ACDSee PDF Image. - สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

๗ บทเจริญพระพุทธมนต์. สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก. ทะสะสะตะสะ หัสสานิ. นะมามิ สิระสา อะหัง. เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหั...

83 downloads 376 Views 3MB Size
สารบัญ หน้า มติมหาเถรสมาคม บทนมัสการพระรัตนตรัย บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า บทพระไตรสรณคมน์ บทนมการสิทธิคาถา (สัมพุทเธฯ) บทนมการสิทธิคาถา (โย จักขุมาฯ) บทนโมการอัฏฐกคาถา บทมงคลสูตร บทรตนสูตร บทกรณียเมตตสูตร บทขันธปริตร บทโมรปริตร บทวัฏฏกปริตร บทอนุสสรณปาฐะ บทอาฏานาฏิยปริตร บทโพชฌังคปริตร บทอภยปริตร บทสักกัตวา บทนัตถิ เม บทยังกิญจิ บทมงคลจักรวาฬใหญ่

๑ ๔ ๕ ๕ ๖ ๘ ๑๑ ๑๒ ๑๖ ๒๐ ๒๔ ๒๖ ๒๙ ๓๑ ๓๔ ๓๗ ๔๑ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖

บทเทวตาอุยโยชนคาถา บทภูมิพลมหาราชวรัสสะ ชยมงคลคาถา บทพุทธชัยมงคลคาถา บทภวตุ สัพ บทนักขัตตะยักษ์ บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

หน้า ๔๘ ๕๑ ๕๖ ๖๑ ๖๒ ๖๓

มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๖ สานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๕๗๐/๒๕๕๖ เรื่อง ขอความเห็นชอบกาหนดวันจัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์เจริญจิตตภาวนา ถวายพระพรชัยมงคล และถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในการประชุมมหาเถรสมาคมครั้งที่ ๒๗/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เลขาธิการมหาเถรสมาคมเสนอว่า ตามที่มหาเถรสมาคมได้มีมติครั้งที่ ๒/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๔ เรื่องขอความเห็นชอบกาหนดวันจัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ เฉลิม พระเกีย รติพ ระบาทสมเด็จ พระเจ้า อยู่หัว เนื่อ งในโอกาสพระราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ที่ประชุมพิจารณาแล้วลงมติให้ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติประสาน พระพรหมสุธี และ พระพรหมมุนี เพื่อพิจารณาแล้วนาเสนอมหาเถรสมาคม นั้น บัดนี้ พระพรหมสุธี และ พระพรหมมุนี ได้กาหนดวัน จัดพิธี เจริญพระพุทธมนต์เจริญจิตตภาวนา ถวายพระพรชัยมงคลและถวายเป็นพระราชกุศลแด่

๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๗ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จานวน ๑๒ ครั้ง คือ ครั้งที่ ๑ วันอาทิตย์ ที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๒ วันพุธ ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๓ วันพุธ ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๔ วันเสาร์ ที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๕ วันพุธ ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. หมายเหตุ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ตรงกับวันฉัตรมงคล ครั้งที่ ๖ วันพฤหัสบดี ที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๗ วันเสาร์ ที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๘ วันอังคาร ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๙ วันศุกร์ ที่ ๕ กันยายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๑๐ วันอาทิตย์ ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๑๑ วันพุธ ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. ครั้งที่ ๑๒ วันพฤหัสบดี ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. และเห็นควรดาเนินการเพื่อประกอบพิธีตามวันและเวลาดังกล่าว ดังนี้ ๑. ให้พระสังฆาธิการ ทุกระดับ ทุกรูป ในเขตกรุงเทพมหานคร ไปเจริญพระพุทธมนต์และเจริญจิตตภาวนา เพื่อถวายพระพรชัยมงคลและถวายเป็น พระราชกุศล ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ๒. ให้วัดทุกวัดในราชอาณาจักรและในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ประกอบพิธีมหามงคลเจริญพระพุทธมนต์และเจริญจิตตภาวนา เพื่อถวายพระพรชัยมงคล และถวายเป็นพระราชกุศลตามคู่มือประกอบพิธีมหามงคลที่มหาเถรสมาคมได้จัดพิมพ์ ถวายไว้แล้ว ๓. ให้สานักปฏิบัติธรรมประจาจังหวัด ตามมติมหาเถรสมาคม จัดให้ มีการปฏิบัติธรรมในช่วงวันดังกล่าว แต่ละครั้ง ตามความเหมาะสม ๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

๔. ให้วัดทุกวัดเจริญจิตตภาวนา เพื่อถวายพระพรชัยมงคลและถวาย เป็นพระราชกุศลหลังจากทาวัตรสวดมนต์เย็น ตลอดปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ ๕. มอบ พระพรหมเวทีพระพรหมวชิรญาณ พระพรหมสุธี พระพรหมเมธี และพระพรหมมุนี เป็นผู้ประสานงานให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะ แก่เจ้าคณะ ผู้ปกครองรวมทั้งประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงานในส่วนกลาง ๖. ให้สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติแจ้งสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด เพื่อประสานงานกับเจ้าคณะจังหวัด หน่วยงาน และองค์กรทางพระ พุทธ ศาสนาในจังหวัดนั้น ๆ ในการประกอบพิธีมหามงคล ที่ประชุมพิจารณาแล้วลงมติเห็นชอบ และให้สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ แจ้งเจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาค และรองเจ้าคณะภาค เพื่อทราบ แจ้งเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร ทั้ง ๒ ฝ่าย เพื่อแจ้งให้พระสังฆาธิการทุกระดับ ทุกรูป ในเขตกรุงเทพมหานคร ไปเจริญพระพุทธมนต์และเจริญจิตตภาวนา ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันและเวลาดังกล่าว และแจ้งเจ้าคณะจังหวัดทุกจังหวัดทราบ เพื่อแจ้งวัดทุกวัดในเขตปกครองทราบและปฏิบัติตามมติมหาเถรสมาคม พร้อมทั้ ง แจ้งวัดไทยในต่างประเทศทุกวัดดาเนินการ

(นายนพรัตน์ เบญจวัฒนานันท์) เลขาธิการมหาเถรสมาคม

๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทนมัสการพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ ๑ หน) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ ๑ หน) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ ๑ หน)

คาแปล พระผูม้ พี ระภาคเจ้า เป็ นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ส้นิ เชิง ตรัสรูช้ อบได้โดยพระองค์เอง ข้าพเจ้าอภิวาทพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ผูร้ ู ้ ผูต้ ่นื ผูเ้ บิกบานด้วยธรรม ฯ (กราบ ๑ หน) พระธรรม เป็ นธรรมอันพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม ฯ (กราบ ๑ หน) พระสงฆ์สาวก ของพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ปฏิบตั ดิ แี ล้ว ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ ฯ (กราบ ๑ หน) ๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสะ ฯ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสะ ฯ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสะ ฯ

คาแปล ขอนอบน้อ มแด่พระผู ม้ พี ระภาคเจ้า พระองค์น นั้ ซึ่ง เป็ น ผูไ้ กลจากกิเลส ตรัสรูช้ อบได้ดว้ ยพระองค์เอง ฯ (ว่า ๓ จบ)

บทพระไตรสรณคมน์

ทุตยิ มั ปิ ทุตยิ มั ปิ ทุตยิ มั ปิ ตะติยมั ปิ ตะติยมั ปิ ตะติยมั ปิ

พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง

สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง

๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ ฯ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ ฯ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ ฯ

คาแปล

แม้ครัง้ ทีส่ อง แม้ครัง้ ทีส่ อง แม้ครัง้ ทีส่ อง แม้ครัง้ ทีส่ าม แม้ครัง้ ทีส่ าม แม้ครัง้ ทีส่ าม

ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า

ขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระธรรม ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระธรรม ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระธรรม ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็ นทีพ่ ง่ึ ฯ

บทนมการสิทธิคาถา (สัมพุทเธ ฯ)

บทนมัสการพระพุทธเจ้าทัง้ หลายในอดีต เป็ นบทนมัสการเก่าที่พระสงฆ์ใช้เจริญมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา

สัมพุทเธ สัมพุทเธ อัฏฐะวีสญั จะ ปัญจะสะตะสะหัสสานิ เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ นะมะการานุ ภาเวนะ อะเนกา อันตะรายาปิ

ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก นะมามิ สิระสา อะหัง อาทะเรนะ นะมามิหงั หันต๎วา สัพเพ อุปทั ทะเว วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวสี ะติสะหัสสะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั นะมะการานุ ภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปทั ทะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬสี ะสะหัสสะเก วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั นะมะการานุ ภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปทั ทะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

คาแปล ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ด ว้ ยเศีย รเกล า้ ขอนอบน อ้ มพระธรรมด ว้ ย พระสงฆ์ด ว้ ย ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านัน้ ด้วยความเคารพ ด้วยอานุ ภาพแห่ง การกระทาความนอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็ นมงคลทัง้ ปวง แม้อนั ตรายทัง้ หลาย เป็ นอเนก จงพินาศไปสิ้น

๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองค์ ด้ว ยเศี ย รเกล้า ขอนอบน้อ มพระธรรมด้ว ย พระสงฆ์ ด ว้ ย ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านัน้ ด้วยความเคารพ ด้วยอานุ ภาพแห่ ง การกระทาความนอบน้อม จงขจัดเสียซึ่ง สิ่งอันไม่เป็ นมงคลทัง้ ปวง แม้อนั ตรายทัง้ หลาย เป็ นอเนก จงพินาศไปสิ้น ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค์ ด้ว ยเศี ย รเกล้า ขอนอบน้อ มพระธรรมด้ว ย พระสงฆ์ ด ว้ ย ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านัน้ ด้วยความเคารพ ด้วยอานุ ภาพแห่ ง การท าความนอบน้อ ม จงขจัด เสีย ซึ่ง สิ่ง อัน ไม่ เ ป็ น มงคลทัง้ ปวง แม้อนั ตรายทัง้ หลาย เป็ นอเนก จงพินาศไปสิ้น เทอญ ฯ

บทนมการสิทธิคาถา (โย จักขุมา ฯ) คาถานมัสการพระรัตนตรัย เพือ่ ให้สาเร็จในสิง่ ปรารถนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงนิพนธ์

โย จักขุมา โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมตุ โต มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ ๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสทุ ธิมคั คัง นิ ยยานิ โก ธัมมะธะรัสสะ ธารี สาตาวะโห สันติกะโร สุจณ ิ โณ ฯ ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ สัทธัมมะเสนา สุคะตานุ โค โย โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ ส๎วากขาตะธัมมัง วิทติ งั กะโรติ ฯ สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุ พทุ ธัง สะมะสีละทิฏฐิง ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ ๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

คาแปล พระพุทธเจ้า พระองค์ใด มีพระปัญญาจักษุ ขจัดมลทิน คือโมหะได้แล้ว ตรัสรู เ้ ป็ นพระพุทธเจ้า โดยพระองค์เอง เสด็จไปดี หลุด พ้น อย่างประเสริฐ แล้ว ทรงเปลื้อ งหมู่ชนที่สามารถแนะน าได้ ให้พน้ จากบ่วงมารนามาให้ถงึ ความเกษมด้วย ข้าพเจ้า ขอน้อมนมัสการ พระพุทธเจ้าผูป้ ระเสริฐ พระองค์นนั้ ผูเ้ ป็ นที่พ่งึ และเป็ นผูน้ าชาวโลก ด้วยเดชพระพุทธเจ้าพระองค์นนั้ ขอท่านจงประสบชัยชนะ และ ขออันตรายทัง้ ปวง จงพินาศไป ฯ พระธรรมใด เป็ นประหนึ่งธงชัยของพระศาสดา พระองค์นนั้ ชี้ทางแห่งความบริสุทธิ์แก่โลก นาหมู่สตั ว์กา้ วข้ามยุคเข็ญ คุม้ ครองชน ผู ป้ ระพฤติธ รรม ผู ป้ ระพฤติดีแล้ว ย่อ มนาความสงบสุขมาให้ ข้าพเจ้าขอน้อ มนมัสการพระธรรมอัน ประเสริฐ นัน้ อัน ท าลายเสีย ซึ่งโมหะ ระงับความเร่าร้อนลงเสียได้ ด้วยเดชพระธรรมนัน้ ขอท่าน จงประสบชัยชนะ และขออันตรายทัง้ ปวง จงพินาศไป ฯ พระสงฆ์หมู่ใด เป็ น กาลังประกาศพระสัทธรรม ดาเนินชีวติ ตามแบบอย่างพระบรมศาสดาผูเ้ สด็จไปดีแล้ว ผจญเสียซึ่งอุปกิเลส อันลามกของโลก เป็ นผูส้ งบเองด้วย ทัง้ ยังสามารถแนะนาผูอ้ ่นื ให้เข้า ถึงความสงบได้ดว้ ย เผยแผ่พระธรรมทีพ่ ระบรมศาสดาประกาศดีแล้ว ให้มผี ูร้ ูต้ าม ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสงฆ์ผูป้ ระเสริฐนัน้ ผูต้ รัสรู ้ ตามพระพุทธเจ้า มีศี ล และทิฏ ฐิ เสมอกัน ด้ว ยเดชพระสงฆ์น ั้น ขอท่านจงประสบชัยชนะ และขออันตรายทัง้ ปวง จงพินาศไป เทอญ ฯ ๑๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทนโมการอัฏฐกคาถา บทนอบน้อมพระรัตนตรัย เพือ่ ให้เกิดเดชานุ ภาพ ในการเจริญพระพุทธมนต์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั

