บทที่ 12

ตัวอย่างที่ 12.1 บริษัทสยามธุรกิจ จ ากัด มีต้นทุนในการผลิตและจ าหน่ายสินค้า. ดังราย ละเอียดต่อไปนี้. ต้นทุน. ต้นทุนผันแปร. ต้นทุนคงที่. ต้นทุนรวม. - ว...

5 downloads 443 Views 2MB Size
CHAPTER 12

การวิเคราะห์จดุ พอดีทนุ และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กาไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

LOGO

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

1

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุน จุดพอดีทุน (Break Even Point Analysis) คือ ปริมาณขายอัน จะทาให้ราคาขายเท่ากับต้นทุนทัง้ หมดที่เกิดขึน้ จากการผลิตและใน การจาหน่ ายสินค้า การขายตามปริ มาณขาย ณ จุดพอดีทุนนี้จะไม่ ทาให้ กิจ การได้ ก าไรหรื อขาดทุ น ฉะนั้ น การค านวณหาจุ ด พอดี ทุ น จึ งบอกให้ ทราบว่ าจะต้ องขายในปริมาณเท่ าใดจึงจะมีกาไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

2

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การคานวณหาจุดพอดีทุน (Break Even Point)

จานวนหน่ วยขายพอดีทุน =

จานวนเงินขายพอดีทุน =

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

3

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การคานวณหาจุดพอดีทุน (Break Even Point) (Con.) ตัวอย่างที ่ 12.1 บริษทั สยามธุรกิจ จากัด มีต้นทุนในการผลิตและจาหน่ ายสินค้า ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ต้นทุน -

วัตถุดิบ แรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าใช้จ่ายในการจัดจาหน่ าย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ต้นทุนผันแปร 2,000,000 5,000,000 1,000,000 300,000 200,000 8,500,000

ต้นทุนคงที่ 4,000,000 500,000 800,000 5,300,000

ต้นทุนรวม 2,000,000 5,000,000 5,000,000 800,000 1,000,000 13,800,000

ราคาขายต่อหน่ วยเป็ น 10 บาท จานวนเงินขายได้ทงั ้ หมด 18,000,000 บาท

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

4

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การคานวณหาจุดพอดีทุน (Break Even Point) (Con.) การคานวณ ก. จานวนเงินขายพอดีทนุ =

= =

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

=

5,300,000 8,500,000 1 18,000,000

=

5,300,000 0.53

10,000,000 บาท

5

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การคานวณหาจุดพอดีทุน (Break Even Point) (Con.)

ข. จานวนหน่ วยขายพอดีทุน

=

= =

5,300,000 8,500,000 10  1,800,000

=

1,000,000 หน่ วย

6

=

5,300,000 5.3

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การคานวณหาจุดพอดีทุน (Break Even Point) (Con.) พิสจู น์ การคานวณ ถ้าค่าขาย หักค่าใช้จ่ายผันแปร (47% ของราคาขาย) กาไรส่วนเกิน หักค่าใช้จ่ายคงที่

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

7

10,000,000 4,700,000

บาท บาท

5,300,000 5,300,000 0

บาท บาท บาท

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การแสดงแผนผังจุดพอดีกนั (Break Even Chart) การแสดงปริ ม าณการขาย ณ จุด พอดี ทุ น อาจแสดงได้ ใ นรูป ของ กราฟ โดยสมมติ ตั ว อย่ า งการค านวณตามตั ว อย่ า งที่ 12.1 คื อ ค่าใช้จ่ายคงที่โดยปกตินี้เท่ากับ 5,300,000 บาท และค่าใช้จ่ายผันแปรเป็ น 47% ของราคาขาย

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

8

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การแสดงแผนผังจุดพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.) กราฟ Break Even ชนิดที่ 1

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

9

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การแสดงแผนผังจุดพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.) กราฟ Break Even ชนิดที่ 2

