Risk Management การบริหารความเสี่ยงห้องปฏิบัติการ - สภาเทคนิคการ

ประเด็นพิจารณา จัดเก็บ ทําลายตัวอย่างหลังวิเคราะห์. • วิธีการ ระยะเวลา จัดเก็บตัวอย่าง หลังวิเคราะห์. • วิธีแยกขยะ สารเคมีของมีคม ขยะติดเชื้อ. • คู่มื...

123 downloads 621 Views 3MB Size
Risk Management การบริหารความเสีย่ งห้องปฏิบตั กิ าร นัยนา วัฒนศรี ประธานอนุ กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ สภาเทคนิ คการแพทย์

Risk = ความเสีย่ ง, ภัย Risk – the chance of suffering or encountering harm or loss (Webster's Dictionary and Thesaurus. Ashland, OH: Landall, Inc.; 1993). Risk can be estimated through a combination of the probability of occurrence of harm and the severity of that harm (ISO/IEC Guide 51). Risk, essentially, is the potential for an error to occur that could lead to patient/staff harm. Risk – Combination of the likelihood of an occurrence of a hazardous event or exposure(s) and the severity of injury or ill health that may be caused by the event or exposure(s) ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

2

Hazard = อันตราย การเสีย่ งอันตราย HAZARD “Source or situation or act with a potential for harm in terms of human injury or ill health or a combination of these” e.g. - Toxic or flammable substances, electric energy, working at heights etc. Likelihood that a hazard will cause a specific harm or injury to person or damage property (MOM) Risk means the chance that someone will be harmed by the hazard ทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘ Risk = Hazard effect XลิขสิProbability (likelihood of Occurrence)

3

Occurence = สิง่ ที่เกิดขึ้น เหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น Incidence = อุบตั กิ ารณ์ Biohazard = อันตรายจากการติดเชื้อโรค Biosafety = ความปลอดภัยทางชีวภาพ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

4

ความเสีย่ ง “มองหา” “มองเห็น” “มองเป็ น” “มองเว้ น” “มองตาม”

ความเสีย่ ง เริ่มมองหา...มองให้ เห็น อะไรคือ “ความเสี่ยง” วิเคราะห์ ความถี่ ..ผลกระทบ..แนวโน้ ม กําหนด เป็ นประเด็นที่ต้อง ลดอุบัตกิ ารณ์ ติดตามต่ อเนื่อง วางแผนบริหารจัดการ ความเสี่ยง กําหนดการแก้ ไขเบือ้ งต้ น วิเคราะห์ สาเหตุท่ แี ท้ จริง กําหนดปฏิบัตกิ ารแก้ ไข ปฏิบัตกิ ารป้องกัน

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

7

ไม่เห็นเสีย่ งเลย!!!!

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

8

มิตคิ วามเสีย่ ง         

กายภาพ : อาคาร สถานที่ พื้นที่ปฏิบตั กิ าร การไหลเวียนอากาศ สภาวะแวดล้อม : ความร้อน แสง เสียง ความชื้น แรงสันสะเทื ่ อน อัคคีภยั นํ้ ายา สารเคมี : ไอระเหย กลิ่น ตัวอย่างส่งตรวจ : ปนเปื้ อน รัว่ ไหล ฟุ้ งในอากาศ กระเด็น ตกแตก จุลชีพ : แบคทีเรีย ไวรัส มด แมลงวัน ยุง แมลงสาบ หนู จิ้งจก ตุก๊ แก ข้อมูล ความลับผูป้ ่วย เอกสาร บันทึก ข้อมูลในระบบสารสนเทศ

เทคนิ คในการมองหา..ความเสีย่ ง o o o o o o

เพิม่ ..ความช่างสังเกต หาเรื่อง ??? มองหา ส่วนเกิน / ส่วนขาด / ส่วนผิด จากระบบปกติ ใช้เครื่องมือ..ตัวช่วย วัดหาความผิดปกติ (ในบางกรณี ) วิเคราะห์ตามหลักวิชาการ เหตุผล ความน่ าจะเป็ น มองเลยไปให้เห็นภัย – ความเสีย่ ง (ยังไม่เกิด แต่ถา้ เกิด..) หาข้อมูล เพิม่ เติม ยืนยันเหตุเคยเกิดหรือเป็ นความเสีย่ ง

ประเด็นพิจารณา โครงสร้ าง อาคาร สถานที่

ความแข็งแรง โครงสร้างอาคาร ระบบ นํ้ าดี นํ้ าเสีย ไฟฟ้ า การเข้าถึง พื้นที่ ปฏิบตั กิ าร พื้นที่กว้างพอสําหรับการปฏิบตั งิ าน ความเสีย่ งในการเดิน ขึ้น ลง จราจรในการทํางาน การจัดวางเครื่องมือ

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

11

ประเด็นพิจารณา การไหลเวียนอากาศ • • • • •

ทิศทางไหลเวียนอากาศ ดูจากริบบิ้น สงสัยจุดธูปถาม? จากสะอาด ไปปนเปื้ อน ? กลิ่น สียอ้ ม สารเคมี หรือ สิง่ ส่งตรวจ การระบายอากาศออกภายนอก งานที่อยู่ใกล้เคียง ? เครื่องฟอกอากาศ ช่วยได้จริงหรือ ?

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

12

ประเด็นพิจารณา แสง เสียง แรงสันสะเทื ่ อน • แสงสว่าง มาก / น้อย เกินไป • สายไฟ ปลัก๊ เพียงพอ – เหมาะสมหรับเครื่องมือ ถ้าเครื่องมือใช้กาํ ลังไฟฟ้ า สูง ต้องเดินสายเฉพาะเครื่อง ขนาดสายไฟต้องเหมาะสม • สายไฟไม่เกะกะ บนทางเดิน • มีระบบสายดิน • มีระบบไฟฟ้ าสํารอง ของเครื่องมือสําคัญ • มีระบบไฟฟ้ าฉุกเฉิ น มีระบบปรับแรงดันไฟให้สมํา่ เสมอ • เสียงดังไม่เกิน ไม่ดงั ต่อเนื่ อง • ไม่มีแรงสัน่ สะเทือนที่จะมีผลกระทบต่อปฏิกริ ยิ า ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