นะโม อะระหะโต สัมมานะโม อุตตะมะธัมมัสสะ นะโม มะหาสังฆัสสาปิ นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ นะโม โอมะกาตีตสั สะ นะโมการัปปะภาเวนะ นะโมการานุ ภาเวนะ นะโมการัสสะ เตเชนะ

สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิ ธะ วิสทุ ธะสีละทิฏฐิโน ระตะนัตต๎ยสั สะ สาธุกงั ตัสสะ วัตถุตต๎ยสั สะปิ วิคจั ฉันตุ อุปทั ทะวา สุวตั ถิ โหตุ สัพพะทา วิธิมห๎ ิ โหมิ เตชะวา ฯ

คาแปล

ขอนอบน้อ ม แด่ พระผู ม้ ีพระภาคอรหัน ตสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผูแ้ สวงหาประโยชน์อนั ยิง่ ใหญ่ ขอนอบน อ้ ม แด่พ ระธรรมอ นั สู ง สุด ในพระศาสนานี้ ทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ขอนอบน้อม แด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผูม้ ศี ีล และทิฏฐิ อันงดงาม การนอบน้อม แด่พระรัตนตรัยที่ปรารภแล้วว่าโอม ขอจงสาเร็จ ประโยชน์ ๑๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

ขอนอบน้อม แม้วตั ถุทงั้ สาม อันล่วงพ้นโทษตา่ ช้านัน้ ด้วยการประกาศการกระทาความนอบน้อ ม ขอสิ่ง ที่ไม่เ ป็ น มงคลทัง้ หลาย จงบาราศไป ด้วยอานุ ภาพแห่งการกระทาความนอบน้อม ขอความสุขสวัสดี จงมีทุ ก เมื่อ ด้ว ยเดชแห่ ง การกระท าความนอบน้อ ม ขอข้า พเจ้า จงเป็ นผูม้ เี ดชในการประกอบมงคลพิธเี ถิด ฯ

บทมงคลสูตร

มงคลสูตร : พระสูตรว่าด้วยมงคลแห่งชีวติ มงคลสูตร พระสุตตันตปิ ฎก ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย

มงคลสูตร เป็ นพระสู ตรว่าด้วยมงคลแห่งชีวติ การนามงคลสู ตร มาสวด ก็เพื่อจะทาให้มงคลต่างๆ ตามที่ปรากฏในพระสู ตร เกิดขึ้น กับชีวติ นอกจากนัน้ มงคลสู ตร ยังมีอานุ ภาพในการป้ องกันภัยอันตราย อันจะเกิดจากความไม่เที่ยงธรรม ของเหล่าคนพาลสันดานหยาบ ทัง้ หลาย ในงานท าบุญโดยทัว่ ไป พระสงฆ์นิ ย มสวดมงคลสู ต ร พร้อมกับเจ้าภาพจุดเทียนมงคล อันแสดงถึงความส่องสว่าง รุ่งเรือง แห่งมงคลในชีวติ การสวดมงคลสู ตรก่ อนสู ตรอื่นทัง้ หมด เป็ นการ แนะนาผูฟ้ งั ว่า ผู ท้ ่ดี าเนินชีวติ ตามหลักมงคลทัง้ ๓๘ ประการ ตามที่ พระพุทธองค์ทรงสัง่ สอนนัน้ เป็ นชีวติ ที่มมี งคล ชีวติ เช่นนี้ ไม่จาเป็ น ต้องไปแสวงหามงคลภายนอก จากที่ไหน เพราะเป็ นชีวติ ที่มีมงคล อยู ่ใ นตัว แล ว้ และหากทาได ้ ก็จ ะปราศจากทุก ข์ โศก โรค ภัย ในการดาเนินชีวติ และถึงความพ้นทุกข์ได้ในทีส่ ุด ๑๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

มงคลสูตร พะหู เทวา มะนุ สสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง ฯ

*****

อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนี ยานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิ ธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ พาหุสจั จัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสกิ ขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ มาตาปิ ตอุ ปุ ฏั ฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ คาระโว จะ นิ วาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ตะโป จะ พ๎รหั ม๎ ะจะริยญั จะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง ๑๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

นิ พพานะสัจฉิ กริ ยิ า จะ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตาทิสานิ กัตว๎ านะ สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ

เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ สัพพัตถะมะปะราชิตา ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ

คาแปล เทวดา ได้กราบทูลถามพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ด้วยคาถาว่า เทวดาและมนุ ษย์เ ป็ น อัน มาก ต่ างก็ห วัง ความสวัสดี จึง ได้ พากันคิดเรื่องมงคล คือเหตุให้ถึงความเจริญทัง้ หลาย ขอพระองค์ โปรดตรัสมงคลอันสูงสุดเถิด ฯ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ได้ตรัสสิง่ ทีเ่ ป็ นมงคลตอบว่า การไม่คบคนพาลทัง้ หลาย ๑ การคบบัณฑิตทัง้ หลาย ๑ การบูชาผูท้ ค่ี วรบูชา ๑ ทัง้ ๓ ประการนี้ เป็ นมงคลสูงสุด ฯ การอยู่ในถิน่ ทีเ่ หมาะสม ๑ ความมีบญ ุ ทีไ่ ด้ทาไว้ในกาลก่อน ๑ การวางตัวเหมาะสมชอบธรรม ๑ ทัง้ ๓ ประการนี้ เป็ นมงคลสูงสุด ฯ ความเป็ น ผู ม้ ีการศึ กษาเล่าเรียนมามาก ๑ ความเป็ น ผู ม้ ี ศิ ล ปวิทยา ๑ ความเป็ น ผู ม้ ีร ะเบียบวิน ัยที่ ไ ด้ร บั การอบรมมาดี ๑ การพูดจาปราศรัยดี ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้เป็ นมงคลสูงสุด ฯ การเลี้ยงดูบดิ ามารดา ๑ การสงเคราะห์บตุ ร ๑ การสงเคราะห์ ภรรยา ๑ การทางานไม่คงั ่ ค้าง ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้เป็ นมงคลสูงสุด ฯ ๑๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

การให้ทาน ๑ การประพฤติตามหลักธรรม ๑ การสงเคราะห์ ญาติ ท งั้ หลาย ๑ การท างานที่ป ราศจากโทษ ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้ เป็ นมงคลสูงสุดฯ การงดเว้นจากความชัว่ ๑ การบังคับตนจากการดื่มนา้ เมา ๑ ความไม่ประมาทในธรรมทัง้ หลาย ๑ ทัง้ ๓ ประการนี้ เป็ นมงคล สูงสุด ฯ การมีความเคารพ ๑ การมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๑ การมี ความสัน โดษ ๑ การมีค วามกตัญญู ๑ การฟังธรรมตามกาล ๑ ทัง้ ๕ ประการนี้เป็ นมงคลสูงสุด ฯ ความอดทน ๑ ความเป็ นผู ว้ ่านอนสอนง่าย ๑ การพบเห็น สมณะ ๑ การสนทนาธรรมตามกาล ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้ เป็ นมงคล สูงสุด ฯ การมีความเพียรเป็ นเครื่องแผดเผากิเลส ๑ การประพฤติ พรหมจรรย์ ๑ การเห็น อริย สัจ ทัง้ หลาย ๑ การทาพระนิพ พาน ให้แจ้ง ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้เป็ นมงคลสูงสุดฯ ผูท้ ่มี จี ิตถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หวัน่ ไหว ๑ จิตไม่มคี วาม โศกเศร้า ๑ จิตหมดธุ ลคี ือกิเลส ๑ จิตถึงความปลอดโปร่ ง คือ ปลอดจากกิเลสทัง้ ปวง ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้เป็ นมงคลสูงสุด ฯ เทวดา และมนุ ษย์ทงั้ หลาย พากันปฏิบตั ิตามมงคลอันเป็ น เหตุนาไปสู่ความเจริญนี้แล้ว จะเป็ นผูไ้ ม่พ่ายแพ้ขา้ ศึกทุกหมู่เหล่า ย่อมถึง ความสุขสวัสดีในที่ทุกสถาน นี้เป็ น มงคลสู งสุดของเทวดา และมนุษย์ทงั้ หลาย ฯ ๑๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทรตนสูตร รตนสูตร : พระสูตรว่าด้วยการน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ให้เกิดเป็ นอานุ ภาพ ขจัดภัยพิบตั ทิ ง้ั มวล พระสุตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และปรมัตถโชติกา อรรถกถาขุททกนิกาย สุตตนิบาต จุลวรรค

รตนสูตร เป็ นพระสู ตรที่พระอานนทเถระ เรียนจากพระพุทธองค์ โดยตรง เพื่อใช้สวดขจัดปัด เป่ าภัยพิบตั ิ ที่เกิดกับชาวกรุงเวสาลี พระพุท ธองค์ท รงแนะน าให้พ ระเถระ อ้า งคุ ณ ของพระรัต นะ คื อ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ทาสัจกิริยาให้เกิดเป็ นอานุ ภาพ ขจัด ปัดเป่ าภัยพิบตั ิทงั้ หลาย เนื้อความรตนสู ตร ท่อนแรก เริ่มต้น ด้วยการแนะนาให้เหล่าภูตทัง้ หลายได้อนุ โมทนาบุญกุศลที่หมู่มนุ ษย์ อุทิศให้ และเมื่ออนุ โมทนาแล้ว ขอให้เกิดความเมตตา ทาการรักษา มนุ ษย์ทงั้ หลาย เนื้อความท่อนต่อมา เป็ นการอ้างคุณพระรัตนตรัย เป็ น สัจ วาจา ให้เ กิด ความสวัส ดี ส่ ว นท่ อ นสุ ด ท้า ยเป็ น ค ากล่า ว ของท้าวสักกะทีผ่ ูกขึ้นเป็ นคาถาพรรณนาคุณพระรัตนตรัยเป็ นสัจวาจา ให้เ กิ ด ความสวัส ดี ภายหลัง ได้ก ลายเป็ น แบบอย่ า ง ในการท า นา้ พระพุทธมนต์ สาหรับพระสงฆ์สาวก ต่อมาจนถึงปัจจุบนั ทุกครัง้ ทีม่ กี ารทานา้ พระพุทธมนต์ จะต้องสวดรตนสูตร ๑๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

ด้วยอานุ ภาพแห่งรตนสู ตรนี้ แม้กรุงเวสาลีจะเกิดภัยพิบตั ิ อย่างร้ายแรง ผูค้ นอดอยากล้มตาย เป็ นจานวนมาก ซากศพถูกทิ้ง เกลื่อ นนครภูตผีปีศาจทาอันตรายแก่ หมู่ม นุ ษย์ โรคระบาดเกิดขึ้น แพร่ กระจายไปทัว่ ผู ค้ นล้ม ตายเหลือ ที่จะนับได้ เมื่อ พระพุทธองค์ ทรงรับสัง่ ให้พระอานนทเถระสวดรตนสู ตร และประพรมนา้ พระพุทธมนต์ ภัยพิบตั ิร า้ ยแรงเช่ นนี้ ก็ยงั ระงับลงได้ อย่างฉับ พลัน จุด ประสงค์ ของการสวดรตนสู ตร ก็เพื่อ เป็ น การขจัดภัยทัง้ ๓ ประการ ตามที่ ปรากฏในพระสู ตร คือข้าวยากหมากแพง (ทุพภิกขะภัย) ๑ ภูตผีปีศาจ ท าอัน ตราย (อะมะนุ ส สะภัย ) ๑ โรคภัย ไข้เ จ็ บ (โรคะภัย ) ๑ ให้ อันตรธานไป

รตนสูตร (ย่อ)

ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรงั วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณี ตงั นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทมั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณี ตงั ยะทัชฌะคา สักย๎ ะมุนี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ๑๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณ ั ณะยี สุจงิ สะมาธิมานันตะริกญั ญะมาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิ กกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปตั ตา อะมะตัง วิคยั หะ ลัทธา มุธา นิ พพุตงิ ภุญชะมานา อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรตั ตะจิตตายะติเก ภะวัสม๎ ิง เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉนั ทา นิ พพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ๑๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

