 100 ของตึกไปตัดกันที่ระยะอนันต์คือ ขอบฟ้ า ขอบฟ้ าของ คนที่อยูบ่ นละติจูดเคียวกันแต่อยูค่ นละซี กโลกก็เป็ นขอบฟ้ าเดียวกัน เพราะโลกเล็กมากเมื่อเทียบกับ ท้องฟ้ า จุดสูงสุดของท้องฟ้ า เรี ยกว่า จุดเหนือศีรษะ (Zenith) จุดเหนือศีรษะและขอบฟ้ าพร้อมทิศทั้ง 4 จึงเป็ น สมบัติ ของผูท้ ี่อยูบ่ นโลก ถ้าเราออกไปอยูใ่ นอวกาศไกลจากโลก จะเห็นโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว ทั้งหลายลอยอยูโ่ ดยรอบตัวเรา และอยูบ่ นทรงกลมใหญ่ที่เรี ยกว่า ทรงกลมฟ้ า ( Celestial sphere ) ดวงอาทิตย์ ดวง จันทร์ โลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ จะปรากฏมีขนาดใหญ่เพราะอยูใ่ กล้ตาแหน่งทีเ่ ราอยูใ่ นอวกาศ แต่ดาวอื่นๆ เป็ นดาวฤกษ์ที่อยูไ่ กลมาก ไกลกว่าระยะดวงอาทิตย์เป็ นแสนเป็ นล้านเท่า ดาวฤกษ์ท้งั หลายจึงปรากฏเป็ นจุดสว่าง ต่างๆ กัน และเรี ยงเป็ นกลุ่มรู ปร่ างแบบเดียวกับที่เห็นเมื่อดูจากพื้นโลก

*ราชบัณฑิต สานักวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาดาราศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ผูเ้ ชียวชาญพิเศษ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2

ท้ องฟ้ าของคนที่อยู่บนละติจูด  จะเห็นดาวเหนืออยู่สูงจากขอบฟ้ าทิศเหนือ  องศา และเส้ นศูนย์สูตรฟ้ าผ่าน จุดทิศตะวันออก (E) จุดทิศตะวันตก (W) โดยผ่านเมริ เดียน ณ จุดที่อยู่ทางใต้ ของจุดเหนือศีรษะ (Z) เป็ นมุม  องศา

3. เส้นสมมติและจุดบนท้องฟ้ า เส้นและจุดสาคัญต่างๆ บนท้องฟ้ าเอาไปจากโลกทั้งสิ้ น เช่น จุดเหนือ ศีรษะ (Z) เป็ นจุดสูงสุดบนท้องฟ้ า โดยต่อขยายขึ้นไปจากเส้นดิ่งตรงจุดที่ยืนอยู่ ขอบฟ้ าเป็ นเส้นขยาย วงกลมในระดับสายตาไปถึงฟ้ า เมริ เดียน เป็ นเส้นขยายเมริ เดียนบนโลกไปถึงฟ้ า จึงเป็ นเส้นที่ผา่ นจุด เหนือศีรษะและตั้งฉากกับขอบฟ้ าตรงจุดทิศเหนือ และจุดทิศใต้ ศูนย์สูตรฟ้ า (Celestial equator) เป็ นส่วน ขยายของศูนย์สูตรโลกไปถึงฟ้ า เส้นนี้จึงผ่านจุดทิศตะวันตก จุดทิศตะวันออก และผ่านเมริ เดียนตรงจุดที่ อยูท่ างใต้ของจุดเหนือศีรษะ  องศา เมื่อ  เป็ นละติจูดของผูส้ งั เกตบนโลก ขั้วฟ้ าเหนือ (North celestial pole) เป็ นจุดที่แกนโลกด้านที่ผา่ นขั้วโลกเหนือชี้ไปบนฟ้ า ปัจจุบนั ใกล้จุดนี้มีดาวเหนือปรากฏอยู่ ขั้วฟ้ าเหนือจึงอยูส่ ูงจากขอบฟ้ าทิศเหนือเป็ นมุม  องศา (เส้นที่ลากจากตาไปในแนวที่ขนานกับเส้นต่อ ของแกนหมุนของโลกจะไปพบกันที่ข้วั ฟ้ าเหนือ) 4. เกิดอะไรขึ้นเมื่อโลกหมุนรอบตัวเองรอบละ 1 วัน โลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลาไม่เคยหยุด โลกหมุนรอบตัวเองไปทางทิศตะวันออกรอบละ1 วัน ทาให้ เกิดปรากฎการณ์ 3 อย่างคือ 4.1 การขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวทั้งหลาย 4.2 เกิดทิศ 4.3 กลางวัน (เริ่ มตั้งแต่ ดวงอาทิตย์ข้ ึน ถึงดวงอาทิตย์ตก) กลางคืน (เริ่ มตั้งแต่ดวงอาทิตย์ตกถึงดวง อาทิตย์ข้ ึน) 3

