การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร Problems and Guideline on Development personnel of the Kokkrabue sub District Administrative Organization, Muang District, SamutSakhon province ดร.ราเชนทร์ นพณัฐวงศกร1 ,ศิรัญญา เสือคง2 และณัฐฐา รักษ์ถาวรกุล 1อาจารย์ประจาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการจัดการสาธารณะสาหรับผู้บริหารยุคใหม่ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 19/1 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 E-mail :
[email protected] โทรศัพท์ 02-8745000, 081-9616455 2นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสาธารณะสาหรับผู้บริหารยุคใหม่ 19/1 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 E-mail :
[email protected] นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 19/1 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาถึงสภาพปัญหาการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร และ 2)เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัด สมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ยึดถือกระบวนการตีความ ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ จานวน 18 คน ได้มาโดยวิธีเลือกตัวอย่า งแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการวิจัย ใช้วิธีตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า วิเคราะข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาแบบแยกจาแนก ข้อมูลและจัดตามชนิดข้อมูล นอกจากนั้นยังทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่น่าเชื่อถือ เพื่อสนับสนุนการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร คือ “ปัญหาด้าน ประชาชน” เนื่องจากประชาชนไม่เข้าใจการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่น ทาให้บุคลากรปฏิบัติงานได้ยากลาบาก เพราะประชาชนคิดว่า องค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือจะต้องเข้ามามีบทบาทแก้ไขปัญหาให้ได้ทุกเรื่อง แต่แท้จริงแล้ว การปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วน ตาบลคอกกระบือนั้นต้องทางานร่วมกับประชาชน โดยประชาชนต้องมีบทบาทร่วมในการพัฒนาด้วย ซึ่งแนวทางการแก้ไขควรทาความเข้าใจ กับประชาชนถึงบทบาทหน้าที่การปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ โดยการออกหนังสือชี้แจ้งให้กับประชาชน ทราบ อธิบายการปฏิบัตงิ านให้มีความชัดเจน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับประชาชน 2.การพัฒนาบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ขาดความรู้ความเข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ใน การปฏิบัติงานในหลายๆอย่างในตัวของบุคลากรเอง แนวทางแก้ไขควรจะมีการทาคู่มือในการปฏิบัติหน้าที่ ในแต่ละตาแหน่งให้มี ความชัดเจน พร้อมยกตัวอย่างให้เห็น และตัวบุคลากรนั้นต้องหมั่นศึกษาค้ นคว้าหาความรู้ เพิ่มเติมในหน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบ เพื่อสร้าง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของตนเอง และความก้าวหน้าในอนาคต คาสาคัญ: การปฎิบัติงาน, ประสิทธิภาพ, การพัฒนา
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
Abstract The Research intended to study the probles and develop the Kokkrabue Sub-District, Muang Samutsakhon province. This research holds the target population is the executive 18 person. Acquired by “Purposive sampling” The Instrument used for this research is “Participant Observation” and “In – depth interview using validation date is “in angulation”. In separate research data and analysis to support research the research found that. 1. Problems at work of tombol Kokkrabue people muang distric, samutsakorn province is people. People can’t understand about Local Government. That is diffical to work.People understand tombol Kokkrabue will solving every problems but work must in conjunction with people.Solutions is write Clarification Letter to people in Kokkrabue to understand duty in Khokkrabue. 2. The development of individuals in the Khokkrabue , SubbDistrict, Muang Samutsakhon province lacking of cognitive in duty. Solutions is do manual work each position clearly and for example that. People must learn to maximize the performance and progress in the future. Keywords: The practical work, performance, Development.