คาแปล ทรัพ ย์อ ย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ในโลกนี้ หรื อ โลกอื่น หรื อ รัต นะ อัน สู ง ค่ า ในสรวงสวรรค์ บรรดามี ทรัพ ย์ห รื อ รัต นะนัน้ ที่จ ะมีค่ า เสมอด้วยพระตถาคตเจ้านัน้ ไม่มีเ ลย ข้อ นี้ เป็ น รัต นคุ ณอย่างสู ง ในพระพุทธเจ้าประการหนึ่ง ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอจงเกิดความสุขสวัสดีเถิด พระศากยมุนีเจ้า ทรงมีพระหฤทัยดารงมัน่ บรรลุธรรมอันเป็ น ที่ส้ นิ กิเลส สิ้นราคะ เป็ นอมตะ ประณี ตนัน้ แล้ว สิ่งไรใดจะเสมอด้วย พระธรรมนั้น ไม่ มี แม้ข อ้ นี้ ก็ เ ป็ น รัต นคุ ณอย่ างสู ง ในพระธรรม ประการหนึ่ง ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอจงเกิดความสุขสวัสดีเถิด สมาธิ อ่ืน ใด จะเสมอด้ว ยสมาธิ ท่ีพ ระพุท ธเจ้า ผู ป้ ระเสริ ฐ ทรงสรรเสริ ญ ไว้ว่า เป็ น ธรรมสะอาดหมดจด บัณ ฑิต ทัง้ หลาย ยอมรับว่า สามารถให้ผลต่ อเนื่องได้โ ดยลาดับนัน้ ไม่มี แม้ขอ้ นี้ ก็เ ป็ น รัตนคุ ณ อย่างสู ง ในพระธรรมประการหนึ่ ง ด้วยค าสัต ย์น้ ี ขอจงเกิดความสุขสวัสดีเถิด พระสงฆ์สาวกของพระสุค ตเจ้า ๘ ท่ าน นับ เป็ น คู่ ได้ ๔ คู่ ซึ่ง สัตบุรุ ษทัง้ หลาย สรรเสริ ญแล้ว บุค คลเหล่า นั้น เป็ น ผู ค้ วร แก่ทกั ษิณาทาน ทานทีถ่ วายแก่ท่านเหล่านัน้ ย่อมมีผลมาก แม้ขอ้ นี้ ก็เ ป็ น รัต นคุณ อย่า งสู ง ในพระสงฆ์ป ระการหนึ่ง ด ว้ ยค าสัต ย์น้ ี ขอจงเกิดความสุขสวัสดีเถิด ๑๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

ในพระศาสนาของพระโคดมพุทธเจ้า ย่อมจะมีพระอริยบุคคคล ผู ต้ งั้ ใจทาความเพียรดี มีจิตมัน่ คง หมดความใคร่ บรรลุอรหัตผล เข้าสู่ พระนิ พพาน อัน เป็ น อมตะ ปราศจากความเร่ าร้อ นทัง้ ปวง แม้ข ้อนี้ ก็เป็ นรัตนคุณอย่างสูง ในพระสงฆ์ประการหนึ่ง ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอจงเกิดความสุขสวัสดีเถิด พระอริยบุค คลผู ม้ ีกรรมเก่ าหมดสิ้น แล้ว กรรมอันเป็ นเหตุ ให้เกิดในภพใหม่ ก็ไม่มี ท่านเหล่านัน้ มีจิตเบื่อหน่ ายในอันที่จะเกิด ในภพต่อไป ขจัดพืชคือกิเลส ให้ส้ นิ ไปแล้ว ปราศจากความพอใจ ในกาม อัน จะทาให้เ กิด อีก มีปญ ั ญาแหลมคม ย่อมปรินิพพาน เหมือ นประทีป ดับ ไป เพราะสิ้น เชื้อ เพลิง แม้ข อ้ นี้ ก็ เ ป็ น รัต นคุ ณ อย่างสู ง ในพระสงฆ์ประการหนึ่งด้วยคาสัตย์น้ ี ขอจงเกิดความสุข สวัสดีเถิด ฯ

บทกรณียเมตตสูตร กรณี ยเมตตสูตร : พระสูตรว่าด้วยอานุ ภาพแห่งเมตตาจิต พระสุตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และ อารัทธวิปสั สกภิกขุ อรรถกถาขุททกนิกาย ธรรมบท

กรณี ยเมตตสู ต ร เป็ น พระสู ต รที่พ ระพุท ธองค์ท รงแนะน า พระภิกษุ ให้แ ผ่เมตตาจิตไปในมวลสรรพสัตว์ ตลอดจนเทพเทวา ภูตผี ปี ศาจทัง้ หลาย ไม่มปี ระมาณ ไม่มขี อบเขต ไร้พรมแดนขีดขัน้ ไม่วา่ สัตว์นนั้ หรือเขาผูน้ นั้ จะเป็ นเชื้อชาติ ศาสนาอะไร จะเกี่ยวข้อง กับเรา โดยความเป็ นญาติ เป็ นประเทศ เชื้อชาติ ศาสนาหรือไม่ก็ตาม ๒๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

ให้มจี ิตกว้างขวางไร้ขอบเขตขีดขัน้ ขอให้เขาได้มคี วามสุข หากทาได้ เช่นนี้ นอกจากเทวดาจะไม่แสดงสิ่งที่น่ากลัวหลอกหลอนแล้ว ยังมี ใจอนุเคราะห์พระภิกษุ โดยไมตรีจติ ด้วยความอ่อนโยนมีเมตตา เมื่อต้องเดินทางผ่านป่ าเขาลาเนาไพร หรือไปอยู่ ในสถานที่ ที่ไม่คุน้ เคย ท่านให้สวดกรณี ยเมตตสู ตร เพื่อเป็ นเครื่องคุม้ ครอง ป้ องกัน ภยัน ตราย อัน จะเกิด จากอมนุ ษ ย์ ภู ต ผี ปี ศ าจ ทัง้ หลาย ให้เกิดเป็ นความอ่อนโยน มีเมตตา

กรณียเมตตสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ทีฆา วา เย มะหันตา วา ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา

ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา มัชฌิมา รัสสะกา อะนุกะถูลา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร

๒๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

ภูตา วา สัมภะเวสี วา นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง

สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ

คาแปล ภิกษุผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ (พระนิพพาน) พึงทาตน (ตามหลักไตรสิกขา) ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ ซื่อตรง มีความมุ่งมั่น ว่าง่ายอ่อนโยน หมดความยึดถือตัว (ไม่มีคติ มานะ) อนึ่ง ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจธุระน้อย ดาเนิน ชีวิตเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย มีอินทรีย์สงบมีปัญญาพาตัวรอด ไม่คะนอง กายวาจา ไม่พัวพันกับตระกูลทั้งหลาย (ไม่ประจบเอาใจพวกคฤหัสถ์) ที่ร่ารวยหรือมีอานาจ ๒๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

ไม่พึงประพฤติสิ่งเล็กน้อยอะไร ๆ ที่จะเป็นเหตุให้ผู้รู้ตาหนิ (พึงแผ่เมตตาจิตไปในสรรพสัตว์ว่า) ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีความสุข กายสุขใจ ปลอดพ้นจากภัยทั้งปวงทาตนให้ถึงสุขเถิด สัตว์มีชีวิตทั้งหลาย ทั้งที่เป็นผู้หวาดสะดุ้ง (มีกิเลส) ทั้งที่มั่นคง (หมดกิเ ลส) บรรดามีทั้ง หมด ทั้ง ที่มีก ายยาวใหญ่ ปานกลาง สั้น ละเอียดหรือหยาบ ทั้งที่เคยเห็นหรือไม่เคยเห็น ทั้งที่อยู่ไกลหรือใกล้ทั้งที่เกิดแล้ว หรือที่ กาลังแสวงหาที่เกิด ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้นจงมีความสุขกาย สุขใจเถิด เกิดเป็นคนไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหมิ่นกันในที่ไหน ๆ ไม่ พึงเบียดเบียน ทาร้ายกันหรือมีใจมุ่งร้ายปราถนาทุกข์แก่กันและกัน มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิต ฉันใด บุคคลพึง เจริญเมตตาจิตไม่มีประมาณในสัตว์ทั้งปวงฉันนั้น บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตอันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่มี เวรไม่มีศัตรู ในสัตว์โลกทั้งหมด ในอรูปภูมิเบื้องบน (อรูปพรหม ๔) ในรูปภูมิเบื้องกลาง (รูปพรหม ๑๖) และกามาวจรภูมิเบื้องต่า (เทวโลก มนุษยโลกอบายภูมิ) ผู้เจริญเมตตาจิตเช่นนี้นั้น ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดจะยืน เดิน นั่งหรือนอนอยู่ตาม จะเป็นผู้ปราศจากความท้อแท้เหนื่อยหน่าย จะตั้ง สติไว้ได้นานตราบเท่าที่ต้องการ พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสการอยู่ด้วย เมตตาเช่นนี้ว่าเป็นความประพฤติที่ประเสริฐในพระศาสนานี้ ๒๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

บุค คลผู้แ ผ่เ มตตาจิต นั้น จะไม่ถลาเข้าสู่ค วามเห็น ผิด เป็น ผู้บริบูรณ์ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยความเห็นชอบ เมื่อขจัดความยินดี ในกามทั้งหลายได้แล้ว ย่อมไม่กลับมาสู่การเกิดในครรภ์อีกครั้งแน่นอน (สาเร็จเป็นพระอรหันต์และปรินิพพานไปในที่สุด)

บทขันธปริตร ขันธปริตร : คาถาแห่งการป้ องกันอสรพิษและสัตว์รา้ ยทัง้ หลาย พระวินยั ปิ ฎก จุลวรรค ขุททกขันธกะ, อหิสูตร สุตตันตปิ ฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต, อรรถกถาขุททกนิกายชาดก ทุกกนิบาต

ขันธปริตร เป็ นคาถาที่พระพุทธองค์ ทรงสอนให้พระภิกษุ แผ่ เ มตตาไปในบรรดาตระกู ล งู ท่ี มี พิ ษ ดุ ร า้ ยทั้ง หลาย เพื่อ เป็ น การคุม้ ครอง ป้ องกันตนเองจากสัตว์รา้ ย ปรากฏทัง้ ในพระวินยั ปิ ฎก และพระสุตตันตปิ ฎก นอกจากจะเป็ นคาถาสาหรับป้ องกันอสรพิษ และสัต ว์ร า้ ยทัง้ หลายแล้ว ยัง สามารถป้ องกัน อัน ตรายจากยาพิษ ทัง้ หลายได้ดว้ ย

๒๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

ขันธปริตร วิรูปกั เขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพย๎ าปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทร๎ านิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิรงิ สะปานิ อะหิ วิจฉิ กา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสกิ า กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ

คาแปล ความเป็ นมิตรของเรา จงมีกบั พระยานาคทัง้ หลาย สกุลวิรูปกั ข์ ความเป็ น มิตรของเรา จงมีก บั พระยานาคทัง้ หลาย สกุลเอราบถ, ความเป็ นมิตรของเรา จงมีกบั พระยานาคทัง้ หลาย สกุลฉัพยาบุตร, ความเป็ นมิตรของเรา จงมีกบั พระยานาคทัง้ หลาย สกุลกัณหาโคตมกะ, ๒๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

ความเป็ นมิตรของเรา จงมีกบั สัตว์ทงั้ หลายที่มี ๔ เท้า, ความเป็ นมิตร ของเรา จงมีกบั สัต ว์ท่ีมีเ ท้า มาก, สัต ว์ไม่ มีเ ท้าอย่ าเบียดเบีย นเรา สัตว์ ๒ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มชี ีวติ ทัง้ หลายที่เกิดมา ทัง้ หมดจนสิ้นเชิง จงเห็นซึ่งความเจริญทัง้ หลายทัง้ ปวงเถิด โทษลามก อย่าได้มาถึงแล ้วแก่สตั ว์เหล่านัน้ พระพุท ธเจ้า ทรงพระคุ ณ สุ ด ที่จ ะประมาณได้ พระธรรม มีพระคุณสุดทีจ่ ะประมาณได้ พระสงฆ์กม็ พี ระคุณสุดที่จะประมาณได้ แต่สตั ว์เลื้อยคลานทัง้ หลาย เช่น งู แมงป่ อง ตะขาบ แมงมุม ตุก๊ แก หนู ยังมีประมาณกาหนดได้ ข้าพเจ้าได้ทาการรักษาแล้ว ได้ทาการป้ องกัน แล้ว ขอสัต ว์ ทัง้ หลายจงหลีก ไปเสีย เถิด ข้า พเจ้า ก าลัง ท าความนอบน้อ มแด่ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า กาลังทาความนอบน้อมแด่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๗ พระองค์ ฯ