เมื่อโลกหมุนจากตะวันตกไปตะวันออกเราไปด้วยพร้อมกับท้องฟ้ าของเรา ขณะที่ขอบฟ้ าตะวันออก สัมผัสดาว เรี ยกว่า ดาวขึ้น เมื่อขอบฟ้ าตะวันตกพบดาว เรี ยกว่า ดาวตก เมื่อเมริ เดียนสัมผัสดาวคือตาแหน่งที่ดาวอยู่ สูงสุดจากขอบฟ้ า เรี ยก ทรานสิ ท ( transit ) ถ้าเห็นดาวผ่านเมริ เดียนไปทางตะวันตกเรี ยกว่า ทรานสิ ทบน ( upper transit ) ถ้าเห็นดาวผ่านเมริ เดียนไปทางตะวันออก ( ต่ากว่าดาวเหนือ ) เรี ยกว่า ทรานสิ ทล่าง ( lower transit ) จะ เห็นได้ว่าทุกอย่างในอวกาศนอกโลก ขึ้น – ตก เพราะโลกหมุนรอบตัวเอง ดาวไม่เคลื่อนที่อย่างที่ตาเห็น ดาวไม่ได้ เคลื่อนรอบโลกจากตะวันออกไปตะวันตกรอบละ 1 วัน แต่โลกหมุนในทิศตรงข้ามโดยเอาขอบฟ้ าไปพบดาว และ เพราะการพาขอบฟ้ าตะวันตกไปพบดวงอาทิตย์ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตกจึงเกิดขึ้น บนโลกมีทิศตะวันตก – ตะวันออกก็เพราะเหตุน้ ีนนั่ เอง ถ้าโลกไม่หมุนรอบตัวเอง ดวงดาวจะไม่ข้ ึน – ตก เช่นเดียวกับเมื่ออยูใ่ นอวกาศไกล ออกไปก็จะไม่เห็นการขึ้น – ตกของดวงดาวแต่จะเห็นดาวอยูร่ อบตัวของเรา เห็นดาวอยูบ่ นผิวทรงกลมฟ้ า ( Celestial sphere ) 5. ดาวขึ้น – ตกอย่างไรในประเทศไทย เมื่อขอบฟ้ าด้านตะวันออกสัมผัสดวงดาวเรี ยกว่า ดาวขึ้น และเมื่อขอบฟ้ าด้านตะวันตกสัมผัสดวงดาว เรี ยกว่า ดาวตก ถ้าดาวขึ้นตรงจุดทิศตะวันออกพอดีจะไปตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี โดยมีเส้นทางขึ้น – ตกเป็ น เส้นศูนย์สูตรฟ้ า ช่วงเวลาตั้งแต่ข้ ึนถึงตกยาว 12 ชัว่ โมง ตาแหน่งที่เส้นศูนย์สูตรฟ้ าผ่านเมริ เดียนจะอยูท่ างใต้ของจุด เหนือศีรษะเท่ากับละติจูดของผูส้ งั เกต เช่นกลางๆ ประเทศไทยมีละติจูด 15 องศาเหนือ เส้นศูนย์สูตรฟ้ าจะผ่านเม ริ เดียน ณ มุมเงย 75 องศาเหนือขอบฟ้ าทิศใต้ เส้นทางขึ้น- ตกจึงเอียงเป็ นมุม 15 องศา กับเส้นตั้งฉากกับขอบฟ้ า เส้นทางขึ้น – ตก ณ จุดอื่นๆ จะขนานกับเส้นศูนย์สูตรฟ้ า โดยมีระยะเวลาอยูบ่ นท้องฟ้ าสั้นลงกว่า 12 ชัว่ โมงใน กรณี ที่ข้ ึนเฉี ยงไปทางใต้ แต่ถา้ ขึ้นเฉี ยงไปทางเหนือจะอยูบ่ นท้องฟ้ านานกว่า 12 ชัว่ โมง ดาวเหนืออยูส่ ูงจากขอบฟ้ า ทิศเหนือเป็ นมุมเท่ากับละติจูด 15 องศาตลอด 24 ชัว่ โมง เส้นทางขึ้น – ตกของดาวอาจหาได้จากส่วนโค้งของ วงกลมบนท้องฟ้ าที่มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ดาวเหนือ และรัศมีเท่ากับระยะที่ดาวห่างจากดาวเหนือนัน่ เอง ในกรณี ของดวงอาทิตย์จะมีเส้นทางขึ้น – ตกเปลี่ยนไปตลอดทั้งปี เพราะแกนโลกเอียง ทาให้ข้วั โลกเหนือ เบนเข้าหาดวงอาทิตย์ในเดือนมิถุนายน เบนออกในเดือนธันวาคมและหันด้านข้างเข้าหาในเดือนมีนาคมและ กันยายน ผลก็คือเกิดฤดูต่างๆ ตลอดทั้งกลางวันกลางคืนยาวไม่เท่ากันตลอดทั้งปี

4

รู ปแสดงเส้ นทางขึน้ – ตกของดวงอาทิตย์ที่ละติจูด 15 องศาเหนือ เส้ นทางขึน้ – ตกเปลี่ยนไปตลอดทั้งปี เพราะแกนโลกเอียง เส้ นทาง ก เป็ นเส้ นทางขึน้ -ตกของดวงอาทิตย์ในวันที่ 21 มีนาคม และ 23 กันยายนที่ละติจูด 15 องศาเหนือ เส้ นทาง ข เป็ นเส้ นทางขึน้ -ตกของดวงอาทิตย์ในวันที่ 22 ธันวาคม ที่ละติจูด 15 องศาเหนือ เส้ นทาง ค เป็ นเส้ นทางขึน้ -ตกของดวงอาทิตย์ในวันที่ 21 มิถุนายน ที่ละติจูด 15 องศาเหนือ

5.1 ดาวฤกษ์ ขนึ้ – ตก เวลาเดิมทุกวันหรือไม่ ดาวฤกษ์ข้ ึนไม่ตรงเวลาเดิมทุกวัน แต่จะขึ้นเร็ วขึ้นวันละ 4 นาที ทั้งนี้เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทาให้เวลาดวงอาทิตย์กบั เวลาดวงดาวไม่ตรงกัน ผลก็คือ เห็นดาวฤกษ์ข้ ึนเร็ วทุกๆวัน วันละประมาณ 4 นาที 5.2 การสาธิตว่าโลกเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ รอบละ 1 ปี ทาให้ เห็นดาวฤกษ์ ขนึ้ เร็ววันละประมาณ 4 นาที โลกหมุนรอบตัวเองรอบละ 1 วัน และเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 1 ปี โดยเคลื่อนไปใน ทิศทางเดียวกันคือจากตะวันตกไปตะวันออก โลกหมุนรอบตัวเองทาให้เกิดปรากฏการณ์ข้ ึน – ตกดังได้สาธิตแล้ว โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ทาให้เห็นดาวฤกษ์ข้ ึนเร็ ววันละประมาณ 4 นาที หรื อเดือนละ 2 ชัว่ โมง ผูเ้ ขียนขอแนะนา วิธีอธิบายหรื อสาธิตเรื่ องนี้ 2 วิธี คือ

5

5.2.1 อธิบายจากโลก 4 ตาแหน่งรอบดวงอาทิตย์ ไกลจากระยะดวงอาทิตย์กว่า 260,000 เท่าเป็ นดาวฤกษ์ดวงที่อยูใ่ กล้โลกที่สุด ดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ จึงอยูไ่ กลโลกและดวงอาทิตย์มากกว่านี้ สมมติมีดาว 4 ดวง คือ 1 , 2 , 3 , 4 อยูบ่ นระนาบทางโคจร ของโลกรอบดวงอาทิตย์ โดยเมื่อโลกอยูต่ าแหน่ง ก. จะเห็นว่าดวงอาทิตย์ปรากฏอยูท่ าง 1 เมื่อโลกอยู่ ณ ตาแหน่ง ข. , ค. , ง. ดวงอาทิตย์ปรากฏอยูท่ าง 2 , 3 , 4 ตามลาดับ ดูจากเหนือระนาบทางโคจรของ โลกจะเห็นขั้วโลกเหนือ (.) เยื้อ งลงข้างล่าง แสดงว่า ณ ตาแหน่ง ก. ขั้วโลกเหนือเบนเข้าหาดวง อาทิตย์ เส้นแบ่งกลางวันกลางคืนผ่านเลยขั้วโลกเหนือ ทาให้บริ เวณขั้ว โลกเหนือมีเพียงกลางวัน เท่านั้น ณ ตาแหน่ง ข. ขั้วโลกเหนือเบนออกจากดวงอาทิตย์ เส้นแบ่งกลางวันกลางคืนผ่านไม่ถึงขั้ว โลกเหนือ ทาให้บริ เวณขั้วโลกเหนือมีกลางคืน โดยไ ม่มีเวลากลางวันเลย ส่วนตาแหน่ง ก . และ ค. โลกหันด้านข้างเข้าหาดวงอาทิตย์ เส้นแบ่งกลางวันกลางคืนผ่านทั้งขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ทาให้ กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน

A

A

โลก 4 ตาแหน่ งรอบดวงอาทิตย์ เมื่อมองจากเหนือระนาบทางโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ คือ ขั้วโลกเหนือ ดาวฤกษ์ 4 ดวงอยู่ไกลจากระบบโลก – ดวงอาทิตย์ มาก (รู ปไม่เป็ นไปตาม สั ดส่ วนที่แท้ จริ ง)