1. บทนา องค์การบริหารส่วนตาบล มีชื่อย่อเป็นทางการ ว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหาร ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น รู ป แ บ บ ห นึ่ ง ซึ่ ง จั ด ตั้ ง ขึ้ น ต า ม พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม จนถึ ง ฉบั บ ที่ 6 พ.ศ. 2552 โดยยกฐานะจากสภาตาบล องค์การบริหารส่วน ตาบลคอกกระบือ มีอานาจหน้ าที่ ในการพั ฒ นาตาบล ภายใต้กฎบังคับของกฎหมาย จะทาหน้าที่เฉพาะพื้นที่ที่ ดูแลรักษา เช่น จัดเก็บภาษีที่อยู่อาศัย ที่ดิน รวมถึงดูแล จั ด ให้ มี ก ารบ ารุงรักษาทางน้ าและทางบก ดู แลความ สะอาดในพื้ น ที่ ส่ ว นต าบลคอกกระบื อ และจั ด สรร งบประมาณ เพื่ อ ใช้ ในการบริ ห ารงานในส่ ว นต่ า งๆ ภายในองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ ให้ เหมาะสม ซึ่งการพัฒ นาบุคลากรในองค์กรให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่ างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้ น จาเป็นต้องอาศัยความรู้ ความเชี่ยวชาญในหน้าที่ที่ตน รับ ผิ ด ชอบ ต้ อ งมี ค วามร่ ว มมื อ ในหน่ ว ยงานที่ ดี มี จริย ธรรมในการท างาน สามารถท างานเป็ น ที มได้ ดี ภายในองค์กร มีการประสานงานที่ดีในหน่วยงานให้ สอดคล้ อ งไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ให้ ค วามส าคั ญ กั บ บุ ค ลากรทั้ ง ในระดั บ ผู้ บ ริห ารและระดั บ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน เพราะว่าบุคลากรทั้งสองระดับต้องมีความสัมพันธ์ตลอด การท างานและเป็ น กลไกที่ ส าคั ญ ที่ จ ะน าองค์ก รไปสู่
ความสาเร็จ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการปฏิบัติงานเพื่อ ประชาชนในท้ องถิ่ น ในปั จ จุ บั น การปฎิ บั ติ ง านของ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ อ าเภอเมื อ ง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นไปด้วยความยุ่งยาก ก่อให้เกิด ปัญหาขาดความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เกิดความไม่ ชัดเจนในหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ เนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ทาให้การมาใช้บริการของ ประชาชน ขาดความเข้ า ใจในระบบการท างานของ องค์กรที่ดี ปัญหาต่างๆ ส่งผลมาจาก ด้านกระบวนการ ปฏิ บั ติ ง าน ด้ านความสั ม พั น ธ์ กับ บุ ค คลในหน่ ว ยงาน และสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ซึ่งสาเหตุดังกล่าว ท าให้ มี ผ ลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลต่ อ การ ปฏิบั ติ งานอย่างยิ่ง ดังนั้ นปั ญ หาเกี่ย วกับ บุ คลากรจึ ง เป็นปัญหาที่สาคัญประการหนึ่ง ของการดาเนินงานของ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ อ าเภอเมื อ ง จังหวัดสมุทรสาคร 1.1 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับปัญหาในการบริหารงานใน องค์การ สุรชาติ หนองคาย (2543) ได้กล่าวไว้ว่า การที่จะ ดาเนินการใดๆ ไม่ว่าจะใช้แผนการพัฒนาองค์การใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาที่พบได้ในทุกหน่วยงาน ทุก
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
องค์ ก ารและปั ญ หาเหล่ า นี้ เป็ น สิ่ ง บอกเหตุ ที่ ส าคั ญ ปัญหาเหล่านั้น ได้แก่ 1. ขาดความร่วมมือประสานงานระหว่าง หน่วยงาน 2. อานาจหน้าที่ไม่กาหนดไว้ให้แน่ชัด 3. การแก้ปัญหาใช้เวลานานเกินไป 4. โครงการทดลองหรืองานบางอย่าง ต้องมีการ ติดต่อสัมพันธ์กัยภายในระหว่างบุคคล 5. ต้องการเปลี่ยนกลวิธีการจัดการ 6. ต้องการเปลี่ยนทัศนคติ 7. ต้องการวางแผนงานที่ดีกว่า 8. ต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม 9. ต้องการปรับปรุงการทางานร่วมกันระหว่าง กลุ่ม 10. ต้องการใช้ระบบการติดต่องานอย่างกว้างขวาง 11. ต้องการเปลี่ยนการจูงใจของหน่วยงาน 12. ปัญหาต่างๆ ที่มีมากขึ้น คั่งค้าง และสะสางไม่ ออก ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิ ศไพฑู รย์ (2543) ได้ กล่ าวไว้ ว่า ปั ญ หาและอุ ป สรรค์ ที่ เกี่ย วข้องกับ องค์ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น มีดังต่อไปนี้ ปัญหาด้านโครงสร้างองค์กร ก่อให้เกิดข้อจากัดใน การดาเนินงานในด้านการดูแลผังเมืองที่ได้รับการถ่าน โอนจากกรมโยธาธิการและผังเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรอื่นๆ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลง บุ ค ลากร คุ ณ ลั ก ษณ ะประการหนึ่ ง ของบุ ค ลากร อย่างเช่น มีการเปลี่ยนแปลงบุคลากรอยู่ต ลอดเวลาใน ลักษณะของการโอนย้ าย ส่ งผลให้ เกิด ปั ญ หาการขาด ความต่อเนื่องในการดาเนินงาน การรับผิดชอบงาน, ปัญหาด้านจานวนบุคลากรที่ไม่เพียงพอ,ปัญหาด้าน ความรู้ เป็นปัญหาที่สาคัญมากที่สุด แม้ว่าองค์กร ปกครองส่วนท้ องถิ่น บางแห่งจะมีบุคลากรที่ท าหน้าที่ โดยตรงด้านผังเมือง แต่บุคลากรส่วนใหญ่เป็นบุคลากรที่ ไม่มีความรู้ด้านผังเมือง
ปัญหาด้านเทคโนโลยี ส่วนใหญ่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่ทาการจัดทาผังหรือปรับปรุงผังใช้วิธีการจัดจ้าง ปรึกษา ดังนั้นในปัจจุบันปัญ หาด้านเทคโนโลยีก็ถือว่า เป็นปัญหาสาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ในช่วงที่มีการ ประกาศใช้ผังมือง ประชาชนไม่เข้าใจในความสาคัญของ ผั ง เมื อ ง ก็ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด ความรู้ สึ ก ว่ า ถู ก ลิ ด รอนสิ ท ธิ เหมื อ นกั บ ทั ศ นะของผู้ บ ริ ห ารองค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่น นอกจากนี้ หากมี ป ระชาชนที่ มองเห็ นผั งเมือง เป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์ ปัญหาด้านผู้บริหาร มองไม่เห็นความสาคัญของผัง เมืองหรือให้ความสาคัญน้อยกว่าภารกิจอื่นๆ เนื่องจาก ภารกิ จ ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ม ากมาย โดยเฉพาะภารกิจในการให้บริการประชาชน แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ณฐมนต์ ปั ญ จวี นิ น อ้ า งถึ งใน ผศ.ดร.บุ ญ ยง ชื่ น สุ วิ ม ล (2552: 2)ได้ ให้ ค าจ ากั ด ค วาม ก ารพั ฒ น า ทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ คือ การพัฒนาทรัพยากร มนุ ษ ย์ ในองค์ ก าร เป็ น การพั ฒ นาองค์ ร วมของการ พั ฒ นาบุ ค คล (ID) พั ฒ นาวิ ช าชี พ (CD) และพั ฒ นา องค์การ (OD) เพื่อมุ่งสู่การผลิตสูงสุด คุณภาพ โอกาส และการเพิ่ มพู น สูงสุ ด เพื่ อสมาชิ กองค์การที่ พ วกเขา ทางานทาให้เป้าหมายขององค์การบรรลุผล สุ ค น ธรั ต น์ เถาสุ ว รรณ์ (2550) ศึ ก ษ าเรื่ อ ง ป ระ สิ ท ธิ ภ า พ ก า รป ฏิ บั ติ งา น ข อ งข้ า ร าช ก า ร ลู ก จ้ า งประจ า และพนั ก งานจ้ า ง: ศึ ก ษาเฉพาะกรณี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ พบว่า ปัจจัย จูงใจด้านสภาพแวดล้อมภายนอกในการปฏิบัติงานโดย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านสภาพที่ทางานระดับ ปานกลาง สวัสดิการและสิท ธิป ระโยชน์ เกื้อกูล ระดั บ ปานกลาง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ ใต้บัญชาระดับสูง ความมั่นคงในการปฏิบัติหน้าที่ระดับ ปานกลาง ความผู ก พั น ต่ อการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร ะดั บ สู ง โอกาสเพิ่ ม ความรู้ ค วามสามารถระดั บ สู ง และความ เพี ย งพอต่ อรายได้ ระดั บ ปานกลาง ส่ วนความคิ ด เห็ น ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการป ฏิ บั ติ ง าน ของข้ า ราชการ
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
ลู กจ้ างประจ า และพนั กงานขององค์ การบริหารส่ ว น จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พนิตตา นรสิงห์ (2552) ได้ศึกษาความพึงพอใจของ ประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตาบลสนามจันทร์ พบว่า ประชาชนที่มาใช้บริการของ องค์การบริหารส่วนตาบลสนามจัน ทร์ โดยภาพรวมมี ความพึงพอใจในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนมี ความพึ งพอใจในระดับ มากทั้ ง 3 ด้าน คือ ด้ า น บุ คลิ ก ภ าพ ของเจ้ า หน้ าที่ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร ด้ า น กระบวนการการให้บริการ และด้านอาคารสถานที่ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วนิ ด า พุ ฒ พิ ม พ์ (2546) ศึ ก ษาสภาพการณ์ แ ละ ปัญหาในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล วารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อหาแนวทางแก้ไข การบริหารงานในด้านโครงสร้างและระบบงาน ด้านการ บริ ห ารงานบุ ค คล ด้ า นการบริ ห ารงานคลั ง และ งบประมาณและด้ า นการบริ ห ารงานพั ส ดุ พบว่ า สภาพการณ์บริหารงานโดยรวมทุกด้านมีการปฏิบัติอยู่ ในระดับดี ด้านที่มีการปฏิบัติดีที่สุด คือ ด้านโครงสร้าง และระบบงาน รองลงมาคือด้านการบริหารงานบุคคล ด้ า นบริ ห ารพั ส ดุ และด้ า นการบริ ห ารงานคลั ง และ งบ ป ระมาณ ปั ญ หาที่ พ บ คื อ ปั ญ หาก ารจั ด ท า แผนพั ฒ นาต าบล ปั ญ หาการปฏิ บั ติ งานตามบทบาท หน้าที่ ปัญหาการจัดเก็บรายได้ ปัญหาการจัดซื้อจัดจ้าง แนวทางแก้ไข ควรจัด ให้ บุคลากรไดด้ รับ ความรู้ความ เข้า ใจในบทบาทหน้ า ที่ ก ารปฏิ บั ติ งานการจั ด ประชา พิ จ ารรณ์ ความให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ว มในการจั ด ท า แผนพัฒนาตาบล พิชิต บุตรศรี (2546) ได้ศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิ บั ติ งานของบุ ค ลากรส านั กงานศึกษาธิ การจั งหวั ด เขตการศึกษา 9 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความ พึ งพอใจในการปฏิบั ติ งานโดยรวมเละรายด้ าน อยู่ใน ระดั บ มาก เมื่ อ พิ จ ารณาค่ า เฉลี่ ย ความพึ ง พอใจเรีย ง ตามล าดั บ จากมากไปหาน้ อ ย คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบ ความเป็ น ส่ ว นตั ว การบั ง คับ บั ญ ชา นโยบายและการ บริหาร ความมั่นคงในงาน ความก้าวหน้า ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล ความสาเร็จของงาน การยอมรับนับถือ ลักษณะของงาน เงินเดือน และสภาพการทางาน ศุธิษา ศรีสาองค์ (2548 :บทคัดย่อ) ศึกษาปัจจัยที่มี ความสาคัญต่อประสิทธิภาพการปฎิบัติงานของพนักงาน ของกลุ่มบริษัทที่เข้าร่วมโครงการสนับสนุนอุตสาหกรรม ชนบทในเขต อ าเภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ พบว่ า ปั จจัย ที่ มี ความสาคัญ ต่ อการปฎิบั ติ งาน ด้านลั กษณะ งานที่ปฎิบัติ ด้านความสาเร็จในการทางานของบุคคล ด้านความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในการทางาน ด้ า น การยอมรั บ นั บ ถื อ ด้ า น ต าแหน่ งงาน ด้ า น ความสั ม พั น ธ์ กั บ หั ว หน้ า งาน ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ใต้บังคับบัญชา ด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้าน ความมั่นคงในการปฎิบัติงาน ด้านสภาพการปฎิบัติงาน ด้านค่าตอบแทน พบว่า มีความสาคัญต่อ ประสิทธิภาพ การปฎิ บั ติ ง านของกลุ่ ม ที่ เข้ า ร่ว มโครงการสนั บ สนุ น อุตสาหกรรม ในเขตอาเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ อยู่ ในระดั บ ปานกลาง ปั จ จั ย ด้ า นการยอมรั บ นั บ ถื อ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน นโยบายและการบริหาร และด้านความมั่นคงในการปฎิบัติงานมีความสาคัญใน ระดับมาก และเห็นว่าปัจจัยด้านความก้าวหน้าในหน้าที่ การงานมีความสาคัญอยู่ในระดับน้อย และพนักงานที่มี สภาพและระดับการศึกษาต่างกันเห็นว่า ปัจจัยทุกด้าน ความสาคัญต่อการปฎิบัติงานไม่แตกต่างกัน 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษาถึงสภาพปัญหาการปฏิบัติงาน ของบุ ค ลากรองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 1.2.2 เพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาบุคลากร องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ อ าเภอเมื อ ง จังหวัดสมุทรสาคร 2. วิธีการศึกษา ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้ ก า ร เลื อ ก ตั ว อ ย่ า ง แ บ บ เจ า ะ จ ง (Purposive Sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มี ลั ก ษณะตามความต้ อ งการของผู้ วิ จั ย โดยเป็ น บุ ค คล
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
สาคั ญ ที่ ได้ ป ฏิ บั ติงานอยู่ในองค์การบริหารส่ วนตาบล คอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร รวมทั้งสิ้น 18 คน 2.1 ประชากรผู้ให้ข้อมูล ประชาชนผู้ให้ข้อมูล นายกองค์การบริหารส่วนตาบล รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล รองปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล สมาชิกสภาองค์การบริหารตาบล บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตาบลคอก กระบือ รวมทั้งสิ้น
จานวน 1คน 1คน 1คน 1คน 6คน 8 คน 18 คน