บทโมรปริตร

พระสุตตันตปิ ฎก ชาดกนิ บาต โมรปริตร คือปริตรที่นกยู งทองโพธิส ตั ว์สาธยายเป็ นประจา กล่าวถึงคุณของพระพุทธเจ้าแล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทกั ษ์คุม้ ครอง ให้มี ค วามสวัส ดี มี ป ระวัติ ต านานความเป็ นมา ว่ า สมัย หนึ่ ง ครัง้ พระบรมศาสดา เสวยพระชาติเ ป็ น นกยู ง ทองโพธิส ตั ว์ อาศัย ๒๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

อยู่บนเขา ใกล้ป่ าหิมพานต์ ในครัง้ นัน้ ก่อนจะบินไปหาอาหารในตอนเช้า นกยู งทองพระโพธิสตั ว์จะบินขึ้นไปจับบนยอดภูเขามองดูพระอาทิตย์ ที่กาลังขี้น แล้วสาธยายพระปริตรนมัสการพระอาทิตย์ โดยร่ายมนต์ สาธยายสองคาถาแรกว่า อุเทตะยัญจักขุมา เป็ นต้น และนอบน้อมบูชา พระพุทธเจ้าทัง้ หลายทีเ่ สด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว พร้อมทัง้ ระลึกถึง พระคุณของพระพุทธเจ้าเหล่านัน้ ด้วย แล้วจึงบินออกไปหาอาหาร

โมรปริตร อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วิมตุ ติยา อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร จะระติ เอสะนา ฯ อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง ๒๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วิมตุ ติยา อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ

คาแปล พระอาทิต ย์ซ่ึง เป็ น ดวงตาของโลก เป็ น เอกราชผู ย้ ่ิง ใหญ่ (ในจักรวาล) นี้ มีรศั มีสีทองอุทยั โผล่ข้ นึ มาสาดส่องปฐพีให้สว่างอยู่ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระอาทิตย์ ซึ่งมีรศั มีสที องสาดส่องปฐพีให้สว่าง อยู่ น นั้ ในวัน นี้ ข้า พเจ้าทัง้ หลายได้ร บั การคุ ม้ ครองจากท่ านผู เ้ ป็ น พระอาทิตย์นนั้ แล ้วพึงอยู่เป็ นสุขตลอดวัน พระพุทธเจ้าเหล่าใดทรงรู แ้ จ้งธรรมทัง้ ปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระพุทธเจ้าเหล่านัน้ ขอพระพุท ธเจ้าเหล่านัน้ จงคุ ม้ ครองข้าพเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ทัง้ หลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ขอนอบน้อมแด่เหล่าท่านผูห้ ลุดพ้นแล ้ว ขอนอบน้อมแด่วมิ ตุ ติธรรม นกยู งโพธิสตั ว์นนั้ ครัน้ สาธยายพระปริตรอย่างนี้แล้ว จึงออก แสวงหาอาหาร พระอาทิต ย์ซ่ึง เป็ น ดวงตาของโลก เป็ น เอกราชผู ย้ ่ิง ใหญ่ (ในจักรวาล) นี้ มีร ศั มีสีท องสาดส่อ งปฐพีให้สว่าง กาลัง อัสดงคต ข้าพเจ้าขอนมัสการพระอาทิตย์ซง่ึ มีรศั มีสที องสาดส่องปฐพีให้สว่างนัน้ ๒๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

ในวันนี้ ข้าพเจ้าทัง้ หลายได้รบั การคุม้ ครองจากท่านผูเ้ ป็ นพระอาทิตย์นนั้ แล้วพึงอยู่เป็ นสุขตลอดราตรี พระพุทธเจ้าเหล่าใดทรงรูแ้ จ้งธรรมทัง้ ปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระพุทธเจ้าเหล่านัน้ ขอพระพุท ธเจ้าเหล่านัน้ จงคุม้ ครองข้าพเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ทัง้ หลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ขอนอบน้อมแด่เหล่าท่านผูห้ ลุดพ้นแล ้ว ขอนอบน้อมแด่วมิ ตุ ติธรรม นกยู งโพธิสตั ว์นนั้ ครัน้ สาธยายพระปริตรอย่างนี้แล้ว จึงนอน พักผ่อนฉะนี้แล.

บทวัฏฏกปริตร วัฏฏกปริตร : นกคุ่มทาปริตรป้ องกันไฟป่ า พระสุตตันตปิ ฎก จริยาปิ ฎก, วัฏฏกชาดก อรรถกถาชาดก

วัฏ ฏกชาดก เป็ น เรื่ อ งราวในอดี ต ชาติ ข องพระพุ ท ธองค์ เมื่อ ครัง้ ถือ ก าเนิ ด เป็ น ลู ก นกคุ่ ม แล้ว ท าปริ ต รป้ องกัน ตนเองจาก ไฟป่ า ปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิ ฎก จริยาปิ ฎก และวัฏฏกชาดก อรรถกถาชาดก วัฏฏกปริตร เป็ นพระปริตรที่กล่าวอ้างคุณ คือศี ล สมาธิ ปัญญา วิมตุ ติ วิมตุ ติญาณทัสสนะ และสัจจะ ของพระพุทธเจ้า ในอดีต ทัง้ หลาย แล้ว น้อ มเอาพระพุท ธคุ ณ ดัง กล่า ว มาบัง เกิ ด ๒๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

เป็ น อานุ ภ าพ ปกป้ องคุ ม้ ครองอัน ตรายอัน จะเกิด จากไฟทัง้ หลาย ให้เกิดความสุขสวัสดีแก่ชีวติ การสวดคาถานี้ ก็เพื่อเป็ นการป้ องกัน อันตรายอันเกิดจากไฟ (ป้ องกันอัคคีภยั ) และเหตุเดือดร้อนวุ่นวาย นานาประการ ให้เกิดความร่มเย็นเป็ นสุข

วัฏฏกปริตร อัตถิ โลเก สีละคุโณ เตนะ สัจเจนะ กาหามิ อาวัชชิตว๎ า ธัมมะพะลัง สัจจะพะละมะวัสสายะ สันติ ปักขา อะปัตตะนา มาตา ปิ ตา จะ นิ กขันตา สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ

สัจจัง โสเจยยะนุ ททะยา สัจจะกิรยิ ะมะนุ ตตะรัง สะริตว๎ า ปุพพะเก ชิเน สัจจะกิรยิ ะมะกาสะหัง สันติ ปาทา อะวัญจะนา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ มะหาปัชชะลิโต สิขี อุทะกัง ปัตว๎ า ยะถา สิขี เอสา เม สัจจะปาระมีติ ฯ

คาแปล คุ ณ คื อ ศี ล สัจ จะ ชีวิต ที่สะอาด และความเอื้อ อาทร มีอ ยู่ ในโลกด้วยความสัตย์นนั้ ข้าพเจ้า จักกระทาสัจกิริยาอย่างยอดเยี่ยม ๓๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

ข้าพเจ้า ขอน้อมราลึกถึงพลานุ ภาพแห่งพระสัทธรรม น้อมราลึก ถึง พระพุทธเจ้า ผู ท้ รงพิชิต มารในอดีต ได้กระทาสัจกิริยา ยึด มัน่ ในกาลังแห่งสัจจะทีข่ ้าพเจ้ามีอยู่ จึงขอทาสัจกิรยิ า ว่า ปี ก ทัง้ สองข้า งของข้า พเจ้า มีอ ยู่ แต่ ก็ ย งั ไม่ แ ข็ง แรง พอที่ จะบินได้ เท้าทัง้ สองข้างของข้าพเจ้า มีอยู่ แต่ ก็ยงั ไม่แข็งแรง พอที่ จะเดิน ได้ พ่อ แม่ ก็พ ากัน บิน หนี ไ ฟออกไปเสีย แล้ว พระเพลิง เอ๋ย ขอท่านจงดับเสียเถิด พร้อ มกับ เมื่อ ข้า พเจ้า กระท าสัจ กิริ ย า เปลวเพลิง ที่ลุ ก โชน รุ่งโรจน์ใหญ่ หลวงนัก ก็กลับเว้น ที่ไว้ ๑๖ กรีส เหมือนเปลวไฟตก ถึงนา้ แล้วมอดดับ ฉะนัน้ ไม่ มีผู ใ้ ดเสมอด้ว ยสัจ จะของข้า พเจ้า นี้ คื อ สัจ บารมีข อง ข้าพเจ้า ฯ

บทอนุสสรณปาฐะ บทอิติ ปิ โส เป็ น คาถาว่า ด้ว ยอานุ ภ าพแห่ ง การน้อ มระลึก ถึงคุ ณพระรัตนตรัย คือพระพุทธคุ ณ พระธรรมคุ ณ พระสัง ฆคุ ณ ให้เ กิ ด ก าลัง ใจในการเผชิ ญ ปัญ หาและอุ ป สรรคนานาประการ โดยพระพุท ธองค์ท รงน าเรื่อ งการท าสงครามระหว่างเทพกับ อสู ร มาเป็ น ข้อ เปรี ย บเทีย บ เพื่อ เตื อ นให้พ ระภิก ษุ ผู ไ้ ปท าความเพีย ร ๓๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

อยู่ตามป่ าเขาลาเนาไพรอันเงียบสงัด ห่างไกลจากผู ค้ นสัญจรไปมา การอยู่ ท่า มกลางป่ ากว้า งดงลึก ของพระภิก ษุ ผู เ้ ป็ น ปุถุชนเช่ น นั้น ย่อมจะก่อให้เกิดความหวาดกลัวขนพองสยองเกล้า เมือ่ เกิดความรูส้ กึ หวาดกลัว พระพุ ท ธองค์ ทรงแนะน าให้พ ระภิ ก ษุ ระลึก ถึ ง ธง คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ หรือพระสังฆคุณ ก็จะสามารถข่มใจ ระงับความหวาดกลัว บาเพ็ญเพียรต่อไปได้

อนุสสรณปาฐะ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุ ตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุ สสานัง, พุทโธ ภะคะวาติฯ ส๎ว ากขาโต ภะคะวะตา ธัม โม, สัน ทิฏ ฐิโ ก อะกาลิโ ก, เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูหีติ ฯ (อ่านว่า วิญญูฮตี )ิ สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัง โฆ, อุชุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสัง โฆ, ญายะปะฏิป ัน โน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ, สามีจิปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทงั จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเ ณยโย, อัญชะลีกะระณี โย, อะนุ ต ตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ ๓๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

คาแปล เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผูม้ พี ระภาคเจ้านัน้ เป็ นผูไ้ กลจากกิเลส ตรัส รู ช้ อบได้โ ดยพระองค์เ อง ทรงถึง พร้อ มด้ว ยวิช ชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรูโ้ ลกอย่างแจ่มแจ้ง สามารถฝึ กบุรุษที่สมควรฝึ กได้ อย่างไม่มใี ครยิ่งกว่า ทรงเป็ นครู ของเหล่าเทวดาและมนุ ษย์ทงั้ หลาย เป็ นผูร้ ู ้ ผูต้ ่นื ผูเ้ บิกบานด้วยธรรม ทรงมีความสามารถในการจาแนก ธรรมสัง่ สอนสัตว์ ฯ พระธรรม เป็ น ธรรมที่พระผู ม้ ีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแ ล้ว ผู ศ้ ึ กษา และปฏิบตั ิพึง เห็น ได้ด ว้ ยตนเอง เป็ น สิ่ง ที่ป ฏิบตั ิไ ด้ และ ให้ผลได้ไม่จากัดกาล สามารถแนะนาผูอ้ ่นื ให้มาพิสูจน์ได้ว่า “ท่านจง มาดูเถิด” ควรน้อมนาเข้ามาไว้ในตัว ผูร้ ูก้ ร็ ูไ้ ด้เฉพาะตน ฯ พระสงฆ์สาวกของพระผู ม้ พี ระภาคเจ้า ปฏิบตั ิดีแล้ว ปฏิบตั ิ ตรงแล้ว ปฏิบตั ิเพื่อรู ธ้ รรมเป็ นเครื่องออกจากทุกข์ ปฏิบตั ิเหมาะสม ได้แก่ บุคคลเหล่านี้คือ คู่ แห่งบุรุ ษ ๔ คู่ นับเรียงลาดับได้ ๘ ท่าน นัน่ แหละ พระสงฆ์สาวกของพระผู ม้ ีพระภาคเจ้า ซึ่งเป็ นผู ค้ วรแก่ สักการะที่เขาน้อมนามาบูชา ควรแก่ สกั การะที่เขาเตรียมไว้ตอ้ นรับ ควรรับทักษิณาทานเป็ นผูท้ บ่ี ุคคลทัว่ ไปควรให้ความเคารพ เป็ นเนื้อนาบุญ ของโลก ไม่มนี าบุญอื่นยิง่ กว่า ฯ ๓๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทอาฏานาฏิยปริตร อาฏานาฏิยปริตร : ปริตรแห่งอาฏานาฏานคร พระสุตตันตปิ ฏก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค และสุมงั คลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