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

10

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การแสดงแผนผังจุดพอดีกนั (Break Even Chart) (Con.) จากกราฟถ้าพิจารณาที่ ระดับการขาย 5 แสนหน่ วย ในราคาเดิมคือหน่ วยละ 10 บาท กิจการจะได้รบั กาไรส่วนเกิน 2,650,000 บาท (จาก 5,000,000 – 2,350,000) และขาดทุน 2,650,000 บาท (จาก 2,650,000 – 5,300,000) ซึ่งตรวจสอบได้กบั การ คานวณดังนี้ รายได้จากการขาย 5,000,000 หัก ค่าใช้จ่ายผันแปร 2,350,000 กาไรส่วนเกิน 2,650,000 หักค่าใช้จ่ายคงที่ 5,300,000 ขาดทุน 2,650,000

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

11

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การใช้ผงั แสดงจุดพอดีทุน 1. ค่าใช้จ่ายคงที่ เป็ นค่าใช้จ่ายที่ประมาณว่าจะคงที่สาหรับช่วงหนึ่ งของระดับการ ดาเนินงาน ผังแสดงจุดพอดีทนุ นัน้ จึงเป็ นผังที่แสดงเฉพาะช่วงของระดับการ ดาเนินงานที่กาหนดในการประมาณค่าใช้จ่ายคงที่ 2. ค่าใช้จ่ายผันแปรจะเปลี่ยนไปโดยลักษณะแปรผันตรงกับปริมาณขาย 3. ราคาขายต่อหน่ วยคงที่ 4. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในราคาต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายอื่น 5. อัตราส่วนปริมาณการขายของสินค้าประเภทต่างๆ (Sales Mix) คงที่ 6. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในวิธีการผลิต สมรรถภาพในการดาเนินงานและสถานการณ์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการขาย

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

12

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การใช้ผงั แสดงจุดพอดีทุน (Con.) กราฟ Break-Even Chart with Detailed Fixed and Variable Cost

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

13

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนในกรณี รายได้และต้นทุนแปรผันไม่เป็ น เส้นตรงตามปริมาณการผลิต (Non Linear Break Even Analysis) แผนภูมิจดุ พอดีทนุ รายได้และ ต้นทุนแปรผันไม่เป็ นเส้นตรงตาม ปริมาณการผลิต

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

14

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

15

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Con.) ตัวอย่างที ่ 12.2 บริษทั วิศวใจเดียว จากัด ทาการผลิตสินค้าพืน้ เมืองและของที่ระลึกราย ใหญ่ของหมูบ่ า้ นหนองหอย ซึ่งในปี 2548 ทางบริษทั ได้ผลิตสินค้าทัง้ หมด 6 ประเภทและมี การบันทึกข้อมูลไว้ดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ประเภทสินค้า เสื้อผ้า หมวก เครื่องดนตรี ไม้แกะสลัก เครื่องประดับสตรี ของที่ระลึก

ยอดขายรวม 4,000,000 2,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 2,500,000

ต้นทุนแปรผัน 2,000,000 1,000,000 3,000,000 500,000 3,500,000 1,500,000

ต้นทุนคงที่ 3,500,000

(ก) จงคานวณยอดขายพอดีทนุ (ข) เขียนกราฟแสดงกาไรของแต่ละสินค้าและกาไรรวม Cost and Budget Analysis (IE 255432)

16

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Con.) การคานวณ

1. 2. 3. 4. 5. 6.

(ก) จานวนยอดขายพอดีทุน

ประเภทสินค้า

ยอดขายรวม

ต้นทุน แปรผัน

เสื้อผ้า หมวก เครื่องดนตรี ไม้แกะสลัก เครื่องประดับสตรี ของที่ระลึก

4,000,000 2,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 2,500,000

2,000,000 1,000,000 3,000,000 500,000 3,500,000 1,500,000 ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรสุทธิ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

17

%ของต้นทุน แปรผัน ต่อยอดขาย 50% 50% 100% 50% 70% 60%

กาไรส่วนเกิน 2,000,000 (50%) 1,000,000 (50%) 0 (0%) 5,000,000 (50%) 1,500,000 (30%) 1,000,000 (40%) 6,000,000 (34.29%) 3,500,000 2,500,000

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Con.)

