CHAPTER 13
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบต้นทุนที่แตกต่าง (Differential and Comparative Cost Analysis)
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
LOGO
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
13.1 ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost) สมมติให้อตั ราการผลิตปกติมีปริมาณการผลิตเป็ น 100,000 หน่ วย และที่ ระดับการผลิต 0% คือ ไม่มีการผลิตและจะต้องเสียค่าใช้จ่าย 90,000 บาท กาลังผลิต ต้นทุนเปลี่ยนแปลง วัตถุทางตรง แรงงานทางตรง รวม
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
80%
90%
100%
110%
160,000 144,000 304,000
180,000 162,000 342,000
200,000 180,000 380,000
220,000 198,000 418,000
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost) (Con.) กาลังผลิต ค่าใช้จ่ายเปลี่ยนแปลง
80%
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานตามปกติ ความร้อน 800 แสงสว่างและพลังงาน 2,400 ค่าบารุงรักษาและ 3,200 ซ่อมแซม 1,600 อุปกรณ์ ต่างๆ 12,800 แรงงานทางอ้อม 20,800 รวม ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต งานเสมียน 16,000 ค่าจ้างอื่นๆ 8,000 อุปกรณ์อื่นๆ 2,400 รวม 26,400
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
90%
100%
110%
900 2,700 3,600 1,800 14,400 23,400
1,000 3,000 4,000 2,000 16,000 26,000
1,100 3,300 4,400 2,200 17,600 28,600
18,000 20,000 9,000 10,000 2,700 3,000 29,700©Copyright 33,000
22,000 11,000 3,300 36,300
Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost) (Con.) กาลังผลิต ค่าใช้จ่ายคงที่
100%
110%
ค่าใช้จ่ายโรงงานคงที่ - ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานตามปกติ ค่าแรงงาน 17,000 20,000 20,000 ค่าจ้างหัวหน้ าคุมงาน 13,000 15,000 15,000 ค่าจัดการ 7,400 8,000 8,000 ค่าเสื่อมราคา 8,200 9,000 9,000 ค่าประกันภัย 2,400 3,000 3,000 รวม 48,000 55,000 55,000
23,000 17,000 8,500 9,500 3,000 61,000
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
80%
90%
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost) (Con.) กาลังผลิต ค่าใช้จ่ายคงที่
80%
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายและบริการ ค่าจ้างผูบ้ ริหาร 50,000 ค่าจ้างผูช้ ่วยผูบ้ ริหาร 25,000 ค่าภาษี 4,500 กฎหมายและบัญชี 7,000 รวม 86,500 รวมค่าใช้จ่ายทัง้ สิ้น 485,700
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
90%
100%
110%
60,000 30,000 5,000 8,000 103,000 553,100
60,000 30,000 5,000 8,000 103,000 597,000
65,000 32,000 5,500 8,500 111,000 654,900
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost) (Con.) จากข้อมูลทัง้ หมดนี้ จะได้ว่า กาลังผลิต หน่ วยผลิต ต้นทุนต่อหน่ วย ต้นทุนแตกต่าง ต้นทุนแตกต่างต่อหน่ วย
ซึ่งคานวณได้ดงั ตัวอย่าง Differential Cost (80% - 0%) และ Differential Cost per unit
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
80% 80,000 6.07 395,700 4.95
90% 90,000 6.15 67,400 6.74
100% 100,000 5.97 43,900 4.39
= 485,700 - 90,000 395,700 =