อาฏานาฏิย ปริ ต ร เป็ น ปริ ต รที่ท า้ วจาตุม มหาราช ผู ก ขึ้น ทีอ่ าฏานาฏานคร อันเป็ นหนึ่งในจานวนเทพนคร ๑๑ แห่ง ที่ถูกนิรมิตขึ้น ในอากาศ ของเหล่าเทวดาในสวรรคชัน้ จาตุมมหาราชิกา พระปริตรนี้ จึงถูกเรียกว่า อาฏานาฏิยปริตร ตามชื่อเทพนครทีผ่ ูกขึ้นนัน้ อาฏานาฏิย ปริ ต รนี้ เป็ น คาถาที่ท า้ วจาตุ ม มหาราช ผู ก ขึ้น เพือ่ ใช้เป็ นเครื่องป้ องกันเหล่าอมนุ ษย์บางพวก ที่ไม่หวังดีต่อพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธองค์ ที่ไปบาเพ็ญสมณธรรมอยู่ตามป่ าเขา ลาเนาไพร เมือ่ ไม่มอี ะไรป้ องกันเหล่าอมนุ ษย์ท่ไี ม่เลือ่ มใส ก็จะรบกวน เบียดเบียน ทาให้เกิดความลาบาก ท้าวมหาราชจึงได้แสดงเครื่องป้ องกันรักษา ชื่อ อาฏานาฏิยรักษ์ นี้ไว้ อาฏานาฏิยรักษ์น้ ี มีอานุ ภาพ ๒ ประการ คือ (๑) มีอานุ ภาพ ในการทาให้อมนุ ษย์ท่ไี ม่เลือ่ มใส ให้เกิดความเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา (๒) มีอ านุ ภ าพในการคุ ม้ ครองป้ องกัน ไม่ ใ ห้อ มนุ ษ ย์ท่ีไ ม่ เ ลื่อ มใส จับ ต้อ งสิง สู่ เบียดเบียน ประทุษ ร้า ย ท าให้ไ ด้ร บั ความล าบาก เดือดร้อน ๓๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

สาหรับอาฏานาฎิยปริตร ที่พระสงฆ์ใช้สวดในปัจจุบนั เป็ นบทย่อ ทีบ่ ูรพาจารย์ได้นาเอาคาถานมัสการพระพุทธเจ้าในอดีตที่ทา้ วเวสสุวณั แสดงไว้เฉพาะพระพักตร์พระพุทธองค์ มาอ้างเป็ นสัจกิริยา ให้เกิด เป็ นอานุ ภาพในการคุม้ ครอง ป้ องกัน รักษา ตามคาของท้าวจตุโลกบาล ถ้า อมนุ ษ ย์ต นใด เบีย ดเบีย นผู ท้ ่ีเ จริ ญ อาฏานาฏิย ปริ ต รให้ไ ด้ร ับ ความลาบาก อมนุ ษย์ตนนัน้ ก็จะได้รบั การลงโทษ จากเหล่าเทพ ทัง้ หลาย

อาฏานาฏิยปริตร วิปสั สิสสะ นะมัตถุ สิขิสสะปิ นะมัตถุ เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะมัตถุ กะกุสนั ธัสสะ โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ กัสสะปัสสะ นะมัตถุ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ โย อิมงั ธัมมะมะเทเสสิ เย จาปิ นิ พพุตา โลเก

จักขุมนั ตัสสะ สิรมี ะโต สัพพะภูตานุ กมั ปิ โน น๎ หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน มาระเสนัปปะมัททิโน พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสมี ะโต วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ สักย๎ ะปุตตัสสะ สิรมี ะโต สัพพะทุกขาปะนู ทะนัง ยะถาภูตงั วิปสั สิสงุ

๓๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

เต ชะนา อะปิ สณ ุ า หิตงั เทวะมะนุ สสานัง วิชชาจะระณะสัมปันนัง วิชชาจะระณะสัมปันนัง

มะหันตา วีตะสาระทา ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง มะหันตัง วีตะสาระทัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ ฯ

คาแปล ขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปสั สี ผูม้ พี ระปัญญา จักษุ ผูท้ รงพระสิริ ขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า สิขี ผูท้ รงอนุ เคราะห์ แก่สตั ว์ทงั้ ปวง ขอนอบน้อ ม แด่ พ ระพุ ท ธเจ้า พระนามว่ า เวสสภู ผู ท้ รง ชาระล ้างกิเลสแล้ว ทรงมีความเพียรเป็ นเครื่องแผดเผากิเลส ขอนอบน้อ ม แด่ พระพุท ธเจ้า พระนามว่า กกุส นั ธะ ผู ท้ รง ยา่ ยีพญามาร และเหล่าเสนามารได้แล้ว ขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า โกนาคมนะ ผูท้ รง ละบาปได้แล้ว ทรงสิ้นสุดการประพฤติพรหมจรรย์แล้ว ขอนอบน้อ ม แด่ พ ระพุท ธเจ้า พระนามว่ า กัส สปะ ผู ท้ รง พ้นจากกิเลสทัง้ ปวง ๓๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

ขอนอบน้อม แด่ พระพุทธเจ้าพระนามว่า อังคีรส โอรสแห่ง สากยราช ผูท้ รงพระสิริ ทรงแสดงธรรม เพือ่ บรรเทาทุกข์ทงั้ ปวงนี้ อนึ่ง พระขีณาสพทัง้ หลายในโลก ผูเ้ ห็นแจ้งธรรม ตามความ เป็ นจริง ดับกิเลสได้แล้ว ท่านเหล่านัน้ หามีวาจาส่อเสียดไม่ เป็ นผู ้ มีคุณอันยิง่ ใหญ่ ปราศจากความครัน่ คร้าม ขอนอบน้อม แด่พระขีณาสพทัง้ หลาย เหล่านัน้ ผูต้ ่างก็ถวาย ความนอบน้อม แด่พระโคตมะพุทธเจ้า ผูท้ รงเกื้อกูลแก่เทวดา และ มนุ ษ ย์ท ั้ง หลาย ทรงถึง พร้อ มด้ว ยวิช ชา และจรณะ ผู ท้ รงคุ ณ อันยิง่ ใหญ่ทรงปราศจากความครัน่ คร้าม ฯ

บทโพชฌังคปริตร โพชฌังคปริตร : ปริตรแห่งองค์คุณเพื่อการตรัสรู ้ พระสุตตันตปิ ฎก สังยุตตนิกาย มหาวรรค

โพชฌังคปริตร เป็ นปริตรที่โบราณาจารย์ นาเอาโพชฌังคสูตร ทัง้ ๓ สูตร คือ ๑.มหากัสสปโพชฌังคสูตร ๒.มหาโมคคัลลานโพชฌัง คสูต ร ๓. มหาจุน ทโพชฌัง คสูต ร มาประพัน ธ์เ ป็ น คาถา เรียกว่า โพชฌังคปริตร โดยน้อมเป็ นสัจกิริยา เพือ่ ให้ปราศจากโรคภัย ไข้เจ็บเกิดเป็ นความสุขสวัสดี ๓๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

เนื้ อหาโพชฌังคสู ต รทัง้ ๓ นัน้ กล่าวถึงหลักธรรมที่ทาให้ พระพุทธองค์ตรัสรู ้ ๗ ประการ คือ ๑.สติ ความระลึกได้ ๒. ธัมมวิจยะ การเลือ กเฟ้ นธรรม ๓.วิริ ย ะ ความเพีย ร ๔. ปี ติ ความอิ่ม ใจ ๕. ปัส สัท ธิ ความสงบ ๖. สมาธิ ความตั้ง ใจมัน่ ๗. อุ เ บกขา ความวางเฉย โบราณาจารย์ ได้นาเอาโพชฌังคสู ต รทัง้ ๓ นี้ มาประพัน ธ์ เป็ นคาถาสาหรับเจริญภาวนา โดยอ้างเป็ นสัจกิริยา เพื่อให้พระปริตร เป็ นธรรมโอสถ บังเกิดพุทธานุ ภาพ ขจัดโรคภัยไข้เจ็บให้อนั ตรธาน หายไป เกิ ด เป็ นความสุ ข สวัส ดี ภายหลัง ได้เ กิ ด ความนิ ย มว่ า เมื่อ เจ็ บ ป่ วย ไม่ ส บาย ก็ จ ะสวดโพชฌัง คปริ ต ร ซึ่ง เป็ น ทัง้ โอสถ เป็ น ทัง้ มนต์ เมื่อมีผูห้ ลักผู ใ้ หญ่ ในบ้าน เจ็บ ป่ วย เป็ นไข้ห นัก ก็จะ นิ ม นต์พระสงฆ์ม าสวดโพชฌัง คปริต รให้ฟงั หรือ ไม่ลูกหลานก็จ ะ สวดโพชฌัง คปริตรให้ฟงั แม้ในงานทาบุญอายุ พระสงฆ์ก็จะสวด พระปริตรบทนี้ เพือ่ เป็ นการคุม้ ครอง ป้ องกัน ไม่ให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ และให้มีอ ายุ ยืน ผู ไ้ ม่ ต อ้ งการเจ็ บ ป่ วย และปรารถนา ความเป็ น ผูม้ อี ายุยนื โดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ จึงควรเจริญโพชฌังคปริตร ตามแบบอย่างพุทธสาวก

๓๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

โพชฌังคปริตร โพชฌังโค สะติสงั ขาโต วิรยิ มั ปี ตปิ สั สัทธิสะมาธุเปกขะโพชฌังคา มุนินา สัมมะทักขาตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ เอกัสม๎ ิง สะมะเย นาโถ คิลาเน ทุกขิเต ทิสว๎ า เต จะ ตัง อะภินันทิตว๎ า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ เอกะทา ธัมมะราชาปิ จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ สัมโมทิตว๎ า จะ อาพาธา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ปะหีนา เต จะ อาพาธา มัคคาหะตะกิเลสา วะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ

ธัมมานัง วิจะโย ตะถา โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สัตเตเต สัพพะทัสสินา ภาวิตา พะหุลกี ะตา นิ พพานายะ จะ โพธิยา โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ เคลัญเญนาภิปีฬโิ ต ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ติณณันนัมปิ มะเหสินัง ปัตตานุ ปปัตติธมั มะตัง โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

๓๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

คาแปล โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ ๑.สติ ความระลึกได้ ๒.ธัมมวิจยะ การเลือกเฟ้ นพิจารณาธรรม ๓.วิริยะ ความเพียร ๔.ปี ติ ความอิ่มใจ ๕.ปั ส สัท ธิ ความสงบ ๖.สมาธิ ความตั้ ง ใจมัน่ ๗.อุ เ บกขา ความวางเฉยเหล่านี้ เป็ นธรรมที่พระมุนีเจ้า ผู ท้ รงเห็นธรรมทัง้ ปวง ตรัสไว้ชอบแล้ว บุค คล อบรมฝึ กฝนให้ม ากแล้ว ย่อ มเป็ น ไปเพื่อ ความรู ย้ ่ิง เพื่อตรัสรู ้ และเพื่อ พระนิพพาน ด้วยการกล่าวคาสัต ย์น้ ี ขอความสวัสดี จงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ สมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้าทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระกัส สปะ อาพาธ ได้ค วามล าบาก จึ ง ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ให้ท่านทัง้ สองฟัง ท่ านทัง้ สองต่างชื่นชม ยินดีพระธรรม เทศนานั้น แล้ว กลับ หายจากโรคทัน ที ด้ว ยการกล่ า วค าสัต ย์น้ ี ขอความสวัสดี จงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ ครัง้ หนึ่ ง องค์พ ระธรรมราชาเอง ทรงพระประชวร รับ สัง่ ให้พระจุนทะเถระ กล่าวโพชฌงค์ ๗ ประการนัน้ ถวายโดยเคารพ ทรงบันเทิงพระฤทัย หายจากพระประชวรนัน้ แท้จริง ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอความสวัสดี จงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ แท้จริง แล้ว อาพาธเหล่านัน้ ของท่ านผู ท้ รงคุ ณอัน ยิ่ง ใหญ่ ทัง้ ๓ อันตรธานไป ไม่กลับเป็ น อีก เหมือนอริยมรรค กาจัดกิเลส ลงราบแล้วไม่เกิดอีกเป็ นธรรมดา ด้วยการกล่าวคาสัตย์น้ ี ขอความ สวัสดี จงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ ฯ ๔๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทอภยปริตร อภยปริตร : ปริตรแห่งการให้อภัยและอโหสิกรรม