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

18

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Con.)

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

19

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์จดุ พอดีทุนสาหรับผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Con.) (ข) กราฟแสดงกาไรรวมและจุดพอดีทนุ ของผลิตภัณฑ์หลายชนิด

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

20

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริมาณ กาไร การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กาไร (Illustration of Cost Volume Profit Analysis) เป็ นการกาหนดพื้นฐานสาหรับการวางแผนตัดสินใจ ปั ญหาที่ ส าคัญๆ เช่ น การขยายกิ จ การ การก าหนดราคา การส่ ง เสริม ผลิตภัณฑ์เฉพาะอย่างและการว่าจ้างคนงาน การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กาไร นี้ จะช่ วยให้ ฝ่ายบริหารได้ ให้ ความสนใจกับปั ญหาที่ สาคัญๆ และ เตรียมหาทางออกไว้สาหรับแต่ละกรณี ด้วย

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

21

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 1. การเพิ่มราคาขาย : เพิ่มกาไรโดยการเพิ่มราคาขาย

22

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 2. การลดต้นทุนแปรผัน : เพิ่มกาไรโดยการลดต้นทุนแปรผัน

23

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 3. การลดต้นทุนคงที่ : เพิ่มกาไรโดยการลดต้นทุนคงที่

24

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 4. การเพิ่มปริมาณการผลิต : เพิ่มกาไรโดยการเพิ่มปริมาณการผลิต

25

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร ตัวอย่างที ่ 12.3 บริษทั บางจาก จากัด เป็ นบริษทั ที่ดาเนินการจาหน่ ายน้ามันรถยนต์ โดย เช่าปัม๊ มาดาเนินกิจการ ปัจจุบนั มีอยู่ถึง 200 สาขาทัง้ ประเทศ และกาลังพิจารณาตัดสินใจ ว่าควรที่จะเปิดดาเนินการจาหน่ ายน้ามันรถยนต์นี้ในแหล่งอื่นๆ อีกหรือไม่ โดยมีข้อมูล เกี่ยวกับรายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นดังนี้ ราคาขาย ต้นทุนน้ามันรวมค่าขนส่งและภาษี แล้ว กาไรขัน้ ต้น ค่าใช้จ่ายคงที่รายเดือนเป็ นดังนี้ ค่าเช่าปัม๊ ค่าไฟฟ้ า ค่าแรงงาน เงินเดือน ต้นทุนคงที่อื่นๆ รวมต้นทุนคงที่ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

26

บาทต่อแกลลอน 0.40 0.34 0.06

% ต่อยอดขาย 100 85 15

800 บาท 200 บาท 2,500 บาท 300 บาท 300 บาท 3,600 บาท ©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 1. จงคานวณจุดคุ้มทุนรายเดือน เป็ นจานวนแกลลอน และจานวนเงิน จานวนขาย ณ จุดพอดีทนุ

= = = = =

และจานวนเงินขาย ณ จุดพอดีทนุ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

27

ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรส่วนเกินต่อหน่ วย 3,600 0.06 60,000 แกลลอน 60,000 x 0.40 24,000 บาท ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 2. วาดกราฟแสดงความสัมพันธ์ของต้นทุน – ปริมาณ – กาไร ตามข้อ 1

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

28

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 3. ถ้าค่าเช่าเพิ่มทาให้ต้นทุนคงที่เพิ่มเป็ น 4,400 บาท จาก จานวนหน่ วยขายพอดีทนุ

= =

และจานวนเงินขายพอดีทนุ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

= =

29

ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรส่วนเกินต่อหน่ วย 4,400 0.06 73,334 แกลลอน 73,334 0.4 = 29,334 บาท ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 4. สมมติว่า ค่าเช่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่ ถ้าผูจ้ ดั การปัม๊ น้ามันจ่ายค่านายหน้ าเพิ่มขึน้ แกลลอน ละ 2 สตางค์ จุดคุ้มทุนราย เดือนจะเป็ นเท่าใด จ่ายค่านายหน้ าเพิ่มแกลลอนละ 2 สตางค์ ทาให้ ต้นทุนของน้ามัน = 0.34 + 0.02 =0.36 บาท/แกลลอน จาก จานวนหน่ วยขาย ณ จุดพอดีทนุ = ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรส่วนเกิน 3,600 = (0.40  0.36)