(80,000 - 0)
110% 110,000 5.95 57,900 5.79
= =
395,700 ฿ 4.95 ฿ / unit
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
13.2 การตัดสินใจเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ ตัวอย่างที่ 13.1 บริษัทลี เวอร์บ ราเธอร์ ประเทศไทย จ ากัด ซึ่ ง ในปั จ จุบนั ได้ ทาการผลิ ตสบู่โพร เทคส์ โดยมียอดขายปี ละ 800,000 ก้อน ในราคาส่งก้อนละ 6 บาท ในปี 2549 ขณะนี้ ทาง บริษทั กาลังพัฒนาเพิ่มการผลิตสบู่อีกชนิดหนึ่ งคือสบู่ลดเชื้อแบคทรีเรียสูตรอ่อนละมุน ชื่อฮาร์โมนี การผลิตสบู่ฮาร์โมนี ขึ้นมานี้ กเ็ พื่อแข่งขันกับสบู่เซฟการ์ดของบริษทั คู่แข่ง ซึ่งมีราคาตา่ กว่าโพรเทคส์ และกาลังการผลิตของบริษทั ลีเวอร์นัน้ สามารถที่จะเพิ่มการ ผลิตสบู่ฮาร์โมนี ไปได้ในสายการผลิตปั จจุบนั ดังนั น้ ผู้จดั การฝ่ ายตลาดจึ งพยากรณ์ ปริ ม าณการขายต่ อ ปี ของผลิ ต ภัณ ฑ์ ต ัว ใหม่ นี้ โ ดยคาดว่ า จะขายได้ ปี ละประมาณ 600,000 ก้อนในราคาส่งก้อนละ 5 บาท แผนกค้นคว้าและวิจยั ผลิตภัณฑ์ได้ สร้างรายการสาหรับการผลิตสบูฮ่ าร์โมนี ขึน้ มาใหม่ และร่วมมือ กับฝ่ ายผลิตทาการประมาณราคาต้นทุนต่อหน่ วยได้ดงั นี้
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Con.) โพรเทคส์ ค่าวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เปลี่ยนแปลง ค่าใช้จ่ายการผลิตที่คงที่ ต้นทุนการผลิตต่อหน่ วย บวก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่เปลี่ยนแปลง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่คงที่ ต้นทุนสินค้าที่ขาย
2.25 0.50 0.25 1.00 4.00 0.50 0.75 5.25
ฮาร์โมนี 2.00 0.50 0.50 1.00 4.00 0.75 0.75 5.50
บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท
- จงพิจารณาว่าบริษทั ลีเวอร์จะทาการผลิตสบูฮ่ าร์โมนี นี้หรือไม่ - จงเขียนงบกาไรขาดทุนเพื่อแสดงผลการวิเคราะห์ Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Con.) สรุปผลการคานวณ จากข้อมูลต้นทุนต่อหน่ วยถ้ามองดูแล้วจะเห็นว่าราคาขายส่งที่กาหนดไว้ 5 บาทนัน้ จะต้องขาดทุนก้อนละ 50 สตางค์ แต่ที่จริงแล้วถ้าพิจารณาให้รอบคอบจะพบว่าในรายการ ต้นทุนนัน้ ได้รวมเอาค่าใช้จ่ายคงที่เข้าไปด้วย นัน่ คือโดยปกติที่บริษทั ผลิตสบูโ่ พรเทคส์อยู่ นัน้ ก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายส่วนนี้ อยู่แล้ว ดังนัน้ ในการพิจารณาว่าจะผลิตสบูช่ นิดใหม่ หรือไม่ จะต้องพิจารณาเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงเท่านัน้ ต้นทุนต่อหน่ วยของสบูอ่ าร์โมนี ที่จะพิจารณา จะเป็ นดังนี้ ค่าวัตถุทางตรง 2.00 บาท ค่าแรงทางตรง 0.50 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เปลี่ยนแปลง 0.50 บาท ค่าใช้จ่ายการบริหารที่เปลี่ยนแปลง 0.75 บาท ดังนัน้ ต้นทุนแตกต่างเป็ น 3.75 บาท Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Con.) งบกาไรขาดทุนของบริษทั ลีเวอร์ (กรณี ผลิตสบู่โพรเทคส์เท่านัน้ ) ปี 2549 รายได้จากการขาย 4,800,000 บาท หักต้นทุนเปลี่ยนแปลง 2,800,000 ต้นทุนคงที่ 1,400,000 กาไร
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
4,200,000 บาท 600,000 บาท
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ (Con.) งบกำไรขำดทุนของบริษัทลีเวอร์ (กรณีผลิตสบู่โพรเทคส์ และฮำร์ โมนี) ปี 2549