อภยปริตร เป็ นคาถาแห่งการให้อภัยและอโหสิกรรมในเหตุการณ์ ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในชีวติ และสังคม เนื้อหาของบทอภยปริตร กล่าวถึงการตัง้ จิตน้อมเอาอานุ ภาพแห่งคุณพระรัตนตรัยช่ วยบาบัด ปัดเป่ าลางร้าย อันเกิดจากสิ่งที่ทาให้ไม่สบายใจ บาปเคราะห์ฝนั ร้าย และสิง่ อันเป็ นอัปมงคลทัง้ หลาย ทัง้ ปวง ให้พนิ าศไป

อภยปริตร ยันทุนนิ มิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิ มิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ๔๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

ยันทุนนิ มิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ

คาแปล ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์รา้ ย และฝันร้าย ที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยพุทธานุ ภาพ ขอความเลวร้าย ทัง้ ปวงนัน้ จงพินาศไปสิ้น ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์รา้ ย และฝันร้าย ที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยธรรมานุ ภาพ ขอความเลวร้าย ทัง้ ปวงนัน้ จงพินาศไปสิ้น ลางร้ายใด อัปมงคลใด เสียงนกที่น่าสะพรึงกลัวใด เคราะห์รา้ ย และฝันร้าย ที่ไม่น่าปรารถนาใด ด้วยสังฆานุ ภาพ ขอความเลวร้าย ทัง้ ปวงนัน้ จงพินาศไปสิ้น ฯ

๔๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทสักกัต๎วา บทที่นอ้ มเอาคุณพระรัตนตรัยเพื่อให้เกิด เป็ น ธรรมโอสถ ขจัดทุกข์โศกโรคภัย สักกัตว๎ า พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง หิตงั เทวะมะนุ สสานัง พุทธะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปทั ทะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตว๎ า ธัมมะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปทั ทะวา สัพเพ ภะยา วูปสะเมนตุ เต สักกัตว๎ า สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปทั ทะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ

คาแปล

เพราะทาความเคารพพระพุทธรัตนะ ซึ่งเป็ นประหนึ่งโอสถ อันประเสริฐเยี่ยมยอด เกื้อกูลแก่เทวดาและมนุ ษย์ทงั้ หลาย ด้วยเดช แห่ง พระพุทธเจา้ ขอให อ้ นั ตรายทัง้ หลาย ทัง้ ปวง จงพิน าศไปสิ้น ขอให้ทกุ ข์ทงั้ หลายของท่าน จงสงบไปโดยดี เพราะทาความเคารพพระธรรมรัตนะ ซึ่งเป็ นประหนึ่งโอสถ อันประเสริฐเยี่ยมยอด เกื้อกูลแก่เทวดาและมนุ ษย์ทงั้ หลาย ด้วยเดช แห่งพระธรรม ขอให้อนั ตรายทัง้ หลาย ทัง้ ปวง จงพินาศไปสิ้น ขอให้ ทุกข์ทงั้ หลายของท่าน จงสงบไปโดยดี ๔๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

เพราะทาความเคารพพระสังฆรัตนะ ซึ่งเป็ นประหนึ่งโอสถ อันประเสริฐเยี่ยมยอด เกื้อกูลแก่เทวดาและมนุ ษย์ทงั้ หลาย ด้วยเดช แห่งพระสงฆ์ ขอให้อนั ตรายทัง้ หลาย ทัง้ ปวง จงพินาศไปสิ้น ขอให้ ทุกข์ทงั้ หลายของท่าน จงสงบไปโดยดี

บทนัตถิ เม บทที่นอ้ มระลึกถึง คุณพระรัตนตรัย อ้างเป็ น สัจวาจา เพื่อให้ เกิดชัยมงคล นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ

คาแปล ทีพ่ ง่ึ อื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าทรงเป็ นที่พง่ึ อันประเสริฐ ของข้าพเจ้า ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน ที่พ่ึง อื่น ของข้า พเจ้า ไม่ มี พระธรรมเป็ น ที่พ่ึง อัน ประเสริ ฐ ของข้าพเจ้า ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน ที่ พ่ึ ง อื่ น ของข้า พเจ้า ไม่ มี พระสงฆ์ เ ป็ นที่ พ่ึ ง อัน ประเสริ ฐ ของข้าพเจ้า ด้วยคาสัตย์น้ ี ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน ๔๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทยังกิญจิ บทที่นอ้ มระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ซึ่งเป็ นรัต นะที่มีพลานุ ภาพสูงสุดกว่ารัตนะทัง้ มวลในโลก เพือ่ ให้เกิดความสวัสดีมงคล ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถุ ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถุ ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถุ ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

คาแปล รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะนัน้ เสมอด้วยพระพุทธเจ้าหามีไม่ เพราะเหตุนนั้ ขอท่านจงประสบแต่ ความสุขสวัสดี รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะนัน้ เสมอด้วยพระธรรมเจ้าหามีไม่ เพราะเหตุนนั้ ขอท่านจงประสบแต่ ความสุขสวัสดี รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะนัน้ เสมอด้วยพระสงฆเจ้าหามีไม่ เพราะเหตุนนั้ ขอท่านมีแ ต่ ความสุข สวัสดี ฯ ๔๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทมงคลจักรวาฬใหญ่ สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิ มะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิ ก ารั ส สะ สั พ พั น ตะรายะนิ ว าระณะสะมั ต ถั ส สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สั ม มาสั ม พุ ท ธั ส สะ ทวั ต ติ ง สะมะหาปุ ริ ส ะลั กขะณานุภาเวนะ อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุป ะปาระมิต านุภ าเวนะ ทะสะปะระมัต ถะปาระมิตานุภาะเวนะ สีละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ พุทธานุภาเวนะ ธั มมานุภาเวนะ สั ง ฆานุ ภ าเวนะ เตชานุ ภ าเวนะ อิท ธานุ ภ าเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมัก ขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุ ภ าเวนะ อั ฏ ฐะสะมาปั ต ติ ย านุ ภ าเวนะ ฉะฬะภิ ญ ญานุ ภ าเวนะ จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปะริตตานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะสะระณานุ-ภาเวนะ ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุ ปั ท ทะวะทุ ก ขะโทมะนั ส สุ ป ายาสา วิน ัส สัน ตุ สัพ พะ๔๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

อันตะรายาปิ วินัสสันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา ฯ อากาสะปัพพะตะวะนะภู มิ คั งคามะหาสะมุ ททา อารั กขะกา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ

คาแปล ด้วยอานุภาพแห่งลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ ด้วยอานุภาพ แห่งพระอนุลักษณะ ๘๐ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งมงคล ๑๐๘ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระฉัพพัณณรังสี ด้วยอานุภาพแห่งพระเกตุมาลา ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง การบ าเพ็ ญ พระบารมี ๑๐ ทั ศ ด้ ว ยอานุ ภ าพ แห่งการบาเพ็ญพระอุปบารมี ๑๐ ทัศ ด้วยอานุภาพแห่งการบาเพ็ญ พระปรมัตถบารมี ๑๐ ทัศ ด้วยอานุภาพแห่งศีล สมาธิ และปัญญา ของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงมีพระบุญญาธิการ อั นกาหนดปริ มาณมิ ได้ ด้ วยพระสิ ริ พระวิริ ยะ พระปั ญญาพระเดช และความสาเร็จชัยชนะผู้ทรงสามารถป้องกันสรรพอันตราย ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธรัตนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมรัตนะ ด้วยอานุภาพ แห่งพระสังฆรัตนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระเดช ด้วยอานุภาพแห่งพระฤทธิ์ ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง พระก าลั ง ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง พระเญยยธรรม ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง พระธรรมขั น ธ์ ๘ หมื่ น ๔ พั น ด้ ว ยอานุ ภ าพ ๔๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

แห่งโลกุตตรธรรม ๙ ด้วยอานุภาพแห่งสมาบัติ ๘ ด้วยอานุภาพ แห่งอภิญญา ๖ ด้ วยอานุ ภาพแห่ งญาณในสัจ ๔ ด้ วยอานุ ภาพแห่ ง พระทศพลญาณ ด้วยอานุภาพแห่งพระสัพพัญญุตญาณ ด้วยอานุภาพ แห่งเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร ทั้งปวง ด้วยอานุภาพแห่งความระลึก ถึงพระรัตนตรัย ขอโรคความ เศร้าโศก ความอุบาทว์ ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ ทั้งปวงของท่านจงสิ้นสูญไป แม้อันตรายทั้งปวงจงสิ้นสูญไป ขอความ ดาริทั้งปวง ของท่านจงสาเร็จด้วยดี ขอความเป็นผู้มีอายุยืนจงมีแก่ท่าน ขอท่านจงมีความสมบูรณ์ เพียบพร้อมด้วยการดารงชีวิตอยู่ ๑๐๐ ปี ตลอดกาล ขอทวยเทพทั้งหลายผู้คุ้มครองที่สถิตอยู่ ในอากาศบรรพต ไพรสณฑ์ ภูมิสถานแม่น้าคงคา และมหาสมุทร จงคอยตามรักษาท่าน ทั้งหลายทุกเมือเถิด.

บทเทวตาอุยโยชนคาถา เทวตาอุยโยชนคาถา เป็ นคาถาส่งเทวดา ใช้อญั เชิญเทวดา กลับวิมาน เมื่อแรกที่จะเจริญพระปริตร ได้มกี ารชุมนุ มเทวดา หรือ อัญเชิญเทวดามา เพื่อฟังการเจริญพระปริตร ซึ่งถือว่าเป็ นการแบ่ง ส่วนบุญไปให้สรรพสัต ว์ทุกจาพวก ทุกหมู่ เ หล่า แม้กระทัง่ เทวดา ซึ่งมองไม่เห็นตัวก็ แผ่เมตตาจิตไปถึง เนื้อความในท่อนแรกของคาถานี้ ๔๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

เริ่มต้นด้วยการแผ่เมตตาจิตไปในหมู่สตั ว์ทงั้ หลาย ให้พน้ จากทุกข์โศก โรคภัย จากนัน้ ได้กล่าวเชิญเทวดาให้อนุ โมทนา บุญกุศลที่บาเพ็ญมา ซึ่งก็รวมถึงบุญอันเกิดจากการเจริญพระปริตร เพื่อเทวดาจะได้อานิสงส์ แห่ง บุญนั้น ด้ว ย ต่ อ จากนัน้ ก็เ ป็ น การแนะน าเทวดาให้เ กิด ศรัท ธา ในการให้ท าน รัก ษาศี ล บ าเพ็ ญ ภาวนา แล้ว เชิ ญ ให้เ ทวดากลับ ต่ อ จากนั้น ก็ ข ออานุ ภ าพแห่ ง พระพุท ธเจ้า พระปัจ เจกพุท ธเจ้า และพระอรหันต์ทงั้ หลาย ให้คมุ ้ ครองรักษา

๔๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

เทวตาอุยโยชนคาถา ทุกขัปปัตตา จะ นิ ททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิ พภะยา โสกัปปัตตา จะ นิ สโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิ โน เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง สัพเพ เทวานุ โมทันตุ สัพพะสัมปัตติสทิ ธิยา ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลงั รักขันตุ สัพพะทา ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ

คาแปล ขอสัตว์ทงั้ หลายทีป่ ระสบทุกข์ จงเป็ นผูป้ ราศจากทุกข์ ที่ประสบภัย จงปราศจากภัย ทีป่ ระสบความเศร้าโศก จงสร่างโศก ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวง จงอนุ โมทนาบุญสมบัติ ที่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย สร้างสมมาแล ้วนี้ เพือ่ ความสาเร็จแห่งสมบัตทิ งั้ ปวง ขอเทวดาทัง้ หลาย จงให้ทาน รักษาศีล บาเพ็ญภาวนาด้วย ศรัทธาทุกเมือ่ ขอเชิญเทวดาที่มาชุมนุ มกลับไปเถิด พระพุทธเจ้าทัง้ ปวง ล้วนทรงพละกาลัง ด้วยเดชแห่งกาลังของพระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลาย และด้วยเดชแห่งกาลังของพระอรหันต์ทงั้ หลาย ข้าพเจ้าขอน้อมนา เดชทัง้ ปวงนัน้ มาเป็ นเครื่องคุม้ ครองรักษา ฯ ๕๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทภูมิพลมหาราชวรัสสะ ชยมงคลคาถา ภูมพิ ะโล มะหาราชา รัฏฐัปปะสาสะเน พ๎ยัตโต สัมพุทธะมามะโก อัคโค รัชชัง ธัมเมนะ กาเรติ ทัยยานัง วุฑฒิมจิ ฉันโต สัพเพสัง ทุกขะฆาตา จะ สัพพะทัยยานะมัตถายะ ทุกขะโต ทุกขิเต ทัยเย สะมุสสาโห ปะโมเจติ เมตโตทะเกนะ โตเสติ สัมมาอาชีวะโยคัสสะ อะนุยญ ุ ชะติ พุทเธนะ ทัยยานัง รัฏฐะปาลีนงั อิทาเนโส มะหาราชา อีทเิ ส มังคะเล กาเล ระตะนัตตะยานุภาเวนะ เสฏโฐ ภัท๎ระมะหาราชา อะโรโค สุขโิ ต โหตุ