= =

และจานวนเงินขายพอดีทนุ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

30

90,000 แกลลอน 90,000 x 0.40 = 36,000 บาท ตอบ ©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 5. โดยใช้ข้อมูลเดิม ถ้าบริษทั ต้องการกาไรสุทธิอย่างตา่ 600 บาทต่อเดือน จะต้อง ขายน้ามันกี่แกลลอนและเป็ นเงินเท่าใด กาไรสุทธิ = ราคาขาย – ต้นทุน 600 = (0.40 X) - (0.34 X) – 3,600 เมื่อ X = ปริมาณขาย 600+3600 = 0.06 X จะต้องขายน้ามันทัง้ สิ้น 70,000 แกลลอน เป็ นเงิน 28,000 บาทต่อเดือน ตอบ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

31

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร 6. โดยใช้ข้อมูลเดิม ฝ่ ายบริหารกาลังพิจารณาว่าไม่ควรเปิดบริการตลอด 24 ชัวโมง ่ โดยพิจารณาปิดเวลาทาการตัง้ แต่ 23.00 น. – 7.00 น. ซึ่งจะทาให้ลดค่าไฟฟ้ า ลงได้ 50 บาทต่ อ เดื อ น และลดค่ า จ้ า งลงได้ เ ดื อ นละ 300 บาท แต่ จ ะส่ ง ผลให้ ยอดขายลดลง 10,000 แกลลอน/เดือน บริษทั ควรเปิดบริการตลอด 24 หรือไม่ ถ้า ยอดขายปัจจุบนั ที่เปิดบริการ 24 ชั ่วโมงเท่ากับ

ก. 60,000 แกลลอน ข. 90,000 แกลลอน กาไรส่วนเกินลดลง 10,000 แกลลอนเป็ นเงิน 600 ต้นทุนคงที่ที่ประหยัดได้ 350 ทัง้ สองกรณี กาไรสุทธิที่คาดไว้ลดลง 250

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

32

บาท บาท บาท

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

การปรับปรุงกาไร (ก) จานวนแกลลอน ราคาขาย ต้นทุนแปรผัน กาไรส่วนเกิน ต้นทุนคงที่ กาไรสุทธิ

เปิด 24 ชม. 60,000 24,000 20,400 3,600 3,600 0

ยอดเปลี่ยนแปลงในกาไรสุทธิ

(ข) ปิด เปิด 24 ชม. 50,000 90,000 20,000 36,000 17,000 30,600 3,000 5,400 3,250 3,600 (250) 1,800

(250)

ปิด 80,000 32,000 27,200 4,800 3,250 1,550 (250)

ไม่ว่ายอดขายปัจจุบนั จะเป็ นเท่าไรถ้าปิดช่วง 23.00 – 7.00 น. จะมีผลกาไรสุทธิลดลง 250 บาท ตอบ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

33

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

แผนภูมิกาไรต่อหน่ วย (The Unit Profit Graph) ตัวอย่างที ่ 12.4 บริษทั ค้าวัฒนาธุรกิจ มียอดรับจากการขายสินค้า 1,000 หน่ วยๆ ละ 100 บาท มีต้นทุนแปรผันเป็ น 30,000 บาท ส่วนต้นทุนคงที่คือ 20,000 บาท จงคานวณหา 1. จุดคุ้มทุนและจานวนเงิน ณ จุดพอดีทนุ 2. จงแสดงให้เห็นว่าถ้ามีการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตจะมีผลกระทบกระเทือน อย่างไร