13

ประเด็นพิจารณา - สารเคมี วัสดุ นํ้ ายา • • • • •

การชี้บ่ง วัสดุ นํ้ ายา สารเคมี ครบถ้วน (รวมถึงที่จดั แบ่งใช้) อ่านฉลากชี้บ่ง ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด จัดเก็บ ในสภาวะ ตามที่ผูผ้ ลิตกําหนด จัดเรียง ตามหลัก First Expired First Out - FEFO มีวธิ กี าร ทําลาย waste

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

14

ประเด็นพิจารณา อัคคีภยั อุทกภัย • • • • •

แผนซ้อมรับอัคคีภยั อุทกภัย วาตภัย อุบตั เิ หตุหมู่ อุปกรณ์ ดับเพลิง เหมาะสมกับห้องปฏิบตั กิ าร ผูป้ ฏิบตั งิ านได้รบั การฝึ กอบรม ซ้อมปฏิบตั ิ สมํา่ เสมอ ป้ ายทิศทางหนี ไฟ ปลัก๊ สายไฟ อยู่ในระดับที่เหมาะสม

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

15

ประเด็นพิจารณา สถานที่จดั เก็บเสมหะ • • • • • •

ตัง้ อยู่ในพื้นที่ท่เี หมาะสม ไม่ไกล /ใกล้จากจุดบริการ ป้ ายชี้บ่งชัดเจน ทิศทางการไหลเวียนอากาศ อุปกรณ์ ทําความสะอาด เพียงพอ เหมาะสม มีวธิ กี ารจัดเก็บตัวอย่าง การดูแล รักษาพื้นที่ สมํา่ เสมอ

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

16

ประเด็นพิจารณา จุดรับตัวอย่าง • • • • • •

ไม่อยู่ในพื้นที่ปฏิบตั กิ าร ป้ ายชี้บ่งชัดเจน แยกภาชนะรับ ใบสัง่ ตรวจ กับ ตัวอย่างตรวจ มีถาดรองรับ เจ้าหน้าที่รบั / ปฏิเสธ ตัวอย่าง ชุด Spill kit เตรียมจัดเก็บตัวอย่างกรณี อบุ ตั เิ หตุ หก ตกแตก คู่มือความปลอดภัย

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

17

ประเด็นพิจารณา จัดเก็บ ทําลายตัวอย่างหลังวิเคราะห์ • • • • • •

วิธกี าร ระยะเวลา จัดเก็บตัวอย่างหลังวิเคราะห์ วิธแี ยกขยะ สารเคมี ของมีคม ขยะติดเชื้อ คู่มือความปลอดภัย เส้นทาง ขนส่งขยะจากห้องปฏิบตั กิ าร ความถี่ในการจัดเก็บ จุดพักขยะ กระบวนการทําลาย (จ้างเหมาช่วง มีการติดตามตรวจสอบ)

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

18

ประเด็นพิจารณา มด แมลงวัน ยุง จิ้งจก ตุก๊ แก หนู ฯลฯ • แหล่ง – เส้นทางเดิน – ช่องทางเข้าห้องปฏิบตั กิ าร • เป็ นพาหะนํ าโรคแพร่กระจายไปภายนอก • วิธกี ารป้ องกัน

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

19

ประเด็นพิจารณา ข้อมูล เอกสาร บันทึก • • • •

วิธกี าร ควบคุมการเข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง ทําลาย กําหนดผูม้ ีอาํ นาจ / หน้าที่ เหมาะสม บันทึก การเปลี่ยนแปลง แก้ไข ใช้ ทําลาย การคัดลอก ถ่ายโอนข้อมูล

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

20

ความเสีย่ งในเรือ่ งบุคลากร • • • • • •

คุณวุฒิ ไม่ถกู ต้องเหมาะสม ขาดความรู ้ ในสิง่ ที่ตอ้ งทํา ประสบการณ์ ไม่เพียงพอ ขาดความชํานาญในงาน ความถี่ถว้ นรอบคอบ สุขภาพ

• ขาด “ความตระหนัก” ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

21

BIOHAZARD หมายถึง สาร / จุลชีพ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพมนุ ษย์ เช่น เชื้อจุลชีพ TOXIN, ALLERGENS จากจุลชีพ พิษจากพืชหรือสัตว์

• ผูป้ ่ วย

ผลกระทบจากความผิดพลาด

ไม่ได้รบั การรักษาที่ถกู ต้อง ทันการณ์ คดี - ฟ้ องร้อง

• ผูใ้ ช้บริการ ความเชื่อมัน่ ในผลจากห้องปฏิบตั กิ าร

• ผูป้ ฏิบตั งิ าน อันตรายต่อตัวผูป้ ฏิบตั งิ าน ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ สูญเสียความมัน่ ใจในการทํางาน ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

สิง่ แวดล้อม

ในห้องปฏิบตั กิ าร ภายนอก ชุมชน

23

กระบวนการติดตาม วิเคราะห์ ความเสี่ ยง

ข้อมูลความเสีย่ ง..มาจากไหน • • • •

วิเคราะห์จากกระบวนการทํางานหลัก ขัน้ ตอนการทํางานที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (ปัจจัยนํ าเข้า ปัจจัยควบคุม ปัจจัยนํ าออก) เก็บรวบรวมข้อมูล – บันทึกอุบตั กิ ารณ์ – บันทึกข้อร้องเรียน – ข้อมูลสถิติ