รายได้จากสบู่โพรเทคส์ หัก รายได้จากสบู่ฮาร์โมนี รายได้ทงั ้ หมด หัก ต้นทุนคงที่ ต้นทุนเปลี่ยนแปลงของสบู่โพรเทคส์ ต้นทุนเปลี่ยนแปลงของสบู่ฮาร์โมนี กาไร
4,800,000 บาท 3,000,000 บาท 7,800,000 บาท 1,400,000 2,800,000 2,250,000
6,450,000 บาท 1,350,000 บาท
ดังนัน้ บริษทั ลีเวอร์ควรตัดสินใจเพิ่ม ผลิตภัณฑ์สบู่ฮาร์โมนี ขึน้ มาในปี 2549 Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
13.3 การตัดสินใจรับใบสังซื ่ ้อในราคาตา่ กว่าราคาจริง ตัวอย่างที ่ 13.2 บริษทั Thai CRT จากัด ซึ่งผลิตแผงวงจรที่ใช้ในเครื่องรับโทรทัศน์ โดยจะจาหน่ าย ตามใบสังของผู ่ ผ้ ลิตเครื่องรับโทรทัศน์ ยี่ห้อต่าง ๆ เกือบทุกยี่ห้อ โดยมีต้นทุนการ ผลิตต่อ 1 ชุด เป็ นดังนี้ ค่าวัตถุทางตรง 300 บาท ค่าแรงงานทางตรง 300 บาท ต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลง 100 บาท ค่าใช้จ่ายในการขายเปลี่ยนแปลง 100 บาท รวมค่าใช้จ่ายเปลี่ยนแปลง 800 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 100 บาท ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารที่คงที่ 100 บาท รวมต้นทุน 1,000 บาท Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจรับใบสังซื ่ ้อในราคาตา่ กว่าราคาจริง (Con.) ในปั จจุบนั นี้ บริษทั ผลิตที่ กาลังการผลิต 90% และราคาขายส่ งชุดละ 1,400 บาท และทางบริษทั ได้พยากรณ์ไว้ว่าจะขายได้ประมาณ 20,000 ชุด ในช่วง 3 เดือนข้างหน้ า สมมติว่าบริษทั ผลิตเครื่องรับโทรทัศน์ ยี่ห้อ SONY ได้ติดต่อทาบทามทาสัญญา เหมาช่ ว งการผลิ ต โดยเสนอราคาแผงวงจรนี้ ชุ ด ละ 900 บาท โดยมี ช่ ว งรับ เหมา ประมาณ 3 เดือน และจะต้องผลิตให้ได้ 10,000 ชุด ถ้าท่านเป็ นหนึ่ งในคณะกรรมการ บริหารของบริษทั CRT นี้ จงตัดสินใจว่าจะรับราคาที่ เสนอมานี้ หรือไม่ โดยเขียนงบ กาไรขาดทุนแสดงผลการตัดสินใจนัน้
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจรับใบสังซื ่ ้อในราคาตา่ กว่าราคาจริง (Con.) งบกาไรขาดทุนในช่วง 3 เดือนข้างหน้ า บริษทั Thai CRT จากัด (กรณี ผลิตปกติไม่รบั ใบสังซ้ ่ อจากบริษทั SONY) รายได้จากการขายปัจจุบนั หัก ต้นทุนเปลี่ยนแปลงทัง้ หมด ต้นทุนคงที่ทงั ้ หมด กาไรจากการผลิตและจาหน่ าย
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
28,000,000 บาท
16,000,000 4,000,000
20,000,000 บาท 8,000,000 บาท
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสินใจรับใบสังซื ่ ้อในราคาตา่ กว่าราคาจริง (Con.) งบกาไรขาดทุนในช่วง 3 เดือนข้างหน้ า บริษทั Thai CRT จากัด (กรณี รบั ใบสังซื ่ ้อจากบริษทั SONY) รายได้จากการขายปัจจุบนั บวก รายได้จากการขายให้บริษทั SONY รวมรายได้ทงั ้ หมด หัก ต้นทุนเปลี่ยนแปลงทัง้ หมด ต้นทุนคงที่ทงั ้ หมด กาไรจากการผลิตและจาหน่ าย
28,000,000 บาท 9,000,000 บาท 37,000,000 บาท 24,000,000 4,000,000
28,000,000 บาท 9,000,000 บาท
จากงบกาไรขาดทุนทัง้ 2 กรณี นี้จะแสดงให้เห็นว่าการรับผลิตให้บริษทั SONY นี้ ถึงแม้ว่า ราคาจะตา่ กว่าทุนปัจจุบนั ก็ยงั ทาให้บริษทั มีกาไรเพิ่มขึน้ อีก 1,000,000 บาทต่อปี แต่ อย่างไรก็ตามควรจะพิจารณาถึงผลกระทบด้านอื่น ๆ ด้วยว่าจะเกิดผลเสียหรือไม่ Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