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

34

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

แผนภูมิกาไรต่อหน่ วย (The Unit Profit Graph) การคานวณ จานวนหน่ วยขาย ณ จุดพอดีทนุ

= =

จานวนเงินขายพอดีทนุ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

=

35

ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรส่วนเกินต่อหน่ วย 20,000 100 – 30 28,600 บาท

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

แผนภูมิกาไรต่อหน่ วย (The Unit Profit Graph) ถ้าปริมาณการผลิตลดลงจะทาให้ค่าใช้จ่ายคงที่ต่อหน่ วยสูงขึน้ ดังนี้

ต้นทุนผันแปรต่อหน่ วย ต้นทุนคงที่ต่อหน่ วย รวมต้นทุนต่อหน่ วย ราคาขายต่อหน่ วย กาไร (ขาดทุน) ต่อหน่ วย

100 30 200 230 100 (130)

จานวนหน่ วย 500 1,000 30 30 40 20 70 50 100 100 30 50

1,500 30 13 43 100 57

2,000 30 10 40 100 60

ตารางที่ 12.1 แสดงอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตที่มีต่อต้นทุนคงที่ต่อหน่ วย

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

36

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

แผนภูมิกาไรต่อหน่ วย (The Unit Profit Graph)

แสดงกราฟกาไรต่อหน่ วยแสดงต่อผลของต้นทุนคงที่ต่อหน่ วย Cost and Budget Analysis (IE 255432)

37

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

สูตรต้นทุนต่อหน่ วย (Unit Cost Formulas)

ต้นทุนต่อหน่ วย เมื่อ

= a b1 b2 x

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

= = = =

a  b1 x b2 x

ต้นทุนคงที่ ต้นทุนเปลี่ยนแปลง ณ ระดับกาลังผลิตปกติ จานวนหน่ วยผลิต ณ ระดับกาลังผลิตปกติ ระดับกาลังการผลิต (เป็ น % ของระดับกาลังผลิตปกติ)

38

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

สูตรต้นทุนต่อหน่ วย (Unit Cost Formulas) ตัวอย่างที ่ 12.5 โรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปแห่งหนึ่ งมีค่าใช้จ่ายคงที่ 15,000 บาท ค่าใช้จ่าย เปลี่ยนแปลง 30,000 บาท ณ กาลังการผลิต 100% ปริมาณการผลิต 500 หน่ วย ราคาขาย หน่ วยละ 110 บาท จงหา

ก. กาลังการผลิต ณ จุดพอดีทนุ ข. ต้นทุนหน่ วยละ ณ ระดับกาลังการผลิตของจุดพอดีทนุ ค. ต้นทุนหน่ วยที่ระดับกาลังการผลิต 90%

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

39

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

สูตรต้นทุนต่อหน่ วย (Unit Cost Formulas) (ก) กาลังการผลิต ณ จุดพอดีทนุ จานวนหน่ วย ณ จุดพอดีทนุ

ค่าใช้จ่ายคงที่ กาไรส่วนเกินต่อหน่ วย = 15,000 110 – 60 = 300 หน่ วย (ต้นทุนเปลี่ยนแปลงต่อหน่ วย คานวณจาก 30,000/ 500 = 60 บาทต่อหน่ วย) 300 กาลังผลิต ณ จุดพอดีทนุ = = 60% ของกาลังการผลิตปกติ ตอบ =

500

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

40

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

สูตรต้นทุนต่อหน่ วย (Unit Cost Formulas) (ข) ต้ นทุนหน่ วยละ ณ อัตราการผลิตของจุดพอดีทุน จาก Unit Cost = a  b1 x b2 x

= =

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

41

15,000  30,000(60%) 500(60%)

110 บาท

ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

สูตรต้นทุนต่อหน่ วย (Unit Cost Formulas) (ค) ต้นทุนต่อหน่ วย ที่ระดับกาลังการผลิต 90% จาก Unit Cost

= =

=

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

42

a  b1 x b2 x 15,000  30,000(90%) 500(90%)