วิเคราะห์ สาเหตุท่แี ท้จริง

วิเคราะห์ความเสีย่ งจากการทํางาน โครงสร้าง องค์กร

ขั้นตอนก่ อน วิเคราะห์

ทรัพยากร พื้นฐาน

ขั้นตอน วิเคราะห์

ทรัพยากร นํ าเข้า

ขั้นตอนหลัง วิเคราะห์

ผูร้ บั บริการ

ข้อมูล

ของเหลือ

ตัวอย่างวิเคราะห์ความเสีย่ งจากงานภูมิคมุ ้ กันฯ โครงสร้ าง

•ห้ องปฏิบัตก ิ าร •พืน ้ ที่

•ระบบไฟ-นํา้

ก่ อนวิเคราะห์ •เตรี ยมผู้ป่วย •เก็บตัวอย่ าง

•ผู้วเิ คราะห์

•เครื่ องมืออัตโนมัติ •วัสดุ อุปกรณ◌์

ทรั พยากรนําเข้ า •ชุดนํา้ ยา

•สารควบคุม

•ตัวอย่ างวิเคราะห์

•วิธีส่งรายงาน

•นําส่ ง

•เตรี ยมตัวอย่ าง

ทรั พยากรพื้นฐาน

ผู้รับบริการ

วิเคราะห์ •เทคนิค

•เครื่ องมือพร้ อมใช้ งาน

ข้ อมูล

•บันทึก สําเนา

•ระยะเวลาจัดเก็บ

•ควบคุมคุณภาพ

หลังวิเคราะห์

ของเหลือ

•แปลผล

•เลือด นํา้ เหลือง

•ตรวจสอบ

•ขยะ

•รายงานผล

•นํา้ ยาสารเคมี

ตัวอย่ างความเสี่ ยงจากงานเซลล์ วทิ ยาฯรายงานผลผิด

เดือนละ4-6 ครั ง้

Slide แตก

เดือานละ โครงสร้ ง 1-2 ครั ง้ •ห้ องคับแคบ •โต๊ ะไม้

•ระบบไฟ-นํา้

ทรั พยากรพื้นฐาน •ผู้วเิ คราะห์

•เครื่ องมืออัตโนมัติ •วัสดุ อุปกรณ◌์

ทรั พยากรนําเข้ า •ชุดนํา้ ยา

•สารควบคุม

•ตัวอย่ างวิเคราะห์

ก่ อนวิเคราะห์ •เตรี ยมผู้ป่วย •เก็บตัวอย่ าง •นําส่ ง

•เตรี ยมตัวอย่ าง

•วิธีส่งรายงาน

สลับตัวอย่ าง 2 ครั ง้

วิเคราะห์ •เทคนิค

ผู้รับบริการ

•เครื่ องมือพร้ อมใช้ งาน เครื่ องมือเสีย

ข้ อมูล

•บันทึก สําเนา

•ระยะเวลาจัดเก็บ

•ควบคุมคุณภาพ

หลังวิเคราะห์

ของเหลือ

•แปลผล

•ชิน ้ เนือ้ Slides

•ตรวจสอบ

•ขยะ

•รายงานผล

•นํา้ ยาสารเคมี

ตัวอย่างการเก็บข้อมูลอุบตั กิ ารณ์ ปัญหา ข้ อบกพร่ อง ♦ เก็บตัวอย่ างจากอําเภอส่ ง slide แตกระหว่ างขนส่ ง ♦ เครื่องมือเสี ย หยุดบริการ 2 สั ปดาห์ ♦ สลับตัวอย่ างในขั�นตอนชี�บ่ง ตัวอย่ าง ♦ ผล ควบคุมสี ย้อม ไม่ ตาม เกณฑ์ ♦ ส่ งรายงานผิดหน่ วยงาน

ข้ อมูลจาก บันทึกอุบัตกิ ารณ์ ตรวจรับ ตัวอย่ าง บันทึกซ่ อมเครื่องมือ การตรวจสอบผล Slide ควบคุมอ่ านผลไม่ ได้ ข้ อร้ องเรียนจากแพทย์

ขนาดความรุ นแรง/ ผลกระทบ

เดือนละ 1-2 ครั�ง ตัวอย่ างเสี ยหาย 20 ราย ปี ละ 1 ครั�ง ออกผลช้ า 60 ราย เดือนละ 1-2 ครั�ง ต้ องวิเคราะห์ ซํ�า 4 ราย เปลีย่ นผลิตภัณฑ์ สีย้อม สู ญเสี ย นํา� ยา เดือนละ 1 ครั�ง ผลล่ าช้ า ความลับผู้ป่วย

อุบตั กิ ารณ์/ความ แก้ไขเบื้องต้น เสีย่ ง

แบบบันทึกความถี่ต่อเดือน Wk 1

โครงสร้าง

ผูพ้ บเหตุทาํ อย่างไร

ทรัพยากรพื้นฐาน

นํ้ าฝนรัวจากฝ้ ่ า – ขน 1 / 2 บริการช้า ย้ายเครือ่ งมือ+แจ้งช่าง

Wk 2

Wk 3

Wk 4

จํานวน / ผลกระทบ 3 / 5 หยุดงานบริการ

ทรัพยากรนํ าเข้า ขัน้ ตอนก่อนวิเคราะห์ ขัน้ ตอนวิเคราะห์ ขัน้ ตอนหลังวิเคราะห์ ผูร้ บั บริการ ข้อมูล ของเหลือวิเคราะห์

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

30

ตัวอย่างแบบสรุปอุบตั กิ ารณ์ อุบตั กิ ารณ์ / ความ เสีย่ ง

แก้ไขเบื้องต้น

ความถี่ในการเกิด / เดือน

ผลกระทบ

แนวโน้ม

โครงสร้าง ทรัพยากรพื้นฐาน

นํ้ าฝนรัวจากฝ้ ่ า – ขนย้าย เครือ่ งมือ+แจ้งช่าง

4

เครือ่ งมือเสียหาย ผลกระทบระดับ 2 -5

เสียหายตลอดแนวฝ้ า

ทรัพยากรนํ าเข้า ขัน้ ตอนก่อนวิเคราะห์ ขัน้ ตอนวิเคราะห์

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

31

วิธปี ระเมินความถี่ของอุบตั กิ ารณ์ ระดับความถี่

ความถี่ของการเกิดอุบตั กิ ารณ์

นาน ๆ ครัง้ บ่อย บ่อยมาก

พบอุบตั กิ ารณ์ ประมาณ ปี ละครัง้ พบอุบตั กิ ารณ์ ทุกเดือน พบได้ทกุ สัปดาห์

32

ประเมินความรุนแรง - ผลกระทบ Clinic = ผลกระทบต่อผูป้ ่ วย เกรด A - I Non clinic พิจารณาจากผลกระทบต่อ  ระบบบริการ  ความปลอดภัย  ระยะเวลาบริการ  ทรัพยากร เกรด 1 - 5