6

พิจารณาโลก ณ ตาแหน่ง ก. A เห็นดาวดวงที่ 1 ขึ้นพร้อมดวงอาทิตย์เวลา 6 นาฬิกา 3 เดือนหลังจากนั้น โลกเดินทางมาถึงตาแหน่ง ข. ณ ตาแหน่ง ข. A เห็นดวงดาวที่ 1 อยูท่ ี่ขอบฟ้ า ตะวันออกหรื อขึ้นเมื่อเวลา 0 นาฬิกา ซึ่ งเร็ วกว่าเมื่อโลกอยูต่ าแหน่ง ก. 6 ชัว่ โมง นัน่ คือเวลา 3 เดือน หรื อ 90 วัน ดาว 1 ขึ้นเร็ ว 6 ชัว่ โมงหรื อ 360 นาที ดังนั้นในเวลา 1 วัน ดาว 1 ขึ้นเร็ ว 360/90 หรื อ 4 นาที 5.2.2 อธิบายจากการวัดความยาวของ 1 วันเทียบกับดวงอาทิตย์ และ 1 วันเทียบกับดาวฤกษ์ ในชีวิตประจาวัน เราวัดความยาวของวัน โดยอาศัยดวงอาทิตย์ ทั้งนี้เพราะทุกคนในโลกรู้จกั ดวง อาทิตย์และเป็ นดาวฤกษ์ดวงเดียวที่ปรากฏใหญ่ มีลกั ษณะเป็ นดวงกลมโต สังเกตได้ง่าย แต่มีดาวฤกษ์ อื่นๆ เป็ นจานวนมาก การวัดคาบการหมุนรอบตัวเองของโลกหรื อ 1 วันเทียบกับดาวฤกษ์เพื่อนามาใช้ ในชีวิตประจาวันจึงไม่สะดวก

5.3 วิธีวดั ความยาวของ 1 วันเทียบกับดวงอาทิตย์ และ 1 วันเทียบกับดาวฤกษ์ เวลา 1 วันเทียบกับดวงอาทิตย์ (Solar day) หรื อวันสุ ริยคติ คือ การวัดช่วงเวลาที่โลก หมุนรอบตัวเอง 1 รอบโดยสังเกตดวงอาทิตย์ กล่าวคือถ้าเริ่ มวัดเวลาตั้งแต่เห็นดวงอาทิตย์อยูส่ ูงสุดวัน แรก จนถึงเวลาเห็นดวงอาทิตย์อยูส่ ูงสุดในวันถัดไป จะได้ช่วงเวลา 1 วันเทียบกับดวงอาทิตย์ ซึ่ ง นามาใช้ในชีวิตประจาวันที่เรี ยกสั้นๆ ว่า 1 วันหรื อ 24 ชัว่ โมง ส่วนเวลา 1 วันเทียบกับดาวฤกษ์หรื อดาราคติ (Sidereal day) คือ การวัดช่วงเวลาที่โลก หมุนรอบตัวเอง 1 รอบโดยเปรี ยบเทียบกับดาวฤกษ์ เช่น ช่วงเวลาระหว่างการเห็นดาวซี รีอสั ผ่านเม ริ เดียน (จุดที่ดาวขึ้นไปสูงสุดบนท้องฟ้ า) ครั้งแรกถึงครั้งถัดไป แสดงว่า 1 วันดาราคติเป็ นช่วงเวลาที่ โลกหมุนรอบแกนสมมติไปได้ 360 พอดี แต่ 1 วันสุ ริยคติเป็ นช่วงเวลาที่โลกต้องหมุนไปประมาณ 361 เพราะโลกไม่ได้อยูก่ บั ที่ขณะ หมุนรอบตัวเอง แต่เคลื่อนโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกไป ทางทิศตะวันออก ทาให้ผสู้ งั เกตบนโลกเห็นว่าดวงอาทิตย์ยา้ ยตาแหน่งไปทางทิศตะวันออกของจุด เดิมประมาณ 1 องศาต่อวัน (โลกเคลื่อนไปได้ 360 ในเวลา 365.25 วัน ทาให้ใน 1 วัน โลกเคลื่อนไป ประมาณ 1) ดังนั้นโลกจึงต้องหมุนรอบตัวเองต่อไปอีก 1 หรื อ 4 นาที จึงจะเป็ นเวลา 1 วันสุริยคติ

7

ถ้า 1 วันสุริยคติ = 24 ชัว่ โมง 1 วันดาราคติจะประมาณ 23 ชัว่ โมง 56 นาที หรื อ เวลาเทียบกับดาวเร็ วกว่าเวลาเทียบกับดวงอาทิตย์วนั ละ 4 นาที นัน่ คือ เราจะเห็นดาวฤกษ์ปรากฏอยูต่ าแหน่งเดิมในเวลาที่เร็ วขึ้นวันละ 4 นาที หรื อเร็ วขึ้น เดือนละ 2 ชัง่ โมง เช่น ดาวซี รีอสั ขึ้นเวลา 20 นาฬิกาในวันที่ 1 ธันวาคม แต่วนั ที่ 1 มกราคมจะขึ้นเวลา 18 นาฬิกา เป็ นต้น ในทางปฏิบตั ิการวัดความยาวของ 1 วันสุริยคติ อาจวัดได้โดยสังเกตเงาของเสาที่อยูใ่ นแนว ทิศเหนือ – ใต้ ครั้งแรกถึงครั้งถัดไป นัน่ คือต้องมีแนวทิศเหนือ – ใต้ที่ชดั เจน นอกจากนี้ยงั อาจวัด 1 วันสุริยคติโดยใช้นาฬิกาแดด

สรุ ปผลที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของโลก  ดาวขึ้น – ตก เพราะโลกหมุนรอบตัวเองจากตะวันตกไปตะวันออกรอบละ 1 วัน  เส้นทางขึ้น – ตกของดาวฤกษ์จะคงที่เหมือนเดิมทุกคืนตลอดชีวิตของเรา แต่จะขึ้นเร็ วหรื อ มาอยูท่ ี่เก่าในเวลาที่เร็ วขึ้นวันละ 4 นาที เพราะโลกโคจรอบดวงอาทิตย์  เส้นทางขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์เปลี่ยนไปทุกวัน เพราะแกนที่โลกหมุนรอบเอียงจาก แนวตั้งฉากกับแนวระนาบทางโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็ นมุมประมาณ 23.5 องศา  เส้นทางขึ้น – ตกของดวงจันทร์ ดาวเคราะห์เปลี่ยนไปทุกวัน เพราะดวงจันทร์ โคจรรอบโลก และดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ 6. มีดาวอะไรบ้างบนท้องฟ้ า ดาวที่เห็นด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้ ามี 2 ประเภท คือ ดาวประจาที่ ซึ่ งเป็ นดาวฤกษ์ที่เรี ยงเป็ นรู ปร่ าง ต่างๆ เรี ยกว่ากลุ่มดาวฤกษ์ เช่นกลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวแมงป่ อง บนทรงกลมฟ้ าที่ใหญ่ไพศาลมี กลุ่มดาวทั้งหมด 88 กลุ่ม อีกประเภทหนึ่ง คือ ดาววันเกิด เป็ นดาวที่เอามาตั้งเป็ นชื่อวันในสัปดาห์ อาจจะเรี ยกดาววันเกิดว่าเป็ นดาวเคราะห์โบราณ เพราะในอดีตมนุษย์เชื่อว่า ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์