93 บาท

ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) P/V Ratio และ

= P S PV F

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

= = = =

Pr ofit Increase Sales Increase

(S x PV) – F ยอดขาย อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วยที่เพิ่มขึน้ (%) ค่าใช้จ่ายคงที่

43

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) ตัวอย่างที ่ 12.6 บริษทั ป้ ากะปู่ ธุรกิจ จากัด มีข้อมูลการผลิตสินค้าเมื่อเดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคมที่ผา่ นมา ดังนี้

เมษายน พฤษภาคม ผลต่างสุทธิ

ยอดขาย 60,000 50,000 -10,000

ต้นทุน 40,000 35,000 -5,000

กาไร 20,000 15,000 -5,000

ก. จงคานวณหากาไรของบริษทั ในเดือนมิถนุ ายนถ้าพยากรณ์ ยอดขายเป็ น 70,000 บาท ข. คานวณหาต้นทุนคงที่ของบริษทั นี้

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

44

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) (ก)

จาก PV Ratio

= =

ในเดือนมิถนุ ายน 50% = Profit Increase = ในเดือนพฤษภาคมมีกาไร = ในเดือนมิถนุ ายน = = Cost and Budget Analysis (IE 255432)

45

Profit Increase Sales Increase - 5,000 -10,000 Profit Increase 70,000 – 50,000 10,000 บาท 15,000 บาท 15,000 + 10,000 25,000 บาท

=

50%

ตอบ

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) (ข) การลดลงของยอดขายในเดือนพฤษภาคม 10,000 บาท เป็ นผลให้ต้นทุนลดลง 5,000 บาท และกาไรลดลง 5,000 บาท เช่นกัน นัน่ ความหมายว่า ใน 1 บาทที่ลดลง เป็ น ต้นทุนแปรผัน 0.5 บาท และอีก 0.5 บาทเป็ นกาไรและต้นทุนคงที่ ซึ่งสามารถหา ต้นทุนคงที่ได้ดงั นี้ เดือนเมษายน ต้นทุนรวม 40,000 ต้นทุนแปรผัน 60,000 x 0.5 30,000 ต้นทุนคงที่ 10,000 เดือนพฤษภาคม ต้นทุนรวม 35,000 ต้นทุนแปรผัน 50,000 x 0.5 25,000 ต้นทุนคงที่ 10,000 ต้นทุนคงที่ของบริษทั คือ 10,000 บาท / เดือน ตอบ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

46

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) ตัวอย่างที ่ 2.7 บริษทั หมีน้อย จากัด ประกอบธุรกิจผลิตและประกอบอุปกรณ์ อิเลคทรอนิคส์ซึ่งมีข้อมูลดังนี้ - ยอดขายในเดือนมกราคม 2548 7,000,000 บาท - ค่าใช้จ่ายคงที่รายเดือน 2,000,000 บาท - ยอดขายในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 8,000,000 บาท (กาไร 1,000,000 บาท) ถ้าบริษทั มี PV Ratio เมื่อเทียบกับปี 2547 เป็ น 40% (ก) คานวณหากาไรของบริษทั ในเดือนมกราคม 2548 P = (S x PV) – F P = (7,000,000 40%) – 2,000,000 P = 800,000 บาท ตอบ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

47

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) (ข) จงหา PV Ratio ของบริษทั โดยใช้ข้อมูลล่าสุดที่มีอยู่ ในเดือนกุมภาพันธ์ P = (S x PV) – F 1,000,000 = (8,000,000 x PV) – 2,000,000 PV Ratio = 37.5 % ตอบ (ค) ถ้ามี PV Ratio เป็ น 50% และในเดือนมีนาคมบริษทั ขาดทุน 300,000 บาท จานวนเงิน ขายจะเป็ นเท่าใด P = (S x PV) – F - 300,000 = (S x 50 %) – 2,000,000 S = 3,400,000 ตอบ Cost and Budget Analysis (IE 255432)

48

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

อัตราส่วนกาไรต่อหน่ วย (Profit Volume Ratio) ตรวจคาตอบ ยอดขาย หัก ต้นทุนแปรผัน 50% 1,700,000 ต้นทุนคงที่ 2,000,000 ขาดทุน