33

Risk Matrix เพือ่ ประเมินระดับความรุนแรง นานๆ ครัง้ (1)

บ่อย(2)

บ่อยมาก(3)

A (1)

1

2

3

B (2)

2

4

6

C (3)

3

6

9

D (4)

4

8

12

E (5)

5

10

15

F (6)

6

12

18

G (7)

7

14

21

H (8)

8

16

24

I (9)

9

18

27

ผลกระทบ / ความถี่

34

กําหนด ระดับที่ตอ้ งมีปฏิบตั กิ ารแก้ไข High Risk

• มีความเสีย่ งในการเกิดอุบตั กิ ารณ์สูง High Volume

• มีความถี่เกิดอุบตั กิ ารณ์บ่อย High Impact

• ผลกระทบรุนแรง 35

วรรณิกา มโนรมณ์

36

ตัวอย่าง Process Mapping

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

37

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

38

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

39

แผนภูมิเหตุและผล ( cause effective diagram) (1)

วรรณิกา มโนรมณ์

40

ตัวอย่าง แนวคิดวิเคราะห์ RCA

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

41

ตัวอย่ างแผนภูมิเหตุและผล ในเรื่องเทคนิคการเจาะเลือดทีไ่ ม่ ถูกต้ อง (2)

วรรณิกา มโนรมณ์

42

การแก้ไข ป้องกัน • Correction การแก้ไขเบื้องต้นเฉพาะหน้า ระยะสัน้ เฉพาะ กรณี • Corrective Action ปฏิบตั กิ ารแก้ไข- แก้ไขที่ root cause ตรวจติดตามผล • Preventive Action การวางมาตรการป้ องกัน เพือ่ ไม่ให้เกิด เหตุอกี

ตัวอย่างการแก้ไขเบื้องต้น-Correction ออกรายงานผลผิด

 ตามรายงานผลฉบับเดิมกลับ  ออกรายงานผลฉบับใหม่แทน  บันทึก

Slide แตกบาดมือ

 บีบเลือดออก ทําความสะอาดแผล  ติดตามผล เลือดผูป้ ่ วย เฝ้ าระวังอาการ  บันทึก

ตัวอย่างปฏิบตั กิ ารแก้ไข-Corrective Action ออกรายงานผลผิด  วิเคราะห์สาเหตุ เกิดจากคน human error / ระบบงานSystemic error

 วิเคราะห์ความถี่และแนวโน้ม  วิเคราะห์ เกิดเป็ นระบบ Systemic หรือ ครัง้ คราว Random  วางแนวทางแก้ไข ติดตามการปฏิบตั ติ ามแนวทางทีก่ าํ หนด บันทึก  Slide แตกบาดมือ

- วิเคราะห์สาเหตุ เกิดจากคน human error / ระบบวัสดุไม่พอเพียง / สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม - ติดตามความถี่และแนวโน้ม - วางระบบป้ องกัน ติดตามการปฏิบตั ติ ามระบบ บันทึก

Preventive Action การป้ องกัน • กําหนดแผน / วิธีการ ดําเนิ นการก่อนเกิดเหตุ • ปรับเปลี่ยนตาม เวลา และปัจจัยเสีย่ ง • พิจารณาดําเนิ นการ ตามความรุนแรงของปัญหาที่จะเกิดขึ้น – High risk อันตรายมาก – High impact ผลกระทบมาก / รุนแรง – High volume ปริมาณมาก / ความถี่สูง

• ตรวจติดตาม / ระบบ ความพร้อมของการป้ องกัน • ติดตามอุบตั กิ ารณ์ลดลง / หมดไปหรือไม่?

การกําหนด แนวทางการป้ องกัน ได้ขอ้ มูลจาก • • • • •

ทบทวนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอุบตั กิ ารณ์ วิเคราะห์กระบวนการหลัก ควบคุมให้เป็ นไปตามวิชาการ ข้อมูลทางเทคโนโลยีท่กี า้ วหน้า ทันสมัย ประสบการณ์จากผูป้ ฏิบตั งิ าน แนวคิดจากที่ปรึกษา

กันไว้ดีกว่าแก้ ถ้าแย่จะแก้ไม่ทนั !!!

ตัวอย่าง การป้ องกัน จัดอบรมผูท้ าํ หน้าทีจ่ ดั เก็บตัวอย่างให้จดั เก็บ ชี้บง่ นําส่ง ให้ถูกต้อง วางระบบบันทึกข้อมูลให้เป็ นระบบ ระเบียบ เขียนวิธปี ฏิบตั ใิ ห้ชดั เจน ประเมินทรัพยากร เตรียมอุปกรณ์ จัดเก็บ spill kit เมือ่ มี slide ตกแตก ยกเลิกระบบการพิมพ์รายงานผลเข้าระบบฐานข้อมูลผูป้ ่ วย เปลีย่ นเป็ น scan ผล หรือใช้ระบบ LIS • ตรวจติดตามระบบความปลอดภัย เป็ นระยะๆ สมํา่ เสมอ

• • • • •

ป้ องกัน

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 1. องค์กรและการบริหาร • 1.1.2.9 กําหนดระบบ ควบคุม ป้ องกัน และติดตามความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ านและ ผูใ้ ช้บริการ • 1.1.2.10 กําหนดวิธีการปกป้ องข้อมูลที่เป็ นความลับของผูป้ ่ วย ตามจรรยาบรรณแห่ง วิชาชีพเทคนิ คการแพทย์ โดยระบุเป็ นนโยบาย และระเบียบปฏิบตั ิ ของห้องปฏิบตั กิ าร ครอบคลุมวิธีการ เข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง ทําลายข้อมูล รวมถึง การบันทึกและ รายงาน ด้วยวิธีพเิ ศษ เช่น เอดส์ สารเสพติด และคดี เป็ นต้น และครอบคลุมรายงานผลที่มา จากห้องปฏิบตั กิ ารรับส่งต่อ • 1.3.2 มีนโยบายในการตรวจติดตามระบบความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ าร ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