8

ดาวต้ นกาเนิดวันอาทิตย์ คือดวงอาทิตย์ซึ่งคนโบราณคิดว่ าเป็ นดาวเคราะห์ ดวงหนึ่ง

ต้ นกาเนิดวันจันทร์ คือดวงจันทร์ ซึ่งเป็ นดาวดวงเดียวที่เคลื่อนรอบโลก แต่ คนโบราณคิดว่ าเป็ นดาวเคราะห์ ดวงหนึ่งที่อยู่ใกล้ โลกที่สุด

9

ดาวต้ นกาเนิดวันอังคาร คือดาวอังคารซึ่ งคนโบราณคิดว่ าเป็ นดาวเคราะห์ ห่างโลกเป็ นลาดับที่ 5

ดาวต้ นกาเนิดวันพุธ คือดาวพุธซึ่ งคนโบราณคิดว่ าอยู่ห่างโลกเป็ นลาดับที่ 2 รองจากดวงจันทร์

10

ดาวต้ นกาเนิดวันพฤหั สบดี คือดาวพฤหั สบดีซึ่งคนโบราณคิดว่ าอยู่ห่างโลกเป็ นลาดับที่ 6

ต้ นกาเนิดวันศุกร์ คือดาวศุกร์ ซึ่งคนโบราณคิดว่ าอยู่ห่างโลกเป็ นลาดับที่ 3

11

ต้ นกาเนิดวันเสาร์ คือดาวเสาร์ ซึ่งคนโบราณคิดว่ าอยู่ห่างโลกเป็ นลาดับที่ 7

เป็ นดาวเคราะห์ เช่นเดียวกับ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบี ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ ซึ่ งเคลื่อนที่ผา่ น กลุ่มดาวต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มดาว 12 กลุ่ม ที่เรี ยกว่ากลุ่มดาวจักรราศี ปัจจุบนั การเคลื่อนที่ของดาว วันเกิดก็ยงั เหมือนยุคโบราณ เพียงอธิบายการเคลื่อนที่ได้ดีกว่า เพราะเข้าใจระบบที่ถูกต้อง กล่าวคือ ดาวเคราะห์โบราณไม่ได้เคลื่อนที่รอบโลกทุกดวง มีเพียงดวงจันทร์ เท่านั้นที่เคลื่อนรอบโลก รอบละ 1 เดือน โดยเคลื่อนไปทางทิศเดียวกับทิศทางการหมุนรอบตัวเองของโลก คือจากตะวันตกไป ตะวันออกเป็ นการเคลื่อนที่จริ ง ดวงอาทิตย์เคลื่อนไปทางตะวันออกเป็ นการเคลื่อนที่ปรากฏ เพราะผู้ สังเกตอยูบ่ นโลกกาลังเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ทาให้คนบนโลกเห็นดวงอาทิตย์เปลี่ยนตาแหน่ง คล้ายการเห็นดวงอาทิตย์ข้ ึน – ตก เพราะโลกหมุนรอบตัวเอง ส่วนดาวเคราะห์จริ งรวมทั้งโลกโคจร รอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกัน คือจากตะวันตกไปตะวันออกด้วยความเร็ วต่างกัน ดวงที่อยูใ่ กล้ดวง อาทิตย์เคลื่อนที่เร็ วกว่าดวงที่อยูไ่ กล แต่โลกเป็ นดาวเคราะห์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ดว้ ย คนบนโลกจึง เห็นดาวเคราะห์ดวงอื่นเคลื่อนที่ไปทางตะวันออกผ่านกลุ่มดาวจักรราศี แต่ทุกครั้งที่ดาวเคราะห์อยู่ ใกล้โลก เราจะเห็นดาวเคราะห์ปรากฏถอยหลัง (retrograde) กล่าวคือเคลื่อนไปทางตะวันตกติดต่อกัน หลายวันถึงหลายเดือน ทั้งนี้เพราะเมื่อดูจากโลกจะเห็นดาวเคราะห์เคลื่อนที่ชา้ กว่าโลก เช่นดาวอังคาร จะถอยหลังครั้งละ 80 วัน ดาวเสาร์ ถอยหลังครั้งละ 4 เดือน 16 วัน เป็ นต้น ดาวเคราะห์ที่มองเห็นด้วยตาเปล่า 5 ดวง ล้วนปรากฏสว่างมาก ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่ สะท้อนแสงอาทิตย์มาเข้าตาเรา ดวงสว่างที่สุดคือ ดาวศุกร์ สว่างรองจากดวงจันทร์ เมื่ออยูท่ าง ตะวันออกของดวงอาทิตย์จะเป็ นดาวประจาเมือง และเมื่ออยูท่ างตะวันตกของดวงอาทิตย์จะเป็ น ดาวรุ่ ง ดาวพฤหัสบดี สว่างรองจากดาวศุกร์ ดาวอังคาร สว่างรองจากดาวพฤหัสบดี ยกเว้นปี ที่ดาว อังคารอยูใ่ กล้โลกมากที่สุดในช่วงปลายเดือนสิ งหาคม ดาวอังคารจะสว่างกว่าดาวพฤหัสบดี แต่ดูง่าย 12