13.4
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ
ตัวอย่างที ่ 13.3 บริษทั Press Company เป็ นบริษทั ที่ผลิตเกี่ยวกับเครื่องอัดขึน้ รูปโลหะ และทองเหลือง โดยเมื่อปี ที่ผา่ นมาบริษทั ได้ผลิตชิ้นส่วนซึ่งจะใช้ประกอบในผลิตภัณฑ์เอง ด้วยเพื่อป้ องกันการขาดตลาด ซึ่งข้อมูลการผลิตและขายเป็ นดังนี้ ชิ้นส่วนประกอบ ขาย 5,000 หน่ วยๆ 10,000 บาท ต้นทุนผันแปร วัตถุทางตรง แรงงานทางตรง โสหุ้ยการผลิตที่เปลี่ยนแปลง ต้นทุนผันแปรอื่นๆ ค่านายหน้ า (10% ของยอดขาย) รวมต้นทุนผันแปร ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่คงที่ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่คงที่ รวมต้นทุนคงที่ กาไรสุทธิ Cost and Budget Analysis (IE 255432)
5,000,000 3,000,000 600,000 8,600,000 1,000,000 1,000,000
ผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ 50,000,000 50,000,000 20,000,000 4,000,000 500,000 500,000 5,000,000 30,000,000 900,000 800,000 17,00,000
25,000,000 7,000,000 1,100,000 500,000 5,000,000 38,600,000 1,900,000 800,000 2,700,000 8,700,000
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) จากข้อมูลดังกล่าวอยากทราบว่า 1. ในระหว่างปี มีลกู ค้าได้เสนอขอซื้อผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป 1,000 ชุดในราคา 8,000,000 บาท นอกเหนื อจากการขายปกติ 5,000 ชุด แต่ประธานของบริษทั ปฏิเสธการเสนอซื้อ ดังกล่าวโดยให้เหตุผลว่า “ ราคาที่เสนอตา่ กว่าต้นทุนถึงชุดละ 260 บาท ” ท่านคิดว่าการ จัดสินใจของประธานบริษทั นัน้ ถูกต้องหรือไม่
งบกาไรขาดทุนกรณีทไี่ ม่ รับใบสั่ งซื้อพิเศษ รายได้ปกติ
50,000,000 บาท
หักต้นทุนผันแปร
38,600,000
ต้นทุนคงที่
2,700,000
กาไรรวม
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
41,300,000 บาท 8,700,000 บาท ©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) งบกาไรขาดทุนกรณีรับใบสั่ งซื้อพิเศษ รายได้ปกติ
50,000,000 บาท
บวก รายได้พิเศษ หัก ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ กาไรรวม
8,000,000 บาท 46,320,000 2,700,000
49,020,000 บาท 8,980,000 บาท
จากงบกาไรขาดทุนทัง้ 2 กรณี นี้แสดงให้เห็นว่าการรับข้อเสนอในการผลิตเพิ่ม อีก 1,000 ชุด นัน้ ถึงแม้ว่าจะเป็ นราคาที่ตา่ หว่าทุนปัจจุบนั แต่กท็ าให้บริษทั มีกาไร เพิ่มขึน้ อีก 280,000 บาท เมือปี ที่ผา่ นมา ดังนัน้ ถ้าจะมองด้านเศรษฐศาสตร์แล้ว ประธานบริษทั จึงตัดสินใจผิดที่ไม่รบั ข้อเสนอดังกล่าวอย่างไรก็ตามต้องพิจารณา ปัจจัยภายนอกประกอบด้วย Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) 2. ในปี ที่ผา่ นมามีผผู้ ลิตภายนอกเสนอขายชิ้นส่วนให้บริษทั 5,000 ชิ้น ในราคาชิ้น ละ 1,800 บาท กาไรของบริษทั จะเป็ นเท่าไรถ้าบริษทั รับข้อเสนอนัน้ ถ้าบริษทั ซื้อชิ้นส่วนประกอบแทนการผลิตเอง 5,000 ชิ้น ๆ ละ 1,800 บาท เป็ นเงิน 9,000,000 บาท แทนการผลิตชิ้นส่วนประกอบเองซึ่งต้องผลิต 5,000 ชิ้น ๆ ละ 1,920 บาท เป็ นเงิน 9,600,000 บาท แต่อย่างไรก็ตามบริษทั มีเงินจานวนหนึ่ งเป็ นต้นทุนคงที่ต้องเสียชิ้นส่วนอยู่แล้วแม่ ไม่ผลิตชิ้นส่วนประกอบเลยอีก 1,000,000 บาท ดังนัน้ ถ้าบริษทั รับข้อเสนอดังกล่าวบริษทั จะมีกาไรลดลงไป 400,000 บาท (จาก 1,000,000 – 600,000) นัน่ คือจะมีกาไร 8,300,000 บาทในปี ที่ผา่ นมา