50

• 2. บุคลากร

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 2.1.2 บรรยายลักษณะงาน สําคัญ ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพงาน (job

description - JD) ระบุรายละเอียดในทุกสาขางานที่ให้บริการ กําหนด คุณสมบัตบิ คุ ลากร(job specification-JS) และกําหนดหน้าที่ของผูป้ ฏิบตั งิ าน (job assignment-JA) สอดคล้องกับคุณวุฒใิ นตําแหน่ งที่มีผลกระทบต่อ คุณภาพ เช่น เจาะเลือด ตรวจวิเคราะห์ ใช้เครื่องมือพิเศษ รายงานผล ตรวจสอบผล • 2.1.3 กําหนดผูม้ ีอาํ นาจเข้าถึงข้อมูลผูป้ ่ วย แก้ไขผล การทําลายข้อมูล ครอบคลุมข้อมูลในระบบระบบสารสนเทศและในงานบริการ • 2.1.4 มีการควบคุมดูแลผูม้ ีคณ ุ สมบัตไิ ม่ครบถ้วนตามคําบรรยายลักษณะงาน โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพที่มีความรูค้ วามชํานาญ ประสบการณ์ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

51

ระบบป้ องกัน ความเสีย่ ง ด้านบุคลากร ก่อนรับ

รับ

ทําแล้ ว

• กําหนด Job Specification • กําหนด Job Description • ปฐมนิ เทศ สอนทฤษฎี สอนปฏิบตั ิ • ประเมิน ความรู ้ ความสามารถ • ประเมิน ทักษะ Core Competency • • • •

ประเมิน Functional Competency ประเมิน Performance ฝึ กอบรมขณะประจําการ ฝึ กอบรม ศึกษาต่อเนื่ อง

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 2. บุคลากร

• 2.2.2.8 หัวหน้าห้องปฏิบตั กิ าร.. จัดให้มีระบบความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ าร ตาม ข้อกําหนดของห้องปฏิบตั กิ ารที่ดี และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • 2.3.1 กําหนดแผนการศึกษาต่อเนื่ อง และ/หรือแผนฝึ กอบรมขณะประจําการ หัวข้อการ ฝึ กอบรม ต้องครอบคลุม ...ระบบความปลอดภัย และการป้ องกันอุบตั ิภยั จรรยาบรรณ วิชาชีพ การรักษาความลับผูป้ ่ วย • 2.3.3 มีบนั ทึกบุคลากร ประกอบด้วย ใบประกอบวิชาชีพ ประวัตกิ ารศึกษา การอบรม ความสามารถเชิงวิชาชีพ หน้าที่ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ และคุณสมบัติ ที่ เหมาะสมในการปฏิบตั งิ าน ผลการประเมินสมรรถนะในการปฏิบตั งิ าน การอบรมเพิ่มเติม ต่อเนื่ อง รวมถึง ประวัตอิ บุ ตั เิ หตุจากการปฏิบตั งิ าน ประวัตกิ ารได้รบั วัคซีนและสถานะ ภูมิคมุ ้ กันโรค ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

53

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 3. เครื่องมือห้องปฏิบตั กิ าร

• ข้อสังเกต 6 : การเลือกใช้เครื่องมือต้องคํานึงถึงความประหยัดพลังงานและการทิ้ง เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ หรือของเสียจากกระบวนการตรวจวิเคราะห์ซ่ึงอาจมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคต • 3.1.1.8 มีการเก็บรักษาเครื่องมือให้อยู่ในสถานที่ท่เี หมาะสมและปลอดภัย มีระบบ ป้ องกันไฟฟ้ ารัว่ มีเครื่องจ่ายไฟฟ้ าสํารอง มีวิธีการป้ องกันเครื่องมือเสียหาย • 3.1.4 บันทึกครุภณั ฑ์ มีบนั ทึกความเสียหายบกพร่อง การดัดแปลงหรือการซ่อมบํารุง การใช้งาน • 3.1.5 การใช้คอมพิวเตอร์หรือเครื่องอัตโนมัติ ต้องมัน่ ใจว่าข้อมูลต้องมีความสมบูรณ์ มี ระบบป้ องกันความผิดพลาด และมีระบบป้ องกันการเข้าถึงข้อมูล ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

54

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 3. เครื่องมือห้องปฏิบตั กิ าร

• 3.2 นํ้ ายา และวัสดุ • : ต้องมีวิธีการ ตรวจรับ จัดเก็บ ควบคุมวัสดุคงคลัง • 3.2.4 มีการชี้บ่งวัสดุ เช่น นํ้ ายาตรวจวิเคราะห์ สารควบคุมคุณภาพ สารมาตรฐาน และ วัสดุ

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

55

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 5. การควบคุมกระบวนการ • 5.1 สถานที่ สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย

• : สถานที่ปฏิบตั งิ าน รวมถึง พื้นที่จดั เก็บตัวอย่าง พื้นที่ปฏิบตั งิ านทดสอบ พื้นที่

จัดเก็บเอกสาร พื้นที่พกั ซึ่งต้องควบคุม สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย ทัง้ ต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูร้ บั บริการ และผูเ้ กี่ยวข้อง การไหลเวียนของงาน ต้องคํานึ งถึง ความสะดวก ปลอดภัยไม่มีผลกระทบต่อระบบคุณภาพ ควรกําหนดเป็ นพื้นที่ ควบคุมการเข้าออกของบุคคลภายนอก

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

56

สถานที่ สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย (1) • พื้นที่ปฏิบตั งิ าน

5.1.1.1 จัดให้มีพ้ นื ที่ปฏิบตั งิ านพอเพียง สะดวกในการปฏิบตั งิ าน สภาวะ แวดล้อมเหมาะสม 5.1.1.2 มีสง่ิ อํานวยความสะดวกเพียงพอเพือ่ สนับสนุ นการปฏิบตั งิ านไม่ให้มี ผลกระทบต่อคุณภาพของกระบวนการตรวจวิเคราะห์ เช่น มีแหล่งพลังงาน/ กระแสไฟฟ้ า นํ้ า แสงสว่าง เสียง การระบายอากาศ ทิศทางการไหลเวียน อากาศ การควบคุมอุณหภูมิหอ้ ง 5.1.1.3 ควบคุมการเข้าออกและควบคุมการใช้พ้ นื ที่ซ่งึ มีผลกระทบต่อคุณภาพ 5.1.1.4 มีการออกแบบและ/หรือบริหารจัดการการไหลเวียนของงานเพือ่ ให้ ปฏิบตั งิ านได้อย่างสะดวก มีประสิทธิภาพและปลอดภัย โดยพิจารณาถึงความ เสีย่ งหรืออันตรายจากการปฏิบตั งิ าน ที่ผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูร้ บั บริการ และ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

