1. 2. 3. - med.swu.ac.th

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ...

8 downloads 880 Views 175KB Size
มอค.3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา ภส 203 เภสัชวิทยาสาหรับพยาบาล PM 203 Pharmacology for Nurses 2. จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง 1.อาจารย์ ดร.ยามาระตี จัยสิน ผู้รับผิดชอบรายวิชา 2.รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์ผู้สอน ลัดดาวัลย์ ผิวทองงาม 3.รองศาสตราจารย์ อาจารย์ผู้สอน ดร.วิไล รัตนตยารมณ์ 4.รองศาสตราจารย์ อาจารย์ผู้สอน ดร.สุวรา วัฒนพิทยกุล 5.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ผู้สอน ดร.ปัทมา ลี้วนิช 6.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ผู้สอน ดร.อรพิณ วงศ์สวัสดิ์กุล 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ประจาภาคการศึกษาปลาย ชั้นปีที่ 2 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) สรีรวิทยาสาหรับพยาบาล 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) 8. สถานที่เรียน คณะพยาบาลศาสตร์ ห้องเรียน 323 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด -

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

E-mail-address [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected]

1

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายหลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา การเกิดอาการไม่พึงประสงค์และปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา 2. อธิบายรูปแบบของยา การแบ่งประเภทของยา รูปแบบและวิธีการ บริหารยา และสามารถอ่านใบสั่งยาได้ 3. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยา ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ผลข้างเคียงและปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา ที่สาคัญ ของยาในระบบต่างๆ 4. มีความรับผิดชอบ มีความตรงต่อเวลา และสามารถทางานร่วมกันเป็นทีมได้ 5. มีทักษะและความสามารถในสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 6. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา เป็นวิชาที่สอนให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางเภสัชวิทยา ได้แก่ กระบวนการที่ร่างกายนายา ไปสู่ตาแหน่งที่ออกฤทธิ์และกระบวนการทาให้ยาหมดฤทธิ์จากร่างกาย กลไกการออกฤทธิ์ของยาที่ทาให้เกิดทั้งฤทธิ์ที่ พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา พิษวิทยาพื้นฐาน การใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ ได้แก่ หญิง ตั้งครรภ์ เด็ก และคนสูงอายุ รูปแบบยาเตรียม การเขียนใบสั่งยา การออกฤทธิ์ของยาแก้ปวด ลดไข้ และต้านอักเสบ การออกฤทธิ์ของยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อและมะเร็ง และการออกฤทธิ์ของยาต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย ได้แก่ ระบบ ประสาทออโตโนมิค ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบทางเดินอาหาร และระบบต่อมไร้ท่อ 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน 42 ชั่วโมง 17 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ต่อภาคการศึกษา 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล รายวิชา ภส 203 ได้จัดเวลาให้นิสิตได้ซักถาม ขอคาปรึกษาและคาแนะนาได้จากอาจารย์ทุกครั้งที่มีการสอน 1015 นาที นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถติดต่อผู้สอนเพื่อขอคาปรึกษาหรือแนะนานอกเวลาเรียนด้วยการมาพบผู้สอนด้วย ตนเองหรือโดยการติดต่อสื่อสารด้วยวิธีอื่น เช่น โทรศัพท์ อีเมล์ หรือ Facebook

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสติ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และการปฏิบัติงาน 1.2 วิธีการสอน 1. มอบหมายงานการทารายงานกลุ่มและกาหนดวันส่งรายงาน 1.3 วิธีการประเมินผล 1. ประเมินจากการส่งรายงานตรงตามเวลา โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากแบบฟอร์มการประเมินผลการ ทารายงานรายวิชา ภส 203 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2. มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง 2.2 วิธีการสอน 1. ใช้การสอนแบบบรรยาย และใช้สื่อการเรียนการสอนแบบต่าง ประกอบการบรรยายเพื่อให้เข้าใจง่าย 2.3 วิธีการประเมินผล 1. การสอบวัดความรู้ภาคบรรยาย 2. ประเมินจากคุณภาพของรายงานที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากแบบฟอร์มการประเมินผลการ ทารายงานรายวิชา ภส 203 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 2. สามารถสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลได้ 3.2 วิธีการสอน 1. มอบหมายการทารายงานกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะและความสามารถในสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3.3 วิธีการประเมินผล 1. ประเมินจากความเหมาะสมของเอกสารอ้างอิงและคุณภาพของรายงานที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้เกณฑ์การ ประเมินจากแบบฟอร์มประเมินผลการทารายงานรายวิชา ภส 203 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5. สามารถใช้รูปแบบต่างๆ ในการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศได้อย่างมีคุณภาพ 5.2 วิธีการสอน 1. การมอบหมายให้ทาแบบทดสอบใน A-Tutor รายวิชา ภส203 2. มอบหมายการทารายงานกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสืบค้น ข้อมูล และนามาใช้อ้างอิงในการทารายงาน