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) สรุปผลการคานวณ พิจารณางบกาไรขาดทุนของบริษทั ในแต่ละกรณี ต่อไปนี้
งบกาไรขาดทุนของบริษัท กรณีผลิตผลิตภัณฑ์ ตามเดิม (ซื้อชิ้นส่ วนประกอบจากผู้ผลิตอืน่ ) รายได้จากการขาย 5,000 ชุด ๆ ละ 10,000 บาท หัก ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ กาไรของบริษทั
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
50,000,000 บาท 39,000,000 2,700,000
41,700,000 บาท
8,300,000 บาท ©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Thippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) 3. ถ้าบริษทั ตัดสินใจรับข้อเสนอในข้อ 2 และนาพื้นที่ที่เคยผลิตชิ้นส่วนประกอบนัน้ มาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ได้ 2,000 ชุด (สมมติว่าขายได้ทงั ้ หมด และไม่มีผลกระทบ ต่อผลิตภัณฑ์ปกติ 5,000 ชุด) โดยมีต้นทุนผันแปรชุดละ 7,000 บาท ไม่รวมถึงค่าชิ้นส่วน ประกอบที่ ต้องซื้อในราคาชุดละ 1,800 และค่าขายหน้ าอี ก 10% ตามสัญญา ทางบริษัท กาหนดราคาขายไว้ชุดละ 12,000 บาท ถ้าต้นทุนคงที่ของแผนกชิ้นส่วนประกอบเดิมยังมี อยู่ กาไรสุทธิของบริษทั จะเป็ นเท่าไรและควรจะผลิตผลิตภัณฑ์พิเศษนัน้ หรือไม่
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) งบกาไรขาดทุนของบริษัท กรณีผลิตผลิตภัณฑ์ พเิ ศษเพิม่ (ซื้อชิ้นส่ วนประกอบมาจากผู้ผลิตอืน่ ) รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์เดิม 5,000 ชุด ๆ ละ 10,000 บาท
50,000,000 บาท
บวก รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์พิเศษ 2,000 ชุด ๆ ละ 12,000 บาท
24,000,000 บาท
หัก ต้นทุนผันแปรของผลิตภัณฑ์เดิม
39,000,000
ต้นทุนผันแปรของผลิตภัณฑ์พิเศษ
14,000,000
ค่าชิ้นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์พิเศษ
3,600,000
ค่านายหน้ า 10% ของยอดขายผลิตภัณฑ์พิเศษ
2,400,000
ต้นทุนคงที่ทงั ้ หมด
2,700,000
กาไร Cost and Budget Analysis (IE 255432)
61,700,000 บาท 12,300,000 บาท
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจผลิตเองหรือซื้อ (Con.) จากงบกาไรขาดทุนทัง้ 2 กรณี นี้จะเห็นว่าการที่บริษทั เพิ่ม ผลิ ต ผลิ ต ภัณ ฑ์พิ เ ศษนั น้ จะท าให้ บ ริ ษัท ได้ ร บั ก าไรเพิ่ ม ขึ้ น อี ก 4,000,000 บาทต่ อ ปี ดัง นั ้น จึ ง กล่ า วได้ ว่ า ถ้ า วิ เ คราะห์ ใ นด้ า น เศรษฐศาสตร์แล้วบริษทั ควรซื้อชิ้นส่วนจากบริษทั ผู้ผลิตอื่นแล้ว นาพืน้ ที่ส่วนนัน้ ไปผลิตผลิตภัณฑ์พิเศษจะดีกว่า ตอบ
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Thippayawong Dec, 2011
13.5
การตัดสิ นใจเลิกหรือยุบกิจกรรมทีด่ าเนินอยู่
ตัวอย่าง 13.4 โรงงาน Super Toys ทาการผลิตของเล่น 4 ชนิดคือ รถยนต์บงั คับวิทยุ รถไฟ เครื่องบินบังคับวิทยุ และเรือดาน้า ซึ่งมีรายละเอียดการผลิตเป็ นดังนี้ ผลิตภัณฑ์ รถยนต์บงั คับ
ยอดขาย
รถไฟ
เครื่องบินบังคับ
เรือดาน้า
80,000,000
25,000,000
80,000,000
24,000,000 บาท
100,000
50,000
80,000