57

สถานที่ สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย (2)

• 5.1.2 ติดตาม ควบคุม และบันทึก สภาวะแวดล้อมที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพ เช่น อุณหภูมิท่เี ก็บรักษาตัวอย่าง ความชื้น เสียง คลื่นความถี่ กระแสไฟฟ้ า เป็ นต้น • 5.1.3 กําหนดสถานที่ท่ใี ช้ในการจัดเก็บตัวอย่างให้เหมาะสม แยกออกจากส่วนปฏิบตั ิการตรวจ วิเคราะห์ เป็ นสัดส่วนเพื่อรักษาสิทธิของผูร้ บั บริการ สะดวกสําหรับผูป้ ่ วยหรือผูร้ บั บริการ ไม่มี ผลกระทบต่อคุณภาพของตัวอย่าง และการแพร่เชื้อ เช่น พื้นที่เจาะเลือด พื้นที่จดั เก็บเสมหะ พื้นที่ขูดเชื้อรา เป็ นต้น พื้นที่จดั เก็บตัวอย่างดังกล่าว ควรเตรียมอุปกรณ์ / เตรียมการ กรณี ฉุกเฉิ น • 5.1.4 มีสถานที่เก็บ สไลด์ บล็อคชิ้นเนื้ อ เชื้อจุลชีพ เครื่องมือ นํ้ ายาวิเคราะห์ วัสดุ วิทยาศาสตร์ เอกสาร ข้อมูล คู่มือ บันทึกคุณภาพและรายงาน • 5.1.5 มีการรักษาพื้นที่ปฏิบตั งิ านให้สะอาดเรียบร้อย อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

58

สถานที่ สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย (3)

• 5.1.6 มีวิธีจดั เก็บและทําลายสารอันตราย ขยะติดเชื้อจากห้องปฏิบตั ิการ มีชดุ จัดเก็บขยะ ติดเชื้อฉุกเฉิ น (spill kit) และมีวิธีการป้ องกันการติดเชื้อ การแพร่กระจายเชื้อในสิง่ แวดล้อม • 5.1.7 มีแนวทางการป้ องกันและระงับอัคคีภยั • 5.1.8 มีวิธีการแจ้งเหตุ หรือ แจ้งข้อมูลเพื่อการปฏิบตั งิ าน หรือเพื่อความปลอดภัย ภายใน ห้องปฏิบตั กิ าร อย่างมีประสิทธิภาพ • 5.1.9 มีคู่มือหรือแนวปฏิบตั ิ ความปลอดภัยทางห้องปฏิบตั กิ าร เกี่ยวกับการปฏิบตั ติ น ปลอดภัย การแก้ไข และป้ องกันอุบตั เิ หตุ การตรวจติดตามและการบันทึก มีการอบรม ให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัยทางห้องปฏิบตั กิ ารให้กบั บุคลากรทุกระดับ รวมทัง้ การปฐมนิ เทศ บุคลากรเข้าปฏิบตั งิ านใหม่ และ/หรือ นักศึกษาฝึ กงาน • 5.1.10 มีกจิ กรรมการตรวจติดตามระบบความปลอดภัยทางห้องปฏิบตั ิการ อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ มีบนั ทึกและรายงานผลต่อผูบ้ ริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาระบบความปลอดภัย ลด ความเสีย่ ง และป้ องกันการเกิดซํ้าลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘ 59

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย • 5.3 ขัน้ ตอนก่อนการวิเคราะห์ • 5.3.1.1 มีคู่มือใช้บริการและจัดเก็บตัวอย่าง แจกจ่ายให้กบั หน่ วยงานที่

เกี่ยวข้องถือปฏิบตั ิ ระบุ …..วิธกี ารและสภาวะนํ าส่ง เกณฑ์การปฏิเสธ ตัวอย่าง • 5.3.1.2 มีรายละเอียด เกี่ยวกับชนิ ดและปริมาณของตัวอย่าง วิธวี เิ คราะห์ ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง การเก็บรักษาและการนํ าส่งตัวอย่าง การรับ-ปฏิเสธตัวอย่าง ติดฉลาก ระยะเวลาการรายงานผล และระบุถา้ ต้องการผลด่วน • 5.3.1.3 มีหลักฐานการทบทวนรายละเอียดในคู่มือการจัดเก็บตัวอย่าง อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ หรือ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

60

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 5.3.2 การนํ าส่งตัวอย่าง • 5.3.2.4 ควบคุมวิธีการนํ าส่งตัวอย่างภายในเวลาและอุณหภูมิท่เี หมาะสม รวมทัง้ ความปลอดภัยต่อผูน้ ํ าส่ง และสิง่ แวดล้อม และครอบคลุมการนํ าส่งห้องปฏิบตั กิ าร รับส่งต่อ

• 5.3.3 การรับและเก็บรักษาตัวอย่าง • 5.3.3.1 กําหนดหลักเกณฑ์ การรับหรือการปฏิเสธตัวอย่าง มีบนั ทึกหลักฐานระบุ รายละเอียดของปัญหากรณี ท่สี ภาพตัวอย่างไม่เป็ นไปตามเกณฑ์



5.3.3.5 มีวิธีการเก็บรักษาตัวอย่างก่อนการวิเคราะห์ ไว้ในช่วงเวลาและสภาวะที่ เหมาะสม เพื่อนํ ามาวิเคราะห์ หรือเพิ่มรายการทดสอบได้อย่างมีคณ ุ ภาพ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

61

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 5.4 ขัน้ ตอนการวิเคราะห์

• ข้อสังเกต 17 : หัวข้อในคู่มอื ปฏิบตั กิ าร …..สภาวะและความปลอดภัยในขณะทําการ วิเคราะห์

• 5.5 ขัน้ ตอนหลังการวิเคราะห์ • 5.5.2 เก็บตัวอย่างเริ่มต้น และตัวอย่างอืน่ ๆ หลังการวิเคราะห์ ไว้ตาม