เพราะดาวอังคารมีสีแดง ดาวเสาร์ สว่างรองจากดาวอังคาร ยกเว้นเมื่ออยูต่ รงข้ามดวงอาทิตย์ ดาวเสาร์ จะสว่างกว่าดาวอังคารเมื่ออยูไ่ กลโลก ดาวพุธ ปรากฏความสว่างไม่คงที่และสังเกตได้ยากเพราะ ปรากฏใกล้ดวงอาทิตย์เสมอ โชติมาตรเมื่อสว่างที่สุดคือ -2 เนื่องจากระนาบทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เอียงเป็ นมุมเล็กๆกับระนาบโคจรของ โลกรอบดวงอาทิตย์ (ดาวพุธ 7 , ดาวศุกร์ 3 , ดาวอังคาร 2, ดาวพฤหัสบดี 1, ดาวเสาร์ 2.5) ทาให้ เห็นดาวเคราะห์เรี ยงเป็ นแถวเหมือนเป็ นสร้อยไข่มุก บนท้องฟ้ ามีดวงจันทร์ อยูบ่ นสร้อยนี้ดว้ ย และ สร้อยไข่มุกผ่านใกล้สุริยวิถี ดาวเคราะห์จึงอยูใ่ นกลุ่มดาวจักรราศี ดวงจันทร์ เคลื่อนที่รอบโลกจากตะวันตกไปตะวันออกเร็ วมากและกลับมาที่เก่าประมาณ 1 เดือน ดังนั้นดวงจันทร์ จึงผ่านใกล้ดาวเคราะห์แต่ละดวงเดือนละ 1 ครั้งเสมอ การเห็นดวงจันทร์ ปรากฏอยู่ ใกล้ดาวสว่างมากๆดวงใด ดาวดวงนั้นมักเป็ นดาวเคราะห์ กล้องโทรทรรศน์เป็ นอุปกรณ์ในการตัดสิ นว่าดาวที่เห็นเป็ นดาวเคราะห์หรื อไม่ ถ้าเป็ นดาวฤกษ์ ภาพในกล้องโทรทรรศน์จะปรากฏเป็ นจุดสว่างมากขึ้น แต่ถา้ เป็ นดาวเคราะห์จะปรากฏเป็ นดวงกลม โต แต่ละดวงมีเอกลักษณ์หรื อรูปร่ างเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่นเห็นดาวเสาร์ มีวงแหวน เห็นดาว พฤหัสบดีเป็ นดวงกลมโตพร้อมบริ วารขนาดใหญ่ 4 ดวง เห็นดาวศุกร์ เป็ นเสี้ ยวเป็ นต้น ดาวอื่นๆเป็ นดาวฤกษ์ที่มีสมบัติเหมือนกันคือสร้างพลังงานได้เองหรื อมีแสงในตัวเอง ผลพลอย ได้คือธาตุต่างๆ แต่ปรากฏแตกต่างกันในหลายลักษณะ ได้แก่ กาลังส่องสว่าง ความสว่าง ตาแหน่งบน ทรงกลมฟ้ า ระยะห่าง สี อุณหภูมิผิว สเปกตรัม อายุ มวล ระบบ องค์ประกอบ และวิวฒั นาการ ต่อไปนี้เป็ นตารางแสดงดาวฤกษ์ ดวงที่ปรากฏสว่างมากๆ พร้อมสมบัติบางประการ เช่น โชติมาตร (อันดับความสว่าง) เป็ นตัวเลขไม่มีหน่วย ระยะห่าง ตาแหน่งบนทรงกลมฟ้ า (กลุ่มดาวที่ดาวฤกษ์ สังกัด) และ สเปกตรัม

13

ตารางดาวฤกษ์ดวงที่ปรากฏสว่างมาก (เรี ยงลาดับตามความสว่างปรากฏ) เลขที่

ชื่อ

โชติมาตร

ระยะห่ าง (ปี แสง)*

สเปกตรัม**

กลุ่มดาว

1

ดวงอาทิตย์ (Sun)

-26.75

8.3 นาทีแสง

G2

จักรราศี

2

ซี รีอสั (Sirius)

-1.44

9

A0

หมาใหญ่

3

คาโนปัส (Canopus)

-0.62

310

A9

กระดูกงูเรื อ

4

ดวงแก้ว (Arcturus)

-0.05

37

K1.5

คนเลี้ยงสัตว์

5

แอลฟา เซนเทารี่ (-Centauri)

-0.01

4

G2

เซนเทารุ ส

6

วีกา (Vega)

0.03

25

A0

พิณ

7

คาเพลลา (Capella)

0.08

42

G6

สารถี

8

ไรเจล (Rigel)

0.18

800

B8

นายพราน

9

โปรซิ ออน (Procyon)

0.40

11

F5

หมาเล็ก

10

อะเคอร์ นาร์ (Achernar)

0.45

144

B3

แม่น้ า

11

เบทเทลจุส (Betelgeuse)

0.45

520

M2

นายพราน

12

เบตาเซนเทารี (-Centauri)

0.58

500

B1

เซนเทารุ ส

13

ตานกอินทรี (Altair)

0.76

17

A7

นกอินทรี

14

ตาวัว (Aldebaran)

0.87

65

K5

วัว

15

รวงข้าว (Spica)

0.98

260

B1

ผูห้ ญิงสาว

16

ปาริ ชาต (Antares)

1.06

600

M1.5

แมงป่ อง

17

พอลลักซ์ (Pollux)

1.16

34

K0

คนคู่

18

โฟมัลออท (Fomalhaut)

1.17

25

A3

ปลาใต้ 14

เลขที่

ชื่อ

โชติมาตร

ระยะห่ าง (ปี แสง)*

สเปกตรัม**

กลุ่มดาว

19

แอลฟา ครู ซิส (-Crucis)

1.25

320

B0.5

กางเขนใต้

20

หางหงส์ (Deneb)

1.25

1500

A2

หงส์

21

เบตา ครู ซิส (-Crucis)

1.25

350

B0.5

กางเขนใต้

22

หัวใจสิ งห์ (Regulus)

1.36

78

B7

สิ งโต

* 1 ปี แสง คือ ระยะทางที่แสงเดินทางไปได้ในเวลา 1 ปี เท่ากับประมาณ 10 ล้านล้าน กิโลเมตร ** ลาดับสเปกตรัมของดาวฤกษ์จากอุณหภูมิพ้ืนผิวสูงมายังอุณหภูมิผิวต่า คือ O B A F G K M

7. กลุ่มดาวหลัก เป็ นกลุ่มดาวที่ควรคุน้ เคยและทาความรู้จกั เป็ นพวกแรก ได้แก่  กลุ่มดาวจักรราศี 12 กลุ่ม เป็ นกลุ่มดาวที่ดาววันเกิดผ่าน  กลุม่ ดาวนายพราน มีดาวฤกษ์สว่างมาก 2 ดวง คือ เบทเทลจุสและไรเจล รวมทั้งเส้นศูนย์สูตรฟ้ าผ่า นกลุ่มดาวนี้  กลุ่มดาวหมาใหญ่ มีดาวฤกษ์สว่างที่สุดในเวลากลางคืนอยูใ่ นกลุ่มนี้  กลุ่มดาวหมาเล็ก มีดาวโปรซิ ออน  กลุ่มดาวหมีใหญ่ มีดาวเรี ยงเด่น 7 ดวง  กลุ่มดาวพิณ มีดาววีกาอยูใ่ นกลุ่มนี้  กลุ่มดาวนกอินทรี มีดาวตานกอินทรี  กลุ่มดาวหงส์ มีดาวหางหงส์  กลุ่มดาวกางเขนใต้ มีดาวแอลฟา ครู ซิส และ เบตา ครู ซิส  กลุ่มดาวเซนเทารุ ส มีดาวแอลฟา เซนเทารี และ เบตา เซนเทารี  กลุ่มดาวปลาใต้ มีดาวโฟมัลออท  กลุ่มดาวแม่น้ า มีดาวอเคอร์ นาร์ อยูใ่ นกลุ่มนี้  กลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ มีดาวดวงแก้ว  กลุ่มดาวสารถี มีดาวคาเพลลา  กลุ่มดาวกระดูกงูเรื อ มีดาวคาโนปัส  กลุ่มดาวคนแบกงู มีสุริยวิถีผา่ นระหว่างกลุ่มดาวแมงป่ องและกลุ่มดาวคนยิงธนู 15

กลุ่มดาวจักรราศี เป็ นกลุ่มดาวที่เป็ นฉากเบื้องหลังซึ่ งดาวเคราะห์โบราณผ่าน เป็ นต้นกาเนิดของชื่อเดือนใน ภาษาไทย โดยเรี ยงลาดับจากตะวันตกไปตะวันออกตามลาดับของชื่อเดือนซึ่ งเป็ นทิศทางการโคจรของโลกรอบ ดวงอาทิตย์ ในยุคปัจจุบนั ตาแหน่งดวงอาทิตย์ประมาณวันที่ 21 ของเดือนใดเดือนหนึ่ง คือ ตาแหน่งดวงอาทิตย์ กาลังเข้าสู่กลุ่มดาวต้นกาเนิดเดือนนั้นๆ เช่น วันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์กาลังเข้าสู่กลุ่มดาวมิถุน (คนคู่) ซึ่ งเป็ น ที่มาของเดือนมิถุนายน (มิถุน = คนคู่ อายน แปลว่า มาถึงหรื อมาแล้ว มิถุนายนจึงแปลว่า มาถึงกลุ่มดาวคนคู่แล้ว) กลุ่มดาวจักรราศีแต่ละกลุ่มมีความโดดเด่นแตกต่างกัน กลุ่มดาวเด่นๆ คือ กลุ่มดาววัว เพราะมีดาวตาวัวและดาว ลูกไก่อยูใ่ นกลุ่มนี้ กลุ่มดาวคนคู่ มีดาวคาสเตอร์ และดาวพอลลักซ์ กลุ่มดาวสิ งโต มีดาวหัวใจสิ งห์เป็ นดาวดวงเด่น ในกลุ่มและสุริยวิถีผา่ นใกล้ดาวดวงนี้ กลุ่มดาวผูห้ ญิงสาว มีดาวรวงข้าวเป็ นดาวเด่น กลุ่มดาวแมงป่ อง มีดาว ปาริ ชาตสี แดง อยูก่ ลางตัวแมงป่ อง และมีดาวฤกษ์อย่างน้อย 15 ดวงที่เรี ยงเป็ นรู ปแมงป่ องอย่างชัดเจนมาก ส่วน กลุ่มดาวอื่นประกอบด้วยดาวริ บหรี่ แต่มีเส้นทางขึ้น – ตก ที่ไม่เปลี่ยนแปลง เช่นกลุ่มดาวสิ งโตและกลุ่มดาวแกะ มีเส้นทางขึ้น – ตกแบบเดียวกัน คือขึ้นทางตะวันออกเฉี ยงไปทางเหนือเล็กน้อยและตกไปทางตะวันตกเฉี ยงไปทาง เหนือเล็กน้อย ผ่านเมริ เดียนเกือบเหนือศีรษะ กลุ่มดาววัวและกลุ่มดาวปูข้ ึนทางตะวันออกเฉี ยงไปทางเหนือมากกว่า กลุ่มดาวสิ งโต และกลุ่มดาวคนคู่ข้ ึนทางตะวันออกเฉี ยงไปทางเหนือมากกว่ากลุ่มดาวอื่นๆ ทาให้วนั ที่ 21 มิถุนายน เป็ นวันที่กลางวันยาวนานที่สุดเพราะดวงอาทิตย์อยูใ่ นกลุ่มดาวคนคู่ ส่วนกลุ่มดาวจักรราศีที่อยูใ่ ต้เส้นศูนย์สูตรฟ้ า มากที่สุด คือกลุ่มดาวแมงป่ อง ซึ่ งขึ้นแบบตัวแมงป่ องตั้งตรงกับขอบฟ้ าทางตะวันออกเฉี ยงใต้ เมื่อผ่านเมริ เดียน ลาตัวแมงป่ องจะเฉี ยงไปทางขวามือเป็ นมุม 45 กับขอบฟ้ าจึงเป็ นตาแหน่งเด่นชัดของกลุ่มดาวแมงป่ องทางทิศใต้ และแมงป่ องจะลับขอบฟ้ าแบบตะแคงทางตะวันตกเฉี ยงใต้ ดวงอาทิตย์ผา่ นกลุ่มดาวแมงป่ องระหว่าง 24 พฤศจิกายน ถึง 1 ธันวาคม สุริยวิถีผา่ นกลุ่มดาวคนแบกงูก่อนที่จะเข้าสู่กลุ่มดาวคนยิงธนู ดังนั้นใน 1 ปี ดวงอาทิตย์ จึงปรากฏผ่านกลุ่มดาว 13 กลุ่ม ในวันที่ 22 ธันวาคมดวงอาทิตย์อยูใ่ นกลุ่มดาวคนยิงธนูและเป็ นวันที่กลางวันสั้น ที่สุดของปี กลุ่มดาวจักรราศีที่ข้ ึนทางตะวันออกเฉี ยงไปทางใต้เท่ากันคือกลุ่มดาวคันชัง่ กลุ่มดาวมกรและกลุ่มดาว คนแบกหม้อน้ า

16

กลุ่มดาวจักรราศีที่เส้นศูนย์สูตรฟ้ าผ่านคือ กลุ่มดาวปลาและกลุ่มดาวผูห้ ญิงสาว ทั้งนี้เพราะดวงอาทิตย์ในวันที่ 21 มีนาคม อยูใ่ นกลุ่มดาวปลา และดวงอาทิตย์ในวันที่ 23 กันยายนอยูใ่ นกลุ่มดาวผูห้ ญิงสาว กลุ่มดาวปลาและกลุ่มดาว ผูห้ ญิงสาวจึ งขึ้นตรงจุดทิศตะวันออก และตกตรงจุดทิศตะวันตก

กลุ่มดาวจักรราศีเมื่อมองจากเหนือระนาบสุริยวิถี

17

กลุ่มดาวนายพรานและสามเหลี่ยมฤดูหนาวขณะผ่านเมริ เดียน กลุ่มดาวนายพรานเป็ นกลุ่มดาวฤดูหนาวเพราะเห็นตลอดทั้ง คืนในฤดูหนาว ในประเทศไทยขณะผ่านเมริ เดียน ศีรษะของนายพรานจะอยู่ไปทางทิศใต้ ของจุดเหนือศีรษะเพียง 5 องศา ขณะนั้นสามเหลี่ยมฤดูหนาวซึ่ งเป็ นสามเหลี่ยมด้ านเท่ ายาวด้ านละ 22 องศาอยู่ถัดไปทางทิศตะวันออกของนายพราน สามเหลี่ยมฤดูหนาวประกอบด้ วยซี รีอัส (ดาวดวงสว่ างที่สุดและอยู่ตา่ สุด) ดาวโปรซิ ออน (ดวงสว่ างที่อยู่ซ้ายมือ) และดาว เบทเทลจุส (ดาวสว่ างสี แดงตรงรั กแร้ นายพราน) กลุ่มดาวนายพรานขึน้ แบบตะแคงโดยดาวตรงเข็มขัดนายพรานดวงเหนือ สุดขึน้ ตรงจุดทิศตะวันออก และตกแบบตะแคงโดยดาวตรงเข็มขัดนายพรานดวงเหนือสุดตกตรงทิศตะวันตกพอดี ดาวดวง นีจ้ ึงอยู่บนท้ องฟ้ านาน 12 ชั่วโมง เพราะอยู่บนเส้ นศูนย์สูตรฟ้ า

กลุ่มดาวแมงป่ องกาลังขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยเส้ นที่ลากจากหั วไปยังหางตั้งได้ ฉากกับขอบฟ้ า ดาวที่สว่ างที่สุดคือ ดาวปาริ ชาตซึ่ งอยู่กลางตัวแมงป่ อง