2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้ วิ ธี ก า ร ศึ ก ษ า เชิ ง คุ ณ ภ า พ ( Qualitative Independent Study) ใช้แบบสัมภาษณ์ เป็นคาถามที่ ผู้ วิ จั ย สร้ า งค าถามขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ เป็ น แนวทางในการ สัมภาษณ์ โดยแบบสัมภาษณ์ที่เตรียมไว้เป็นแนวคาถาม ที่กว้างๆ ซึ่งในขณะที่ทาการสัมภาษณ์ก็จะพยายามตั้ง คาถามขึ้นเสริม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะศึกษา เครื่องบันทึกเสียง โดยใช้ในกรณีที่ทาการสัมภาษณ์ ซึ่งผู้วิจัยคิดว่าเหมาะสมกับเหตุการณ์ และบริบทต่างๆ ในตอนนั้ น และเพื่ อ ให้ เหมาะสมกั บ การน ามาใช้ ใ น การศึกษาทบทวนข้อมูลที่ได้มาหรือเป็นแหล่งอ้างอิง 2.3 การตรวจสอบข้อมูล ผู้ วิ จั ย ได้ ต รวจสอบข้อ มู ล ก่ อนการวิ เคราะห์ ข้อมู ล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ว่าข้อมูลที่ได้นั้นเพียงพอหรือยัง ตรงตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้มากน้อยแค่ไหน โดยใช้วิธีการตรวจสอบข้อมู ล แบบสามเส้ า (Triangulation) เป็ น การใช้ ร ะเบี ย บ วิธีการวิจัยหลายอย่างในการศึกษา ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ส า ม เส้ า ด้ า น ข้ อ มู ล (Data Triangulation) เป็นการพิสูจน์ว่าข้อมูลที่ผู้วิจัยได้มานั้น
ถูกต้ องหรือไม่ วิธีการตรวจสอบข้อมู ล นั้ น ตรวจสอบ แหล่งที่มา 3 แหล่ง ได้แก่ เวลา สถานที่ และบุคคล 1. การตรวจสอบแหล่ ง เวลา ผู้ วิ จั ย ได้ ท ดลอง สัมภาษณ์ร่วมกับการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม กับ บุ คลากรในองค์การบริห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ โดยผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ แบบเดียวกัน ในช่วงเวลาที่ ต่างกัน จากการตรวจสอบข้อมุ ลที่ ได้ม าจากช่ วงเวลา ต่างๆนั้น ข้อมูลที่ได้เหมือนกัน 2. การตรวจสอบสถานที่ ผู้ วิ จั ย ได้ ท ดลอง สัมภาษณ์ร่วมกับการสังเกตอย่างมีส่ วนร่วมกับบุคลากร ในองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบื อ โดยผู้วิจัยใช้ แบบสัมภาษณ์ แบบเดี ยวกัน แต่สถานที่ ที่ต่างกัน จาก การตรวจสอบข้อมูลที่ได้มาจากสถานที่ต่างๆ นั้น ข้อมูล ที่ได้เหมือนกัน 3. การตรวจสอบบุคคล ผู้วิจัยทดลองให้ นางสาว ดาราวรรณ มีบริบูรณ์ (ผู้ร่วมวิจัย) ทดลองสัมภาษณ์กับ ผู้ วิ จั ย โดยใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ เดี ย วกั น ซึ่ ง จากการ สัมภาษณ์นั้นตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นั้น ข้อมูลที่ได้เหมือนกัน การตรวจสอบสามเส้าด้านทฤษฎี (Theory Triangulation) คือ การตรวจสอบว่าผู้วิจัยสามารถ ใช้ แ นวคิ ด ทฤษฎี ที่ ต่ า งไปจากเดิ ม ตี ค วามข้ อ มู ล แตกต่างกันมากน้อยเพียงใด 2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึ ก ษาสภาพปั ญ หาและแนวทางการพั ฒ นา บุคลากรองค์การบริการส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอ เมือง จังหวัดสมุทรสาคร ผู้วิจัยใช้เทคนิคในการจัดเก็บ ข้อมูลเป็นแบบผสมผสานตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยู่ กับ สถานการณ์ และปั จ จั ย ที่ เกี่ย วข้ อง โดยการใช้ การ สัมภาษณ์สอบถามแบบเชิงลึก ที่มีหัวข้อเรื่องที่สามารถ ให้ ค าตอบตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการศึ ก ษาวิ จั ย โดย ประเด็นของการสนทนาจะมีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน ก่อนแล้ว และการเก็บข้อมูลจะไม่มีการกาหนดเงื่อนไข ของเวลา แต่จะคานึงถึงเรื่องของคาตอบที่จะต้องให้ได้ ความชัดเจนในแต่ละประเด็นที่กาหนดไว้
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
ประเด็ น ส าคัญ ที่ ผู้ วิจั ย หรือผู้ สั ม ภาษณ์ ต้ องคานึ ง และพึงระลึงอยู่เสมอในการวิจัยและสัมภาษณ์ คือ 1. จะต้องเป็นผู้ฟังที่ดีและเปิดโอกาสให้ผู้ให้ข้อมูล ได้พูดอย่างอิสระ 2. ไม่วิจารณ์การปฏิบัติงานของบุคลากรใน องค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ 3. ไม่โต้เถียงกับผู้ให้ข้อมูล 4. เข้าใจในคาถามที่เตรียมไว้ เพื่อเตรียมตัวใน การเก็บข้อมูล ซึ่งจะได้มาจากการสังเกต 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล นาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ อยู่ในรูป ของข้อความที่ ได้ จากการบั น ทึ กและอัด เสีย ง สัมภาษณ์จากบุคคลที่มีบทบาทสาคัญต่อสภาพปัญหา และแนวทางการพั ฒ นาบุ คลากรองค์การบริห ารส่ ว น ตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. จาแนกประเภทข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มา เชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับสภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนาบุคลากร 2. แนวทางการพัฒนาบุคลากรองค์การบริหาร ส่วนตาบลคอกกระบือ สรุปสาระสาคัญที่เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้ง นี้ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อนามาพัฒนาบุคลากร ในองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ 3. ผลการศึกษา การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนา บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอ เมือง จังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ สภาพปัญหาในด้านการ ปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านสภาพแวดล้อมในที่ทางาน และด้ านความสั ม พั น ธ์กับ เพื่ อนร่วมงาน ตลอดจนน า สภาพปั ญ หามาแก้ ไขเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรในองค์ ก าร บริหารส่วนตาบลคอกกระบือ ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิง คุ ณ ภ า พ (Qualitative Independent Study) ซึ่ ง ปรากฏผลวิจัยตามรายละเอียด ดังนี้
สภาพปั ญ หาและแนวทางการพั ฒ นาบุ ค ลากร องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคอกกระบื อ อ าเภอเมื อ ง จังหวัดสมุทรสาคร 1. ด้านการปฏิบัติงานของบุคลากร ขาด ความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ซึ่งปัญหานี้เกิดจาก บุ ค ลากรไม่ มี ค วามรู้ ความสามารถในการปฏิบั ติ งาน ขาดความเข้าใจในการทางาน เนื่องจากบุคลากรที่รับเข้า มาปฏิบั ติงานส่วนมากเป็ น การฝากเข้ามาทางาน โดย ไม่ได้มาจากการคัดเลือก เพื่อมาปฏิบัติงานในตาแหน่ง นั้นๆ จึงทาให้องค์กรขาดบุคลากรที่มีความสามารถ ร่วม ไปถึงขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน และยังส่งผลไป ถึงบุคลากรขาดความร่วมมือร่วมใจ ในการประสานงาน ที่ดี และบุ คลากรในองค์กรไม่มี อานาจหน้าที่ ตัด สินใจ โดยตรงในการแก้ปัญหา เนื่องด้วยปัญหาบางประการ ก็ ต้ อ งรอมติ จ ากที่ ป ระชุ ม แนวทางแก้ ไข คื อ จากการ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ได้เสนอ แนวทางในการพัฒนาบุคลากร ดังต่อไปนี้ - ผู้บริหารจะต้องเข้ามามีบทบาทสาคัญใน การประสานความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับบุคลากร ให้ มีการร่วมมื อร่วมใจในการปฏิบั ติงาน ไม่ แบ่ งพรรค แบ่งพวกกัน - อาจจะมีการจัดสัมมนาให้บุคลากรได้ทากิจกกรม ร่วมกันเพื่อสานความสัมพันธ์อันดี - ส่งให้บุคลากรได้ไปฝึกอบรมการปฏิบัติงาน เฉพาะทางตามหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบอยู่ เพื่อจะได้ นาความรู้มาพัฒนาตัวเอง และพัฒนาองค์กร 2. ด้านความร่วมมือของบุคลากร ปั ญ หาด้ า นความร่ว มมื อ ของบุ ค ลากรและประชาชน พบว่า ประชาชนยังไม่ค่อยเข้าใจระบบการปฏิบัติงาน ขององค์การบริหารส่วนตาบลอย่า งแท้จริง มองว่าการ ท างานของบุ คลากรในองค์กรเป็ น การปฏิบั ติ งานเพื่ อ แสวงหาผลประโยชน์ แต่ไม่ได้เข้าใจระบบการทางาน ขององค์ ก รอย่ า งแท้ จ ริง ว่ า การปฏิ บั ติ ง านหรือ แก้ไ ข ปัญหาต่างๆให้แก่ประชาชนนั้น ต้องมีการประชุมหาลือ ในองค์กรหรือหน่วยงานก่อน เพื่อให้ได้ข้อสรุปและทา
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
การของบประมาณเข้ามาช่ วยเหลื อ แต่ กับ ถูกมองว่ า ท างานล่ า ช้ า แต่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว บุ ค ลากรยิ น ดี ช่ ว ยเหลื อ ประชาชนทุกคนในพื้นที่อยู่แล้ว แต่ต้องนาเรื่องเสนอแก่ ผู้บริหารก่อน เพื่อของบประมาณลงมาแก้ไขปัญ หาให้ และบุคลากรในองค์กรกับประชาชนขาดการประสาน ความร่วมมือที่ดีซึ่งกันและกัน แนวทางแก้ไขปัญหา คือ จากการสัมภาษณ์ได้รับแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ - ต้องมีการปรับทักษะคติของประชาชนให้เข้าใจ การปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กร เช่นอาจจะมีการ จัดทาคู่มือให้ความรู้ หรืออาจจะมีการลงพื้นที่พูดคุย ทา ความเข้าใจกับประชาชน 3. ด้านสถานที่ปฏิบัติงานและเทคโนโลยี ปั ญ หาด้ า นสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านและเทคโนโลยี พบว่ า สถานที่ในการปฏิบัติงานขององค์กรมีสภาพความเป็นอยู่ ที่ดี วัสดุอุปกรณ์ในสานักงานเพียงพอต่อการใช้งานของ บุ ค ลากรในองค์ ก ร ขาดแต่ เทคโนโลยี ที่ ยั ง ไม่ มี ค วาม ทันสมัย เช่น เครื่องสแกนนิ้วมือ ยังไม่มีใช้ในองค์กร ซึ่ง ยังเป็ น ระบบการเซ็ น ต์ ชื่ ออยู่ จึ งท