ระยะเวลาและภาวะที่กาํ หนด ตามนโยบายของหน่ วยงาน …. ต้องควบคุม สภาวะที่จดั เก็บเพือ่ มัน่ ใจว่าคุณสมบัตขิ องตัวอย่างไม่เปลี่ยนไปในระยะเวลา ที่กาํ หนด • 5.5.3 ตัวอย่างที่เหลือจากการวิเคราะห์ ควรมีการทําลายอย่างถูกวิธตี าม ประเภทของตัวอย่าง โดยบุคลากรที่ได้รบั มอบหมาย ห้องปฏิบตั กิ ารควร ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

62

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 5.6 การรายงานผล • 5.6.1.4 เพื่อให้การรายงานผลตอบสนองต่อความปลอดภัยของผูป้ ่ วย ห้องปฏิบตั กิ าร ต้องกําหนด “ค่าวิกฤติ” หรือ “ช่วงของค่าวิกฤติ” โดยทําความตกลงกับแพทย์ผูส้ ง่ ตรวจ



ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

63

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

• 6.2 บันทึกคุณภาพ

• 6.2.1 กําหนดวิธีการ ในการจําแนกชนิ ดของบันทึกคุณภาพ วิธีการจัดเก็บ จัดเรียงลําดับ การเข้าถึง การเก็บรักษาบันทึก ผูร้ บั ผิดชอบ และ วิธีการทําลายโดยคํานึ งถึงการรักษา ความลับ

• 6.2.2 ข้อมูลในบันทึกต้องมีความถูกต้องครบถ้วน อ่านง่าย สืบค้นง่าย และมีระบบการเก็บ รักษาที่ปลอดภัย ป้ องกันการเสียหาย และ ป้ องกันการเข้าถึงโดยผูไ้ ม่มีอาํ นาจหน้าที่

• 6.2.3 กําหนดนโยบายที่ระบุระยะเวลาในการเก็บรักษาบันทึกคุณภาพแต่ละชนิ ดที่ใช้ใน ระบบบริหารคุณภาพและบันทึกรายงานผลทางห้องปฏิบตั ิการ ให้เหมาะสมกับประเภทของบันทึกคุณภาพ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

ซึ่งอาจกําหนดระยะเวลา 64

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย • 6.3 ระบบสารสนเทศทางห้องปฏิบตั กิ าร (Laboratory Information System LIS) • ห้องปฏิบตั กิ ารต้องกําหนดระเบียบปฏิบตั ิ ควบคุม บุคลากรและวิธีการ การเข้าถึง การใช้ การ เปลี่ยนแปลง การทําลาย ข้อมูลในระบบสารสนเทศ โดยคํานึ งถึงความลับและสิทธิผูป้ ่ วย • ข้อมูลในระบบสารสนเทศ หมายความรวมถึง ข้อมูลในระบบห้องปฏิบตั กิ ารที่เชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลองค์กรหลัก การอนุ ญาตให้หน่ วยงานภายนอกเข้าใช้ขอ้ มูล • ระบบสารสนเทศ ต้องมีการป้ องกัน การเสียหาย สูญหายของข้อมูล การจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมืออย่างเหมาะสม

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

65

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย • 7. การควบคุมสิง่ ที่ไม่สอดคล้องกับข้อกําหนด • 7.1 สิง่ ที่ไม่สอดคล้องกับข้อกําหนด • ห้องปฏิบตั กิ ารต้องมีระเบียบปฏิบตั ิ ระบุความหมายสิง่ ที่ไม่สอดคล้องกับข้อกําหนด ผูท้ ่มี ี อํานาจหน้าที่ จัดการปัญหา วิธีจดั การ ปัญหาในเบื้องต้น ทัง้ ที่เป็ น อุบตั กิ ารณ์เชิงรุก(near miss) และ อุบตั กิ ารณ์(miss) ตลอดขัน้ ตอนในกระบวนการก่อนวิเคราะห์ ขัน้ ตอนวิเคราะห์ และหลังวิเคราะห์ และระบุระดับความเสีย่ งตามระบบขององค์กร • ระบุวิธีการนํ าข้อมูลมาวิเคราะห์ เชิงสถิติ เพื่อหา สาเหตุท่แี ท้จริงปัญหา เพื่อกําหนด ปฏิบตั กิ ารแก้ไข และป้ องกันได้อย่างตรงประเด็น

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

66

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย •

8. การตรวจติดตามภายใน

• 8.1 วางแผนการตรวจติดตามภายใน • ผูจ้ ดั การคุณภาพ หรือผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย มีหน้าที่รบั ผิดชอบ กําหนดแผนการตรวจติดตาม ภายใน และระบบความปลอดภัย อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ • 8.2 การตรวจติดตาม • กําหนดสาระสําคัญของการตรวจติดตามให้ครอบคลุม ทัง้ ระบบบริหารจัดการ ด้าน เทคนิ ควิชาการ และระบบความปลอดภัย ตามข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ และระบบความปลอดภัย

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

67

ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

9. กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง • 9.1 การทบทวนระบบบริหารคุณภาพ •

• 9.1.1.2

ทบทวนกิจกรรม • ก. สถานที่ สภาวะแวดล้อมและความปลอดภัย • 9.1.1.4 ทบทวนผลกระทบต่อผูใ้ ช้บริการ • ข. ระบบเฝ้ าระวังสิง่ ที่ไม่สอดคล้องกับข้อกําหนดบันทึกข้อปฏิบตั ทิ ่ไี ม่สอดคล้อง ตามข้อกําหนด หรืออุบตั กิ ารณ์ ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

68

สรุป • ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ 2555 เน้นความสําคัญ ของระบบความปลอดภัย ในแทบทุกปัจจัยหลัก • ลงรายละเอียดให้ครอบคลุม ทัง้ การวางระบบ ดําเนิ นการ ติดตามผล และทบทวนระบบ • แต่ทง้ั หมดจะเกิดขึ้นได้ เมื่อผูป้ ฏิบตั งิ าน ตระหนัก เห็นความสําคัญ เฝ้ าระวังระบบความปลอดภัยอย่างต่อเนื่ อง • เพือ่ ประโยชน์ของผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูเ้ กี่ยวข้อง และสิง่ แวดล้อม ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