30,000 หน่ วย
60,000,000
15,000,000
55,000,000
19,000,000 บาท
500,000
500,000
500,000
500,000 บาท
รวมต้นทุนแปรผัน
60,500,000
15,500,000
55,500,000
19,500,000 บาท
กาไรส่วนเกิน
19,500,000
12,500,000
24,500,000
4,500,000 บาท
หน่ วยขาย ต้นทุนผันแปร
วัตถุทางตรง แรงงานทางตรง
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจเลิกหรือยุบกิจกรรมทีด่ าเนินอยู่ (Con.) ถ้าบริษทั มีค่าใช้จ่ายคงที่ทงั ้ หมดเป็ น 40,000,000 บาทเมื่อปี ที่ผา่ นมาประธานบริษทั ได้คิดที่จะเลิกผลิตเรือดาน้าเพราะเมื่อแยกวิเคราะห์แล้วพบว่า การผลิตเรือดาน้าทาให้ ขาดทุน เนื่ องจากเมื่อแบ่งค่าใช้จ่ายคงที่ตามส่วนของต้นทุนแปรผันจะเป็ นของเรือดาน้า ประมาณ 5.17 ล้านบาท ทาให้การผลิตเรือดาน้าจะทาให้บริษทั ขาดทุนไปปี ละประมาณ 670,000 บาท เมื่อประธานบริษทั คานวณได้ดงั นี้ จึงได้ตดั สินใจพูดเรื่องนี้ ในที่ประชุม ถ้า หากท่านเป็ นคณะบริหารของบริษทั ดังกล่าวท่านชี้แจงอย่างไรเพื่อให้ประธานบริษทั เข้าใจ ว่าควรจะยกเลิกผลิตเรื่อดาน้าตามที่ประธานบริษทั เข้าใจหรือไม่
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Thippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจเลิกหรือยุบกิจกรรมทีด่ าเนินอยู่ (Con.) การคานวณ ต้องแสดงให้ประธานบริษทั ทราบดังนี้ การวิเคราะห์ทีผ่ ิ ดวิธีของประธานบริษทั ผลิตภัณฑ์ รถยนต์บงั คับ
รถไฟ เครื่องบิน บังคับ เรือดาน้า
ต้นทุน อัตราต้นทุน เปลี่ยนแปลง คงที่ 80,000,000 60,500,000 60,500,000 x 151,000,000 25,000,000 15,500,000 15,500,000x 151,000,000 80,000,000 55,500,000 55,500,000x 151,000,000 24,000,000 19,500,000 19,500,000x 151,000,000 151,000,000 ยอดขาย
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
แบ่งต้นทุน กาไร ต้นทุนขาย คงที่ (ขาดทุน) 40,000,000 = 16,030,000 76,530,000 5,470,000 ต้นทุนคงที่
40,000,000 = 4,110,000
19,610,000 5,390,000
40,000,000 = 14,700,000
70,200,000 9,800,000
40,000,000 = 5,170,000
24,670,000 (670,000)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
การตัดสิ นใจเลิกหรือยุบกิจกรรมทีด่ าเนินอยู่ (Con.) การแบ่งต้นทุนคงที่ออกเป็ นของแต่ละผลิตภัณฑ์ตามแนวความคิดของประธาน บริษทั เป็ นที่ผิด เพราะค่าใช้จ่ายคงที่นัน้ ถึงแม้จะไม่ผลิตก็จะต้องจ่ายอยู่แล้ว ดังนัน้ วิธีคิดที่ ถูกต้องคือพิจารณากาไรส่วนเกินดังนี้ ผลิตภัณฑ์ รถยนต์บงั คับ รถไฟ เครื่องบินบังคับ เรือดาน้า รวมกาไรส่วนเกิน หักต้นทุนคงที่ กาไรสุทธิ
ยอดขาย 80,000,000 25,000,000 80,000,000 24,000,000
ต้นทุนเปลี่ยนแปลง 60,500,000 15,500,000 55,500,000 19,500,000
กาไรส่วนเกิน 19,500,000 บาท 9,500,000 บาท 24,500,000 บาท 4,500,000 บาท 58,000,000 บาท 40,000,000 บาท 18,000,000 บาท
จะเห็นว่าโดยแท้จริงแล้วการผลิตเรือดาน้าจะทาให้บริษทั มีกาไรเพิ่มถึง ปี ละ 4,500,000 บาท ดังนัน้ วิธีที่ท่านประธานคิดจึงไม่ถกู ต้อง Cost and Budget Analysis (IE 255432)
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Tippayawong Dec, 2011
THE END
Cost and Budget Analysis (IE 255432)
LOGO
©Copyright Original Work by K.Yaibuathet Thippayawong Dec, 2011