าให้ บ างครั้งการมา ทางานของบุคลากรจึงมาสาย และกลับบ้านไว ส่งผลทา ให้การปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบล ขาดประสิทธิภาพ ขาดความร่วมมือที่ดี แนวทางแก้ไข คื อ จากการสั ม ภาษณ์ ได้ รั บ แนวทางการพั ฒ นา ดังต่อไปนี้ - จัดให้มีการซื้อเครือ่ งสแกนนิ้ว เพื่อจะได้มีความ ทั น สมั ย และยั ง สามารถท าให้ บุ ค ลากรไม่ ส ามารถ เซ็นต์ชื่อให้กันได้ เพราะการสแกนนิ้วจะทาให้บุคลากรมี ความตื่นตัวที่จะมาทางานให้ไวขึ้น - ควรจะใช้สื่อLine สื่อFacebook เข้ามาช่วยใน การปฏิ บั ติ งานของบุ คลากรในองค์ก รและประชาชน เพื่อให้ได้รับข่าวสารจากองค์กร อย่างรวดเร็วกว่าการรอ รับจดหมายที่ส่งมาทางไปรษณี 4. อภิปรายผล ผลการศึกษาสภาพปัญ หาและแนวทางการพั ฒ นา บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบลคอกกระบือ อาเภอ
เมือง จังหวัดสมุทรสาคร ในแต่ละด้าน มีประเด็นนามา อภิปรายผลการวิจัยดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติงานของบุคลากร พบว่า ผู้บ ริหารจะต้องเข้ามามีบทบาทสาคัญในการประสาน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์กร เช่น จัดสัมมนา อย่างน้อย ปีละ1 ครั้ง เพื่อประสานความสัมพันธ์อันดี กับ บุคลากรในองค์กร และผู้บ ริหารจะต้ องส่งเสริมให้ บุคลากรที่มีความรู้น้อยไป จะต้องมีการส่งไปฝึกอบรม ให้ท างานได้ อย่ างมี ความกระตื อรือร้น มากขึ้น ร่วมถึง จัดระบบโครงสร้างการคัดสรรคนเข้ามาปฏิบั ติงานใน องค์ก ร เสี ย ใหม่ ความคิ ด เห็ น ของผู้ วิจั ย ในประเด็ น นี้ สอดคล้องกับ การศึกษาของ อภัส นั น ท์ นิ ธิวุฒิ ว รรักษ์ (2549) ศึ กษ าเรื่ อ ง ปั ญ ห าแล ะอุ ป ส รรค ใน ก าร บริหารงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จังหวัด ชลบุรี พบว่า มีปัญหาด้านโครงสร้างขององค์กรมากทีส่ ดุ รองลงมาคือ ด้ า นการเงิ น และงบประมาณ ส่ ว นด้ า น เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ มี ปั ญ หาน้ อ ยที่ สุ ด ส าหรั บ แนวทางแก้ไขปัญ หาและอุปสรรค์ในการบริหารงานที่ สาคัญ คือให้มีการสารวจแบ่งงานในแต่ละกองและจัด คนให้เข้าทางานให้ตรงตามความรู้ความสามารถ ให้ มี ความเหมาะสมยิ่งขึ้น จักสรรงบประมาณให้คุ้มค่าและ เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง สร้างจิตสานึก และมีการฝึกอบรมให้ข้าราชการและพนักงานจ้างตาม หลักธรรมาภิบาล และการศึกษาของ วนิดา พุฒพิมพ์ (2546) ศึกษาสภาพการณ์และปัญหาในการบริ หารงาน ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลวาริ น ช าราบ จั ง หวั ด อุบลราชธานี พบว่า สภาพการณ์บริหารงานโดยรวมทุก ด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับดี ด้านที่มีการปฏิบัติดีที่สุด คือ ด้านโครงสร้างและระบบงาน รองลงมาคือด้านการ บริ ห ารงานบุ ค คลด้ า นบริ ห ารพั ส ดุ และด้ า นการ บริหารงานคลังและงบประมาณ ปัญหาที่พบคือ ปัญหา การจัดทาแผนพัฒนาตาบล ปัญหาการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้ า ที่ ปั ญ หาการจั ด เก็ บ รายได้ ปั ญ หาการ จัด ซื้ อจัด จ้ าง แนวทางแก้ไข ควรจัด ให้ บุ คลากรได้ รับ ความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่การปฏิบัติงานการ
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
จัดประชาพิจารรณ์ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ จัดทาแผนพัฒนาตาบล 2. ด้านความร่วมมือของบุคลากร พบว่า ต้องมีการปรับทักษะคติของประชาชนให้เข้าใจ การปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรในองค์ ก ร เช่ น ลงพื้ น ที่ พู ด คุ ย พบปะประชาชน หรือจัด ท าคู่มื อแจกจ่ ายการ ทางานระหว่างบุคลากรกับประชาชน ทาความเข้าใจกับ ประชาชนให้เข้าใจการทางานของบุคลากรว่ า เราไม่ได้ ทางานล่าช้า แต่ด้วยปัญหาที่ประชาชนแจ้งมานั้น เราไม่ สามารถที่ จ ะแก้ไขให้ ได้ อย่ างรวดเร็วตามที่ ป ระชาชน เรียกร้อง เพราะการที่เราจะแก้ปัญหาได้นั้น เราจะต้อง น าเรื่ อ งเข้ า ที่ ป ระชุ ม เสี ย ก่ อ น เพื่ อ ด าเนิ น การขอ งบประมาณจากส่วนราชการมาแก้ปัญหา ความคิดเห็น ของผู้ วิ จั ย ในประเด็ น นี้ สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาของ กาญจนา ทับทิบทอง (2551) ได้ศึกษาความคิดเห็น ของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริการ ส่ ว น ต า บ ล วั ง น้ อ ย อ า เภ อ วั ง น้ อ ย จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุ ธ ยา พบว่ า ประชาชนที่ ม าใช้ บ ริการมี ความคิดเห็นต่อการให้บริการขององค์กการบริหารส่ วน ตาบลวังน้อย โดยรวมเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก คือ ด้าน สิ่งอานวยความสะดวก ด้านอาคาร สถานที่ และด้าน ประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ ให้ บ ริ ก าร ส่ ว นด้ า นพนั ก งานผู้ ให้บริการ และด้านความรวดเร็วที่ให้บริการประชาชนมี ความคิ ด เห็ น ต่ อ การให้ บ ริก ารโดยรวมเห็ น ด้ ว ยอยู่ ใน ระดับปานกลาง 3. ด้านสถานที่ปฏิบัติงานและเทคโนโลยี พบว่า ควรจัดให้มีการซื้อเครื่องสแกนนิ้วมือ จัดให้องค์กรใช้สื่อ ท างLine และสื่ อ ท างFacebook เป็ น ช่ อ งท างให้ บุ ค ลากรและประชาชนได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ รวดเร็ ว ความ คิดเห็นของผู้วิจัยในประเด็นนี้ สอดคล้องกับการศึกษา ของ ทัศนีย์ ชัยพัฒ น์ (2546) ทาการวิจัยเรื่อง ปัญ หา และแนวทางแก้ไขระบบการกากับ ดูแลผู้เสียภาษีของ สานั กงานกรมสรรพกรจังหวัด ชลบุรีพบว่า บุคลากรมี ความสาคัญมากที่สุด ในประเด็นความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ก ารท างาน แต่ ผู้ ป ฏิ บั ติ มี ค วาม พยายามที่จะพัฒนาตนเองและความมุ่งมั่นในการทางาน
อย่ า งเต็ ม ที่ ฉะนั้ น การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจึ ง เป็ น สิ่งจาเป็นที่จะส่งผลต่อศักยภาพและความเชื่อมั่นในการ ปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ การมี วั ส ดุ อุ ป กรณ์ และ งบประมาณที่เพียงพอกับทั้งแนวปฏิบัติที่ชัดเจนและให้ ความคุ้มครองเจ้าหน้าที่จะเป็นการเสริมสร้างศักษภาพ ในการปฏิบั ติ งานของที ม กากับ ดู แ ล ให้ ป ฏิ บั ติ งานให้ สั ม ฤทธิ์ ผ ลตามนโยบายของกรมสรรพากรอย่ า งเป็ น รูปธรรม 5. กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ รศ.ดร. เพ็ญศรี ฉิรินัง กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ(ภายนอก) อาจารย์ที่ปรึกษาดร.ราเชนทร์ นพณั ฐ วงศวร และดร.ณั ฐ นริ น ทร์ เนี ย มประดิ ษ ฐ์ ที่ ช่วยเหลือในการวิจัยครั้งนี้ จนงานวิจัยสารนิพนธ์ฉบับนี้ สาเร็จ และ ขอขอบพระคุณ นายกองค์การบริหารส่วน ตาบลคอกกระบือ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตลอดจนพนักงานและเจ้าหน้าที่ ที่ให้ความอนุเคราะห์ ในการให้ข้อมูล ช่วยเหลือผู้วิจัยอย่างดี 6. เอกสารอ้างอิง [1] สุคนธรัตน์ เถาสุวรรณ์. ประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของข้าราชการ ลูกจ้างประจา และ พนักงานจ้างขององค์การบริหารส่วนจังหวัด [2] พนิตตา นรสิงห์. ความพึงพอใจของประชาชนที่มี ต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบล สนามจันทร์ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครองส่วนท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราช ภัฎนครปฐม,2552. [3] วนิดา พุฒพิมพ์. สภาพการณ์และปัญหาในการ บริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอ วารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญาโท รัฐ ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2546. [4] Cityvariety. องค์การบริการส่วนตาบลคอก กระบือ. 2556. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2558. จากhttp://www.khokkrabue.go.th/frontpage
การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2559 ครั้งที่ 3 The 3rd SAU National Interdisciplinary Conference 2016
[5] อภัสนันท์ นิธิวุฒิวรรักษ์. ปัญหาและอุปสรรค์ใน การบริหารงานขององคค์การบริหารส่วนจังหวัด ชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัย การบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัย บูรพา,2549 [6] พิชิต บุตรศรีสวย.ความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรสานักงานศึกษาธิการ จังหวัดเขตการศึกษา 9 วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษ สานักงานบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฎเลย, 2546.
ประวัติผู้เขียนบทความ นางสาวศิรัญญา เสือคง ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2554 ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ สาขาโฆษณา มหาวิทยาลัยสยาม พ.ศ. 2559 ระดับปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณะสาหรับ ผู้บริหารยุคใหม่ มหาวิทยาลัยเอเชีย อาคเนย์ ปัจจุบันประกอบธุรกิจส่วนตัว