69

ตั ว อย่ า ง คู ่ ม ื อ ความปลอดภั ย ในห้ อ งปฏิ บ ต ั ก ิ าร ห้ องปฏิบัตกิ ารเทคนิค • ความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการ ( Laboratory Safety ) การแพทย์

( Medical Technology Laboratory Of Thammasat University Hospital )

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิม พระเกียรติ

• การกําหนดตัวบุคคลผูร้ บั ผิดชอบความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ าร ข้อกําหนดความปลอดภัยห้องปฏิบตั ิการ • ความปลอดภัยทัว่ ไปในห้องปฏิบตั ิการ • ความปลอดภัยของบุคลากร • อุปกรณ์ท่จี าํ เป็ นเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ าร • ความปลอดภัยด้านเคมี • การจัดการของเสียเคมีจากห้องปฏิบตั ิการ • ความปลอดภัยทางชีวภาพ • ระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบตั ิการ • การปฐมพยาบาลเบื้องต้น • การดําเนิ นการในภาวะฉุกเฉิ น • การป้ องกันอัคคีภยั (Fire safety ) • แผนการระงับและบรรเทาอัคคีภยั • การควบคุมวัตถุอนั ตรายอืน่ ๆ • การกําจัดขยะอันตราย • การตรวจติดตามความปลอดภัยทางห้องปฏิบตั กิ าร

สือ่ การสอนจากสภาเทคนิ คการแพทย์ คู่มือความปลอดภัย อ.คณี อุน่ จิตติ Checklist 60 ข้อ ตรวจติดตาม ระบบความปลอดภัย http://www.mtcouncil.org แนวทางเพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยจากการได้รบั เลือดและการ ตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร • ข้อกําหนดในมาตรฐานงานเทคนิ คการแพทย์ ที่เกี่ยวโยงไป ระบบความปลอดภัย

• • • •

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

71

http://www.mtcouncil.org

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

72

Checklist 60 ข้อ ตรวจติดตาม ระบบความปลอดภัย แบบประเมินระบบความปลอดภัยในห้ องปฏิบตั ิการ หน่วยงาน..............................................วันที.่ ........................ผู้ตรวจ....................... ชื่อหัวหน้ า LAB ..................................................................... ผู้รับการตรวจ............................................................ ข้ อ

รายละเอียด

หลักฐาน/หมายเหตุ

ผลประเมิน

1. การบริหารจัดการความปลอดภัยในห้ องปฏิบตั ิการ P

1

มีนโยบายด้ านความปลอดภัยและสุขภาพ

กําหนดโดยระดับกลุม่ งานและสอดคล้ องกับระดับร.พ. บุคลากรมีสว่ นร่ วมในการกําหนดนโยบาย และได้ รับการอบรมความรู้ด้านความปลอดภัย

2

มีแผนตรวจติดตามด้ านความปลอดภัย

Y

มีบนั ทึกแผนการตรวจติดตามความปลอดภัยอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้

3

มีแผนการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีนให้ บคุ ลากร

Y

มีบนั ทึก แผนการตรวจสุขภาพ และฉีดวัคซีน

4

มีแผนปฏิบตั ิการเมื่อเกิดเพลิงไหม้

P

มีบนั ทึกแผนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ บุคลากรรับทราบ-เข้ าใจ

5

มีแผนปฏิบตั ิการกําจัดของเสีย/ขยะจาก LAB

Y

มีบนั ทึก/วิธีปฏิบตั ิ/แผนปฏิบตั ิการกําจัดของเสีย/ขยะ ปฏิบตั ิตามแผน

6

กําหนดผู้ดแู ลรับผิดชอบ LAB Safety Officer(LSO)

N

ระบุชื่อ LSO

7

LSO ทําหน้ าที่ตรวจติดตาม ให้ คําแนะนําเรื่องความปลอดภัย

Y

LSO ทําหน้ าที่อย่างไร

8

บุคลากรได้ รับการอบรมด้ านความปลอดภัย

P

มีบนั ทึกรายชื่อบุคลากรที่ได้ รับการอบรมด้ านความปลอดภัย

9

บุคลากรมีความรู้เรื่องการติดเชื ้อ/สารอันตรายสูร่ ่างกาย

P

สุม่ สัมภาษณ์บคุ ลากรเรื่ องความรู้การติดเชื ้อ/สารอันตราย

10

มีคมู่ ือความปลอดภัย

Y

ขอดูค่มู ือความปลอดภัย/เอกสารอ้ างอิง - อ่านแล้ ว เข้ าใจ ปฏิบตั ิตาม

Y

สังเกตโครงสร้ างสถานที่ทวั่ ไป

Y

สังเกตุผลกระทบต่อความปลอดภัย เช่น แสงสว่างมากเกินไป ทําให้ แสบตา มืดเกินไปทําให้ เพ่งสายตามาก การระบายอากาศไม่มีมีกลิน่ สารเคมี/กลิน่ สิง่ ส่งตรวจ

2. สถานที่และสิง่ แวดล้ อมปลอดภัย 11

โครงสร้ างอาคารมัน่ คงแข็งแรง พื ้นเรียบ ไม่ลนื่ แสดงเครื่องหมายพื ้นต่างระดับ(ถ้ ามี)

12

มีแสงสว่าง อุณหภูมิ การระบายอากาศเหมาะสม

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

73

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

74

ลิขสิทธิ์ สภาเทคนิคการแพทย์ กรกฏาคม ๒๕๕๘

75

ขอ

ให้ท่านโชคดีมีศรีสุข

ให้

หมดทุกข์ปราศภัยไร้ “ความเสี่ยง”

ท่าน วิเคราะห์เหตุให้เป็ นเห็ นทางเลี่ยง โชคดี เคียงคูต่ ระหนักระวังภัย ไม่

ประมาทเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า

มี

วิชามากําหนดบทปฏิบตั ิ

เสี่ยง ภัยใดให้ทาํ ตามอย่างเคร่งครัด ภัย

พิบตั เิ ลี่ยงได้….ให้ “ป้องกัน”