18

สามเหลี่ยมหน้ าร้ อนประกอบด้ วยดาววีกา (Vega) ดาวหางหงส์ (Deneb) และดาวตานกอินทรี (Altair) สามเหลี่ยมหน้ าร้ อน ขึน้ ทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ

กลุ่มดาวแมงป่ องขึ้นทางตะวันออกเฉี ยงใต้แบบตั้งตรง และตกแบบตะแคงทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ขณะ ผ่านเมริ เดียนลาตัวแมงป่ องจะเอียง 45 กับขอบฟ้ า โดยหัวเอียงไปทางขวา หางเฉี ยงไปทางซ้าย ตัวแมงป่ องอยูส่ ูง เหนือขอบฟ้ าทิศใต้ประมาณ 45 จึงเห็นแมงป่ องเด่นชัดมากในประเทศไทย และดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวแมง ป่ องคือ ดาวฤกษ์สีแดงชื่อดาวปาริ ชาต (Antares) กลุ่มดาวแมงป่ องเป็ นกลุ่มดาวฤดูร้อนเพราะเห็นอยูบ่ นฟ้ านาน ที่สุดในฤดูร้อน ของซี กโลกเหนือ (เดือนมิถุนายน) ส่วนสามเหลี่ยมฤดูร้อนอยูท่ างทิศเหนือ เป็ นรู ปสามเหลี่ยมหน้า จัว่ ที่มีความสูงมากกว่าความสูงของสามเหลี่ยมฤดูหนาว ดาวที่อยูด่ า้ นฐานของสามเหลี่ยมคือ ดาววีกา (Vega) ใน กลุ่มดาวพิณ และดาวหางหงส์ (Deneb) ในกลุ่มดาวหงส์ ส่วนดาวตรงมุมยอดของสามเหลี่ยมคือ ดาวตานกอินทรี (Altair) ในกลุ่มดาวนกอินทรี

19

กลุ่มดาวหมีใหญ่ อยู่ตรงข้ ามกลุ่มดาวแคสสิ โอเปี ย ขณะอยู่ใกล้ ขอบฟ้ า

แสดงกลุ่มดาวหมีใหญ่กาลังตกและกลุ่มดาวแคสสิ โอเปี ยกาลังขึ้น ดาว 7 ดวงในกลุ่มดาวหมีใหญ่เรี ยกว่าดาว เรี ยงเด่น คนไทยเรี ยกดาวจระเข้ สมัยโบราณคนจีนเรี ยกดาวนี้ว่า ดาวกระบวยใหญ่ (Big Dipper) ส่วนดาว 5 ดวง เรี ยงเป็ นรู ปตัว M ตะแคง ในกลุ่มดาวแคสสิ โอเปี ย ไทยเราเรี ยกว่า ดาวค้างคาว เส้นที่ต่อระหว่างดาวดวงที่ 5 ในดาว จระเข้ และดาวดวงที่ 3 ในดาวค้างคาว ผ่านดาวเหนือพอดี กลุ่มดาวทั้งสองจึงอยูต่ รงกันข้ามโดยมีดาวเหนืออยูก่ ลาง 8. เครื่ องช่วยให้ดูดาวเป็ น  ท้องฟ้ าจาลอง  แผนที่ดาว  ทรงกลมดาว  โปรแกรมดูดาวต่างๆ เช่น โปรแกรม Stellarium และ โปรแกรม Starry Night  หนังสื อดาราศาสตร์ เช่น การดูดาวขั้นต้นโดยผูเ้ ขียน  วารสารทางช้ างเผือกของสมาคมดาราศาสตร์ ไทย  วารสาร Sky and Telescope ของสหรัฐอเมริ กา  วารสาร Astronomy ของสหรัฐอเมริ กา 9. ความสวยงามของธรรมชาติที่อยูบ่ นท้องฟ้ า นอกเหนือจากสิ่ งที่มองเห็นด้วยตาเปล่าดังกล่าว แล้วยังมีสิ่งสวยงามซึ่ งดูลึกลับมหัศจรรย์อีก มากมาย ส่วนใหญ่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ช่วยในการบันทึกภาพสิ่ งเหล่านี้ เช่น แหล่งกาเนิดดาวฤกษ์หรื อซากที่เหลืออยูจ่ ากการจบชีวิตของดาวฤกษ์ ที่เรี ยกว่า เนบิวลา เมืองของ ดาวฤกษ์ที่เรี ยกว่า กาแล็กซี และภาพกาแล็กซี จานวนมากที่อยูไ่ กลที่สุด ซึ่ งกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ฮับเบิลบันทึกไว้จากห้วงอากาศลึก

20

ดาวฤกษ์ กาลังก่ อกาเนิดขึน้ จากเนบิวลาสว่ างใหญ่ (M42 หรื อ NGC 1976) ในกลุ่มดาวนายพราน เป็ นเนบิวลา ที่พอมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่ าเพราะมีโชติมาตร 4 กว้ าง 1 16’ M42 อยู่บริ เวณดาบที่ห้อยจากเข็มขัดของ นายพราน

เนบิวลาปู เป็ นซากที่เหลือจากการระเบิดของดาวฤกษ์ หรื อซูเปอร์ โนว่ าเมื่อ ค.ศ. 1054 ในกลุ่มดาววัว อยู่ห่างจากโลก 6,500 ปี แสง มีรัศมี 11 ปี แสง ขยายตัวด้ วยอัตราเร็ ว 1600 กิโลเมตรต่ อวินาที เป็ นส่ วนหนึ่งของแขนด้ านกลุ่มดาวเพอร์ ซิอัสของ กาแล็กซี ทางช้ างเผือก ที่ศูนย์กลางมีดาวนิวตรอนขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 28-30 กิโลเมตร หมุนด้ วยอัตรา 30.2 รอบต่ อ วินาที เนบิวลาปู คือ M1 ในสารบบของเมสสิ เยร์ และมีโชติมาตร 8.4

21

เนบิวลาตาแมว เป็ นเนบิวลาที่เหลืออยู่จากการจบชีวิตของดาวฤกษ์ ขนาดดวงอาทิตย์ เรี ยกว่ าเนบิวลาดาวเคราะห์ อยู่ในกลุ่ม ดาวมังกร อยู่ห่างโลก 3,000 ปี แสง มีโชติมาตรปรากฏ 9.88