นะวะโม จักกิวงั สิโก นีตจิ าริตตะโกวิโท สาสะนัสสูปะถัมภะโก ทีฆะทัสสี วิจกั ขะโณ สันติมคั คะนิโยชะโก สะทา จะ สุขะทายะโก สัพพะกิจจานิ กุพพะเต ภะยะโต ภะยะตัชชิเต มะหาการุญญะเจตะสา ฆัมเม เทโววะ ภูมเิ ช วิธงิ วิเนติ โยนิโส ภาสิตงั สะมะชีวติ งั เอตัญจะ อะนุสาสะติ สัตตาสีติ สะมายุโก เทมัสสะ ชะยะมังคะลัง ระตะนัตตะยะเตชะสา ภูมพิ ะโล นะริสสะโร สะตาติเรกะวัสสิโก

๕๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

วัณณะวา พะละสัมปันโน อันตะรายูปะสัคเคหิ อิจฉิตงั ปัตถิตงั สัพพัง จิรงั รัฏเฐ ปะติฏฐาตุ ทีฆายุตาทิสมั ปันนา เต ปุตตะธีตนุ ตั ตาโร ทัยยิกา จะ มะหามัจจา ทัยยะชาติ วิโรเจตุ อิทธิง ปัปโปตุ เวปุลลัง จิรงั โลเก ปะติฏฐาตุ

นิททุกโข อะกุโตภะโย สัพพารีหิ วิมจุ จะตุ ขิปปะมัสสะ สะมิชฌะตุ ปะติฏฐา ทัยยะวาสินงั สิรกิ ติ ติ ปะระมะราชินี ญาติสาโลหิตา จิเม สุขติ า โหนตุ สัพพะทา สัพพะสัมปัตติสทิ ธิยา วิรุฬหิง จุตตะริง สะทา สัมมาสัมพุทธะสาสะนันติ ฯ

๕๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

พระคาถาถวายพระพรชัยมงคล แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ พระบาทสมเด็จ พระเจ า้ อยู ่ห วั ภูม ิพ ลอดุล ยเดช รัช กาลที่ ๙ แห่ง พระบรมจัก รีว งศ์ ทรงพระปรีช าสามารถในการบริห ารประเทศ ตลอดถึงหลักนิตธิ รรม ขนบธรรมเนียมราชประเพณี ทรงเป็ นพุทธมามกะ เป็ นเอกอัครศาสนู ปถัมภก มีพระวิสยั ทัศน์กว้างไกล แก้ไขวิกฤตการณ์ ต่ า งๆ ที ่เ กิด ขึ้ น ในบ า้ นเมือ ง เสด็จ เถลิง ถว ลั ย์ร าชสมบ ตั ิด ว้ ย ทศพิธราชธรรมเสมอมา พระองค์ทรงมุ่งหวังความเจริญรุ่งเรืองแก่พลกนิกรชาวไทย แนะนา แนวทางสมานฉัน ท์ ทรงบ าบัด ทุ ก ข์บ ารุ ง สุ ข แก่ อ าณาประชาราษฎร์ ทรงบ าเพ็ ญ พระราชกรณี ย กิ จ เพื่ อ ประโยชน์ ข องปวงชนชาวไทย มีพระราชหฤทัยแน่ วแน่ มนั ่ คง ทรงปลดเปลื้องชาวไทยผู ป้ ระสบความ ทุกข์ยากให้พน้ จากความทุกข์ยาก ผู ป้ ระสบภัยพิบตั ิให้พน้ จากภัยพิบตั ิ ด้ว ยพระราชหฤทัย กอปรด้ว ยพ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อัน ยิ่ ง ใหญ่ พระราชทานความชุ่มฉา่ ใจแก่ปวงชนชาวไทย ด้วยนา้ พระทัยอันเปี่ ยมล้น ด้วยพระเมตตาธรรม เสมือนหนึ่ งสายฝนโปรยปรายลงมาสู่พ้ ืนพสุ ธ า ในหน้าแล้ง ทาให้สรรพสัตว์ช่มุ ฉา่ ใจ ฉะนัน้ ๕๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

พระองค์พ ระราชทานโครงการอัน เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ อย่ า งเหมาะสม ทรงวางพระองค์เ ป็ น แบบอย่ า ง ปฏิบ ตั ิพ ระองค์ ไปตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพีย ง ที่ ส มเด็ จ พระบรมศาสดาสัม มา สัม พุท ธเจ้า ตรัส เรี ย กว่ า สมชี วิต า ทัง้ พระราชทานพระบรมราโชวาท แนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย งแก่ พ สกนิ ก รและรัฐ บาลอยู่ ต ลอดเวลา เพือ่ เป็ นแนวปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจาวัน บัด นี้ จวบมหามงคลโอกาสที่สมเด็จ พระบรมบพิต ร พระราช สมภารเจ้า สมเด็จพระปรมินทรธรรมิก มหาราชาธิราชเจ้า ผูท้ รงพระคุณ อันประเสริฐ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ในมหามงคลสมัย เช่ น นี้ อาตมภาพทั้ง หลาย ขอถวายพระพรชัย มงคลแด่ ส มเด็ จ พระบรมบพิ ต รพระราชสมภารเจ้า ผู ท้ รงพระคุ ณ อัน ประเสริ ฐ ด้ว ยเดชานุ ภ าพแห่ ง คุ ณ พระศรี ร ัต นตรัย ขอสมเด็ จ บรมบพิ ต ร พระราชสมภารเจ้า ผู ท้ รงพระคุ ณอันประเสริฐ ทรงเจริญพระชนมายุ ยิ่งยืนนาน มีพระพลานามัยสมบู รณ์ทรงพระเกษมสาราญ ปราศจาก ภัยพิบตั ิ อุปทั วันตรายศัตรู ทงั้ ปวง ขอพระราชประสงค์ทงั้ ปวงจงพลัน ส าเร็ จ สมพระราชปณิ ธ านทุ ก ประการ ขอพระองค์ท รงสถิต สถาพร อยู่ ใ นมไหศวรรยาธิ ป ัต ย์เ ป็ นศู น ย์ ร วมใจของพสกนิ ก รชาวไทย ทุกถ้วนหน้า ขอสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญ พระชนมายุย่งิ ยืนนาน มีพระพลานามัยสมบูรณ์ ทรงพระเกษมสาราญ ปราศจากภัย พิบ ตั ิ อุ ป ัท วัน ตรายศัต รู ท งั้ ปวง ขอพระราชประสงค์ ทัง้ ปวง จงพลัน ส าเร็ จ สมพระราชปณิ ธ านทุ ก ประการ ขอพระองค์ ทรงสถิตสถาพรอยู่ในมไหศวรรยาธิปตั ย์ เป็ นศู นย์รวมใจของพสกนิกร ๕๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

ชาวไทยทุ กถ้วนหน้า ขอพระราชโอรส พระราชธิ ดา พระราชนั ดดา พระบรมวงศานุ ว งศ์ทุ ก ๆ พระองค์ พสกนิ ก รชาวไทยทุ ก หมู่ เ หล่ า มุขอามาตย์ราชมนตรีทงั้ หลาย จงมีความสุขความเจริญในกาลทุกเมื่อ ขอประเทศชาติ จ งมี แ ต่ ค วามเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ด้ว ยความส าเร็ จ แห่ ง สมบัติท งั้ ปวง และถึง ซึ่ง ความเจริ ญงอกงามไพบู ล ย์ใ ห้ย่ิง ๆ ขึ้น ไป ตลอดกาลทุกเมื่อ ขอพระพุทธศาสนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จงสถิตมันในโลก ่ สิ้นกาลนานเทอญ. ขอถวายพระพร

๕๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทพุทธชัยมงคลคาถา พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธนั ตัง ค๎รเี มขะลัง อุทติ ะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธมั มะวิธนิ า ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ มาราติเรกะมะภิยชุ ฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทนั ตะวิธนิ า ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมตั ตะภูตงั ทาวัคคิจกั กะมะสะนี วะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนิ า ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ อุกขิตตะขัคคะมะติหตั ถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลมิ าละวันตัง อิทธีภสิ งั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ กัตว๎ านะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธนิ า ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ ฯ ๕๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

สัจจัง วิหายะ มะติสจั จะกะวาทะเกตุง

วาทาภิโรปิ ตะมะนัง อะติอนั ธะภูตงั ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธุ งั มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ ทุคคาหะทิฏฐิภชุ ะเคนะ สุทฏั ฐะหัตถัง พ๎รหั ม๎ งั วิสทุ ธิชตุ มิ ิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตว๎ านะเนกะวิวธิ านิ จุปทั ทะวานิ โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ

คาแปล

ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ทรงชานะพญามาร ซึ่ง ได้เ นรมิต แขนตัง้ พัน ถือ อาวุ ธ ครบมือ ขีช่ า้ งพลายคีรีเมข์ พร้อมด้วยเสนามารโห่รอ้ งกึกก้อง ด้วยธรรมวิธี มีทานบารมีเป็ นต้นนัน้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ๕๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

ด้วยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ทรงชานะอาฬวกะยักษ์ดุร า้ ย ผู ม้ ีจิตกระด้างล าพอง หยาบช้า ยิ่ง กว่าพญามาร เข้ามารุ กรานราวีตลอดรุ่ ง ราตรี ด้วยวิธีท รมาน เป็ นอันดี คือขันติธรรม นัน้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ทรงชานะพญาช้า งนาฬาคีรีซ่งึ กาลังเมามัน ร้ายแรงเหมือนไฟป่ า ลุกลาม ร้อ งโกญจนาทเหมือ นฟ้ าฟาด ด้วยวิธีร ดลงด้วยน า้ คื อ พระเมตตา นัน้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ด้วยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ทรงชานะองคุลมิ ารโจร ทารุณร้ายกาจนัก ทัง้ ฝี มอื เยี่ยมควงดาบ ไล่ต ามพระองค์ไ ปตลอดทาง ๓ โยชน์ ด้ว ยอิ ท ธิ ป าฏิห าริ ย ์ นั้น ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ทรงชานะนางจิญจะมาณะวิกา ที่ทามารยาเสแสร้งกล่าวโทษพระองค์ โดยผูกท่อนไม้กลมแนบเข้ากับท้อง ทาเป็ นท้องมีครรภ์แก่ ด้วยสมาธิวธิ ี ในท่ามกลางประชุมชน นัน้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่านฯ ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ผูร้ ุ่งเรืองด้วยดวงประทีป คือพระปัญญา ได้พบทางชานะสัจจกะนิครนถ์ ผู ม้ ีนิ ส ยั ตลบตะแลง มีส นั ดานโอ้อ วดมืด มนด้ว ยสัจ จวาจา นั้น ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ๕๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี โปรดให้พระโมคคัลลานะเถระพุทธชิโนรส นิรมิตกายเป็ นนาคราช ไปทรมานนันโทปนัน ทนาคราช ผูม้ ฤี ทธิ์มาก แต่มคี วามรู ผ้ ิดด้วยวิธี แสดงอุปเท่หแ์ ห่งฤทธิ์นนั้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ ด้ว ยเดชานุ ภ าพของพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ผู เ้ ป็ น จอมมุนี ได้ท รงชานะท้า วพกาพรหมผู ม้ ีฤทธิ์ มีค วามสาคัญตนผิด ว่าเป็ น ผูม้ ฤี ทธิ์ร่งุ เรืองด้วยวิสุทธิคุณ ถือมัน่ ด้วยมิจฉาทิฏฐิ เหมือนดังถูกงูรา้ ย กาลังตรึงรัดไว้แน่ นแฟ้ น ด้วยวิธีประทานยาพิเศษ คือเทศนาญาณ นัน้ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก่ท่าน ฯ นรชนใด ไม่เกียจคร้าน สวดก็ดี ระลึกก็ดี ซึ่งพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถา แม้เหล่านี้ทุกๆวัน นรชนนัน้ จะพึงละเสียได้ซ่งึ อุปทั วันตราย ทัง้ หลาย มีประการต่างๆ เป็ นอเนก ถึงซึ่งวิโมกข์สวิ าลัยอันเป็ นบรมสุข แล ฯ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณิ นัง ปูเรต๎วา ปารมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมตุ ตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักย๎ านัง นันทิวฑั ฒะโน เอวัง ต๎วงั วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ ๕๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

สุนักขัตตัง สุมงั คะลัง สุขะโณ สุมหุ ตุ โต จะ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะทักขิณานิ กัตว๎ านะ