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

3

5.3 วิธีการประเมินผล 1. จานวนครั้งที่นิสิตเข้าทาแบบทดสอบใน A-Tutor รายวิชา ภส203 2. ประเมินจากคุณภาพของรายงานที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากแบบฟอร์มประเมินผล การทารายงานรายวิชา ภส 203

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

4

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 5 6

หัวข้อ/รายละเอียด

จานวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)

ผู้สอน

-Introduction to Pharmacology -Drug formulations -Prescription writing -Pharmacokinetics

1 1 1 3

บรรยาย อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.ยามาระตี

บรรยาย อภิปราย ซักถาม

ผศ.ดร.ปัทมา

-Pharmacokinetics -Adverse drug reaction and Drug interaction -ANS & NMJ drugs

2 1

บรรยาย อภิปราย ซักถาม

ผศ.ดร.ปัทมา

3

อ.ดร.ยามาระตี

-Respiratory drugs, Histamine and antihistamines

3

บรรยาย อภิปราย ซักถาม บรรยาย อภิปราย ซักถาม

Exam I ลาดับที่ 1 - 5 (75 คะแนน) 1 บรรยาย อภิปราย ซักถาม 2 3 บรรยาย อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.ยามาระตี

7

-Diuretics -CVS I -CVS II

8

-CNS I

3

บรรยาย อภิปราย ซักถาม

ผศ.ดร.อรพิณ

9

-CNS II

3

บรรยาย อภิปราย ซักถาม

ผศ.ดร.อรพิณ

Exam II ลาดับที่ 6-9 (60 คะแนน) 3 บรรยาย อภิปราย ซักถาม

10

-Hormone drugs

11

-Chemotherapy I 3 บรรยาย อภิปราย ซักถาม (Antibacterials and anti-TB) -Chemotherapy II 3 บรรยาย อภิปราย ซักถาม (Antiviral, antiprotozoal, antifungal, anthelminthic and anticancer agents) -GI drugs 1.5 บรรยาย อภิปราย ซักถาม -Non-narcotic analgesics 1.5 -Drugs used in pregnancy and 1 บรรยาย อภิปราย ซักถาม breast feeding -Drugs used in pediatrics and 1 geriatrics -Toxicology 1 Exam III ลาดับที่ 10 - 14 (75 คะแนน)

12

13 14

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อ.ดร.ยามาระตี ผศ.ดร.อรพิณ

อ.ดร.ยามาระตี ผศ.ดร.อรพิณ ผศ.ดร.อรพิณ

ผศ.ดร.ปัทมา รศ.ดร.วิไล

5

2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ภาคบรรยาย การทารายงาน

การทาแบบทดสอบใน A-Tutor

ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมิน

ความรู้ -ความรู้ -ทักษะทางปัญญา -คุณธรรม จริยธรรม -ทักษะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ

-การสอบวัดความรู้ครั้งที่ 1-3 -ประเมินรายงานกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์การประเมินจาก แบบฟอร์มประเมินผลการทา รายงานรายวิชา ภส 203 -จานวนครั้งที่เข้าทาแบบ ทดสอบทั้งหมด 3 ครั้ง

สัดส่วนของการ ประเมินผล 85 % 10 %

5%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตาราหลัก 1. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “เภสัชวิทยา” โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: ปทุมวัน กทม , 2552 2. ผศ.ดร.นพ. ณัฐวุธ สิบหมู่ “เภสัชวิทยา เนื้อหาสาคัญและแบบฝึกหัด” กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง, 2552 3. Katzung BG. Basic and clinical pharmacology 11th ed., New York, McGraw-Hill, 2009 4. Bruton LL, Lazo JS, Parker KL. Goodman & Gilman's The Pharmacological Basis of Therapeutics. 11th ed., McGraw Hill, 2012 5. Brenner MG, Stevens C (editors). Pharmacology: With Student consult. 3th ed. Saunder Elsevier, 2011 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ไม่มี 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ต่างๆ ที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนิสิตควรศึกษาเพิ่มเติม 1)http://www.accessmedicine.com หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต 1.ใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาโดยนิสิต 2. ทาการประเมินทันทีหลังจากการสอนหรือเมื่อการจัดการเรียนการสอนสิ้นสุดลง 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน 1. ใช้แบบประเมินผู้สอนโดยนิสิต 2. ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ 3. ผลการเรียนของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

6

3. การปรับปรุงการสอน 1. ทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอนโดยแจ้งผลการประเมินให้ผู้สอน พิจารณาปรับปรุงและนาผลการประเมินรายวิชา มาเป็นแนวทาง 2. วิเคราะห์ผลและปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตเพื่อนามาปรับปรุงรายวิชา 3. นาเข้าที่ประชุมเพื่อพิจารณาโดยคณะกรรมการรายวิชา 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา 1. ทวนสอบข้อสอบว่าสอดคล้องตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 2. หลังจากได้ผลคะแนนโดยการตรวจผ่านเครื่อง ทาการทวนสอบผลคะแนนการสอบ โดยใช้วิธีการตรวจซ้า 2 ครั้ง 3. ประชุมพิจารณาคะแนนและการตัดเกรด

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

7