กาแล็กซี หรื อดาราจักร เป็ นระบบดาวฤกษ์ ที่ใหญ่ มาก ประกอบด้ วยดาวฤกษ์ จานวนแสนล้ านดวงที่อยู่ห่างศูนย์กลางของ ระบบต่ างๆ กัน ที่ศูนย์กลางมีหลุมดามวลยวดยิ่ง ทาหน้ าที่ดึงดาวฤกษ์ เหล่ านีไ้ ว้ ด้วยแรงโน้ มถ่ วง ทาให้ ดาวฤกษ์ เคลื่อนรอบ ศูนย์กลาง ด้ วยความเร็ วที่ไม่เท่ ากัน รู ปร่ างของแต่ ละกาแล็กซี จะแตกต่ างกัน ส่ วนมากจะเป็ นรู ปกังหั น มีขนาดใหญ่ มาก เช่ น กาแล็กซี ทางช้ างเผือกหรื อกาแล็กซี ของเรา มีเส้ นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปี แสง ดวงอาทิตย์อยู่ที่ขอบนอก หรื อแขนด้ านกลุ่มดาวนายพราน โดยอยู่ห่างศูนย์กลางประมาณ 30,000 ปี แสง ดวงอาทิตย์จึงพาบริ วารเคลื่อนที่ไปในอวกาศ ด้ วยความเร็ วสูง โดยจะใช้ เวลาไม่น้อยกว่ า 220 ล้ านปี จึงวนรอบศูนย์กลางได้ 1 รอบ แต่ ละกาแล็กซี อยู่ห่างกันมาก และมัก อยู่เป็ นกระจุก ภาพข้ างบน คือ กาแล็กซี แอนโดรเมดา อยู่ห่างกาแล็กซี ของเรา 2.4 ล้ านปี แสง

22

กาแล็กซี หลายกาแล็กซี ปรากฏอยู่ใกล้ ๆ กัน

ภาพถ่ ายกาแล็กซี จานวนมากจากกล้ องโทรทรรศน์ อวกาศฮับเบิล เป็ นภาพที่ได้ จากการเล็งกล้ องโทรทรรศน์ ไปยังจุดเล็กๆ จุดหนึ่งในกลุ่มดาวหมีใหญ่ กาแล็กซี ที่ไกลที่สุดที่กล้ องโทรทรรศน์ อวกาศฮับเบิลบันทึกได้ อยู่ไกลไม่น้อยกว่ า 13,000 ล้ าน ปี แสง

23

10. ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับเอกภพ และปัญหาในปัจจุบนั เอกภพประกอบด้วยกาแล็กซี ท้งั ปวง และที่ว่างระหว่างกาแล็กซี เอกภพในปัจจุบนั และแรกเกิดเมื่อ 13,700 ล้านปี มาแล้ว แตกต่างกันมาก เพราะเมื่อแรกเกิดเอกภพเป็ นพลังงานที่มีค่าสูงยิ่ง อุณหภูมิสูงอนันต์และมีขนาดเล็ก มาก จุดเริ่ มต้นของเอกภพที่เรี ยกว่าบิกแบงนั้น สสารที่เกิดขึ้นครั้งแรกเป็ นอนุภาคพลังงานสูงหลายชนิด เช่น อิเล็กตรอน ควาร์ ก นิวทริ โน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิลดลงจนถึงระดับหนึ่งจึงเกิดโปรตอนหรื อ นิวเคลียส ของไฮโดรเจน และนิวตรอน จากการรวมตัวกันของควาร์ กด้วยแรงนิวเคลียร์ อย่างแรง ต่อมาโปรตรอนและ นิวตรอนจึงหลอมรวมกันเป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม ครั้นเมื่ออุณหภูมิลดต่าลงเป็ นประมาณ 10,000 เคลวิน หลัง บิกแบง 300,000 ปี จึงเกิดอะตอมแรกขึ้นมาในเอกภพ เพราะที่อุณหภูมิดงั กล่าวอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ชา้ ลงพอที่ โปรตรอนและนิวเคลียสของฮีเลียมจะดึงอิเล็กตรอนมาโคจรรอบได้ดว้ ยแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า กลายเป็ นอะตอมของ ไฮโดรเจน และอะตอมของฮีเลียม ส่วนใหญ่เป็ นไฮโดรเจนซึ่ งเป็ นธาตุหลักของการก่อกาเนิดเป็ นดาวฤกษ์ภายใน กาแล็กซี กาแล็กซี ต่างๆเกิดหลังบิกแบงประมาณ 1000 ล้าน – 2000ล้านปี และเริ่ มเคลื่อนที่ห่างออกจากกันทาให้ เอกภพมีขนาดใหญ่ข้ ึน ผูพ้ ิสูจน์ว่าเอกภพขยายตัวคือ เอ็ดวิน พี ฮับเบิล ซึ่ งพบว่ากาแล็กซี ยิ่งอยูไ่ กลยิ่งเคลื่อนที่หนี ห่างด้วยความเร็ วที่มากกว่า และนักวิทยาศาสตร์ ผคู้ น้ พบหลักฐานที่แสดงว่าอุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็ น 2.73 เคล วิน คือ อาร์ โน เพนเซี ยส และ รอเบิร์ต วิลสัน ทั้งการขยายตัวของเอกภพและอุณหภูมิที่ลดต่าลงเป็ นข้อสนับสนุน ทฤษฎีบิกแบงได้เป็ นอย่างดี แต่กาแล็กซี ตลอดทั้งสิ่ งที่สมั ผัสได้ในปัจจุบนั มีเพียงร้อยละ 4 ที่เหลือ ร้อยละ 22 เป็ น สสารมืด (Dark Matter) และร้อยละ 74 เป็ นพลังงานมืด (Dark energy) สสารมืดส่วนหนึ่งอยูบ่ ริ เวณรอบนอกหรื อ ฮาโลของกาแล็กซี จึงเรี ยกว่าแมกโฮ (MACHO : Massive Astrophysical Compact Halo Objects) สสารมืดอาจเป็ น หลุมดาหรื อดาวที่ไม่ส่องแสง นอกจากนี้สสารมืดอาจเป็ นอนุภาคที่มีมวลมากแต่ทาปฏิกิริยากับสสารอื่นอย่าง อ่อนๆ ดังเช่นนิวทริ โนที่ทะลุทะลวงโลกได้ นักดาราศาสตร์ เรี ยกสสารมืดที่เป็ นอนุภาคมวลมากนี้ว่า วิมพ์ (WIMP : Weakly Interactive Massive Particles) พลังงานมืด เป็ นพลังผลักที่ทาให้เอกภพขยายตัวจึงเป็ นแรงต้านแรงโน้มถ่วง เอกภพยิ่งขยายตัวยิ่งมีพลังงาน มืดมาก การค้นพบว่าเอกภพขยายตัวด้วยความเร่ ง ทาให้เกิดที่ว่างมากขึ้นอย่างมหาศาลในเอกภพ นักวิทยาศาสตร์ กาลังแสวงหาคาตอบว่า สสารมืดและพลังงานมืดเป็ นอะไรโดยอาศัยเทคโนโลยีอวกาศ ปัจจุบนั นักดาราศาสตร์ รู้จกั สสารในเอกภพเพียงร้อยละ 4 ส่วนที่เหลือยังไม่รู้จกั จึงเรี ยกว่า สสารมืดและพลังงานมืด นี่คือปัญหาของเอกภพในเวลานี้ แต่ปัญหาเรื่ องนี้ไม่น่ากระทบกระเทือนเกี่ยวกับความสวยงาม ความมีเสน่ห์ของทองฟ้ ายามค่าคืน การ คุน้ เคยกับดวงดาวบนท้องฟ้ ายังมีประโยชน์ทุกยุคทุกสมัย จึงหวังว่าการดูดาวให้ เป็ นจะนาความสุขมาสู่ท่านบ้าง

24