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

49

3,400,000 บาท 3,700,000 บาท 300,000 บาท

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

ระดับปลอดภัย (Margin of Safety) ระดับปลอดภัย หรือ MS นี้ คือ ผลต่างระหว่างยอดขายกับจานวนขายพอดีทุน เพราะเป็ นส่วนของปริมาณขายที่จะลดตา่ ลงไปได้จนกระทังต ่ า่ กว่าจุดพอดีทุน กิจการ จึงเริ่มขาดทุน ระดับปลอดภัยนี้ จะคานวณเป็ นอัตราส่วนของค่าขาย ดังนี้

อัตราส่วนระดับปลอดภัย = (Margin of Safety Ratio , M/S)

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

50

ยอดขาย – ยอดขายพอดีทนุ ยอดขาย

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

ระดับปลอดภัย (Margin of Safety) ถ้าสมมติว่ารายได้จากการขายเป็ น 20,000,000 บาท จะได้ว่า M/S = 20,000,000 – 10,000,000 20,000,000 = 50% นัน่ คือ ยอดขายสามารถลดลงได้อีก 50% โดยไม่ทาให้บริษทั ประสบภาวะขาดทุน ระดับ ปลอดภัยนี้ จะสัมพันธ์กบั กาไรสุทธินัน่ คือ ตัวอย่างที ่ 12.8

อัตรากาไรสุทธิของกิจการ

= อัตราส่วนกาไรส่วนเกิน x อัตราส่วนระดับปลอดภัย

จาก ตัวอย่างที่ 12.8 จะได้ว่า อัตรากาไรสุทธิของกิจการ

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

= =

53% x 50% 26.5 % 51

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

ระดับปลอดภัย (Margin of Safety) ในกรณี นี้ทราบอัตรากาไรสุทธิของกิจการ และทราบอัตรากาไรส่วนเกินก็จะ สามารถคานวณอัตราส่วนระดับปลอดภัยได้เช่นกัน อัตราส่วนระดับปลอดภัย = อัตรากาไรสุทธิ อัตรากาไรส่วนเกิน อัตรากาไรสุทธิของกิจการ

= =

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

52

0.265 0.53

50 %

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

บทสรุป การวิเคราะห์จดุ พอดีทนุ เป็ นการวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและราคาขาย เพื่อ หาว่าจะต้ องขายในปริมาณเท่าใดจึงจะคุ้มกับต้ นทุนที่ เกิดขึ้น ซึ่ งเทคนิคที่ ใช้ ในการ วิเคราะห์จุดคุ้มทุนนี้ จะมี 3 วิธี คือ ใช้สมการ ใช้กาไรส่วนเกินต่อหน่ วย และใช้กราฟ ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ความสามารถและความเหมาะสมในการใช้ การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กาไร เป็ นการศึ กษาความสัมพันธ์ระหว่างการ ขาย ต้นทุนและกาไร ซึ่งเป็ นการกาหนดพืน้ ฐานสาหรับการวางแผนตัดสินใจในปัญหา สาคัญๆ เช่น การขยายกิจการ การกาหนดราคา การส่งเสริมผลิตภัณฑ์เฉพาะอย่าง และการว่าจ้างแรงงาน เพื่อเตรียมหาทางออกที่ ดีที่สุดไว้สาหรับแต่ละกรณี อย่างไรก็ ตามการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนและความสัมพันธ์ของ ต้ นทุน ปริมาณ กาไรนั น้ จะต้ อง กระท ารายได้ ส มมติ ฐ านที่ ต งั ้ ไว้ เพราะว่ า ความสัม พัน ธ์ด งั กล่ า วจะถูก ต้ องเฉพาะ ในช่วงที่มีความหมายตามที่กาหนดเท่านัน้

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

53

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

THE END

Cost and Budget Analysis (IE 255432)

LOGO

©Copyright Original Work by K.Y. Tippayawong Nov, 2014

54