สุปะภาตัง สุหฏุ ฐิตงั สุยฏิ ฐัง พ๎รหั ม๎ ะจาริสุ วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะณิ ธี เต ปะทักขิณา ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ

คาแปล พระผู ม้ ีพระภาคเจ้า ผู เ้ ป็ นที่พ่งึ ของสัตว์ ประกอบแล้วด้วย พระมหากรุ ณา ยัง บารมีท งั้ หลายทัง้ ปวงให้เ ต็ ม เพื่อ ประโยชน์แ ก่ สรรพสัตว์ทงั้ หลาย ถึง แล้วซึ่ง ความตรัส รู อ้ นั อุด ม ด้วยการกล่า ว คาสัตย์น้ ี ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน ขอท่านจงมีชยั ชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมาร ที่โคนโพธิพฤกษ์ ถึงความเป็ นผูเ้ ลิศในสรรพพุทธาภิเษก ทรงปราโมทย์ อยู่บนอปราชิตบัลลังก์อนั สูง เป็ นจอมมหาปฐพี ทรงเพิม่ พูนความยินดี แก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ ฉะนัน้ เวลาที่สตั ว์ประพฤติชอบ ชื่อ ว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งดี และชนะดี ครู่ดี บูชาดีแล้ว ในพรหมจารีบุคคลทัง้ หลาย กายกรรม เป็ นประทักษิณส่วนเบื้องขวา วจีกรรมเป็ นประทักษิณส่วนเบื้องขวา มโนกรรมเป็ น ประทัก ษิณส่วนเบื้อ งขวา ความปรารถนาของท่ า น เป็ นประทักษิณส่วนเบื้องขวา สัตว์ทงั้ หลายทากรรมอันเป็ น ประทักษิณ ส่ว นเบื้อ งขวาแล้ว ย่อ มได้ป ระโยชน์ท งั้ หลาย อัน เป็ น ประทัก ษิณ ส่วนเบื้องขวา ฯ ๖๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทภวตุ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะพุทธานุ ภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะธัมมานุ ภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะสังฆานุ ภาเวนะ

สัพ รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

คาแปล ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด้ว ยอานุ ภ าพแห่ ง พระพุ ท ธเจ้า ทัง้ ปวง ขอความสวัส ดี ท งั้ หลาย จงมีแก่ท่านทุกเมือ่ ฯ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด้วยอานุ ภาพแห่งพระธรรมทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทงั้ หลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ ฯ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทงั้ ปวง ขอความสวัสดีทงั้ หลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมือ่ ฯ ๖๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทนักขัตตะยักษ์ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริตตัสสานุ ภาเวนะ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริตตัสสานุ ภาเวนะ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริตตัสสานุ ภาเวนะ

ปาปัคคะหะนิ วาระณา หันต๎วา เตสัง อุปทั ทะเว ฯ ปาปัคคะหะนิ วาระณา หันต๎วา เตสัง อุปทั ทะเว ฯ ปาปัคคะหะนิ วาระณา หันต๎วา เตสัง อุปทั ทะเว ฯ

คาแปล พระปริตรสามารถป้ องกันบาปเคราะห์อนั เกิดจากอานาจแห่งฤกษ์ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจทัง้ หลายได้ ด้วยอานุ ภาพแห่งพระปริตรที่ได้สวดมา ตัง้ แต่ตน้ จนจบ จงกาจัดอุปทั วันตรายทัง้ หลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษ์ยาม เป็ นต้นให้พนิ าศหายไป ฯ พระปริตรสามารถป้ องกันบาปเคราะห์อนั เกิดจากอานาจแห่งฤกษ์ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจทัง้ หลายได้ ด้วยอานุ ภาพแห่งประปริตรที่ได้สวดมา ตัง้ แต่ตน้ จนจบ จงกาจัดอุปทั วันตรายทัง้ หลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษ์ยาม เป็ นต้นให้พนิ าศหายไป ฯ พระปริตรสามารถป้ องกันบาปเคราะห์อนั เกิดจากอานาจแห่งฤกษ์ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจทัง้ หลายได้ ด้วยอานุ ภาพแห่งประปริตรที่ได้สวดมา ตัง้ แต่ตน้ จนจบ จงกาจัดอุปทั วันตรายทัง้ หลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษ์ยาม เป็ นต้นให้พนิ าศหายไป ฯ ๖๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระสูตรว่าด้วยพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้า พระวินัยปิฎก มหาวรรค ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นพระสูตรที่มีความสาคัญในฐานะเป็น พระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้าซึ่งบันทึกไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ เล่มที่ ๑๙ และเล่มที่ ๓๑ โดยคาว่า ธรรมจักร มีความหมายว่า “กงล้อคือพระธรรม” ในพระสูตรนี้พระพุทธองค์ทรงประกาศหลักการของ พระพุทธศาสนว่าเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมที่ไม่เชื่อการเนรมิตของ พระเจ้า ด้วยการตรัสเหตุแห่งทุกข์ว่า คือ ตัณหา ทั้งปฏิเสธอาตมันหรือ วิญญาณด้วยการตรัสทุกขสัจว่า คือ อุปทานขันธ์ ๕ ทรงแสดงแนวทาง แห่งความพ้นทุกข์ คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ และตรัสผลของการปฏิบัติว่า คือความดับตัณหา มีความเป็นมาดังนี้ ในวันเพ็ญเดือน ๘ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธเจ้า ทรงแสดงพระสูตรนี้แก่นักบวชปัญจวคีย์ ท่านอัญญาโกณฑัญญะสดับ พระธรรมเทศนานี้แล้วบรรลุธรรมเป็นโสดาบัน พรหม ๑๘ โกฏิกับเทวดา จานวนมากก็บรรลุธรรมด้วยพระสูตรนี้

๖๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร บทขัด อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต ยัตถากขาตา อุโภ อันตา จะตูส๎วาริยะสัจเจสุ เทสิตัง ธัมมะราเชนะ นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง เวยยากะระณะปาเฐนะ

สัมพุชฌิต๎วา ตะถาคะโต ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง โลเก อัปปะฏิวัตติยัง ปะฏิปัตติ จะ มัชฌิมา วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง สังคีตันตัมภะณามะ เส ฯ คาแปล

พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว เมื่อจะ ทรงประกาศธรรมที่ยังไม่มีใครแสดงโดยชอบในโลก ได้ทรงแสดง ธรรมจักร ซึ่งกล่าวถึงส่วนที่สุดสองประเภท และทางสายกลางเป็น รู้แจ้งหมดจดอริยสัจสี่

๖๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

ขอเราทั้งหลายจงสวดธรรมจักรนั้นที่พระธรรมราชาทรงแสดง ปรากฏสมญานามว่า ธัมมจักจักกัปปวัตตนสูตร เป็นสูตรประกาศ พระสัมมาสัมโพธิญาณและพระสังคีติกาจารย์ได้ร้อยกรองไว้โดยความ เป็นพระบาลีประเภทร้อยแก้ว เทอญ บทสวด เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัต ๎ระ โข ภะคะวา ปัญ จะวัค คิเ ย ภิก ขู อามันเตสิ เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ ๖๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ อะยัง โข สา ภิ กขะเว มั ชฌิ ม า ปะฏิ ป ะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ อิทั ง โข ปะนะ ภิ กขะเว ทุ ก ขะสะมุ ท ะโย อะริ ย ะสั จ จั ง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัต ๎ระ ตัต๎ราภินันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิก ขะเว ทุก ขะนิโ รธะคามิน ี ปะฏิป ะทา อะริยะสัจจัง ฯ ๖๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสมาธิ ฯ อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปั ญ ญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิท ัง ทุก ขัง อะริย ะสัจ จัง ปะริญ เญยยัน ติ เม ภิก ขะเว ปุพ เพ อะนะนุส สุเ ตสุ ธัม เมสุ จัก ขุง อุท ะปาทิ ญานัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

๖๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิก ขะเว ปุพ เพ อะนะนุส สุเ ตสุ ธัม เมสุ จัก ขุง อุท ะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกะตันติ เม ภิ ก ขะเว ปุ พ เพ อะนะนุ ส สุ เ ตสุ ธั ม เมสุ จั ก ขุ ง อุ ท ะปาทิ ญาณั ง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุ พ เพ อะนะนุ ส สุ เ ตสุ ธั ม เมสุ จั ก ขุง อุท ะปาทิ ญาณั ง อุ ท ะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพ พัน ติ เม ภิก ขะเว ปุพ เพ อะนะนุส สุเ ตสุ ธัม เมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ๖๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก สัส สะมะณะพ๎ราห๎มะณิย า ปะชายะ สะเทวะมะนุส สายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัต ตะมะนา ปัญ จะวัค คิยา ภิก ขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ๖๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

ภัญญะมาเน อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ ภุม มานัง เทวานั ง สั ท ทั ง สุ ต ๎วา จาตุ ม มะหาราชิ ก า เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุต ๎วา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิม มิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา พ๎รัห๎มะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง (ย่อ) พ๎รัห๎มะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พ๎รัห๎มะปาริสัช ชานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ๗๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

พ๎รัห๎มะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา (ย่อ) (มะหาพ๎รัห๎มา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพ๎รัห๎มานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุงฯ สุ ภะกิณ๎หะกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ๗๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วาอะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ) เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พ๎รัห๎มะโลกา สัท โท อัพ ภุค คัจ ฉิฯ อะยัญ จะ ทะสะสะหัส สี โลกะธาตุ สัง กัม ปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ ๗๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

อิติ หิ ทั ง อายั ส ๎มะโต โกณฑั ญ ญั ส สะ อั ญ ญาโกณฑั ญ โญเต๎ววะ นามัง อะโหสีติ ฯ

คาแปล ข้าพเจ้า พระอานทเถระ ได้ฟังมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่งพระผู้มี พระภาคเจ้าประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้เมืองพาราณสี ในกาลนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส กับพระปัญญจวัคคีย์ว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตไม่ควรประพฤติส่วนสุดโด่ง ๒ อย่างนี้ คือ กามสุขัลลิกานุโยค การประพฤติตนให้หมกมุ่นยุ่งอยู่ กับความสุข ในกามที่ต่าทราม เป็น พฤติกรรมของชาวบ้าน เป็น เรื่องของปุถุชน ไม่ใช่ของอริยชน ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และอัตตกิลมถานุโยค การประพฤติวัตรทรมานตนให้ลาบาก ที่ก่อให้เกิดทุกข์ ไม่ใช่ของอริยชน ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย มัชฌิม าปฏิ ปทา ข้อ ปฏิบั ติอั นเป็น ทาง สายกลางที่เข้าไม่ ถึง เกี่ยวข้อ งส่วนสุตโต่ง ๒ อย่างนั้น ตถาคตได้ ตรัสรู้พิเศษแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ก่อให้เกิดดวงตาเห็นธรรม ก่อให้เกิด ปัญญาเป็นไปเพื่อความสงบระงับกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้แจ้ง และเพื่อความดับทุกข์

๗๓ บทเจริญพระพุทธมนต์

ดูก่อนภิกษุทั้ งหลาย มัชฌิมาปฏิทาที่ตถาคตได้ ตรัสรู้พิเศษ แล้วเป็นข้อปฏิบัติที่ก่อให้เกิดดวงตาเห็นธรรม ก่อให้เกิดปัญญา เป็นไป เพื่อความสงบระงับกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้แจ้งและเพื่อความ ดับทุกนั้น เป็นไฉน (คืออะไรบ้าง) มัชฌิมาปฏิปทา ก็คืออริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ สัมมาวาจา การกล่า วชอบ สัม มากัม มัน ตะ การกระทาชอบ สัม มาอาชีว ะ การเลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ สัมมาสติ ความ ระลึกชอบ และสัมมาสมาธิ ความตั้งจิตมั่นชอบ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้แหละคือมัชฌิมาปฏิปทาดังกล่าวนั้น ที่ตถาคตได้ตรัสรู้พิเศษแล้ว เป็นข้อปฏิบัติที่ก่อให้เกิดดวงตาเห็นธรรม ก่อให้เกิดปัญญา เป็นไปเพื่อความสงบระงับกิเลส เพื่อความรู้ยิ่งเพื่อ ความรู้แจ้ง และเพื่อความดับทุกข์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้จัดเป็น อริยสัจ คือ ทุกข์ ได้ แก่ความเกิด จัด เป็ นทุ กข์ ความแก่จัด เป็ นทุ กข์ ความตาย จัดเป็นทุกข์ความเศร้าโศก ความร่าไร ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และความคับแค้นใจจัดเป็ นทุกข์ การพบกับอารมณ์ที่ไม่ชอบจัดเป็น ทุกข์ การพลัดพรากจากอารมณ์ที่ชอบจัดเป็นทุกข์ และการไม่ได้รับ ๗๔ บทเจริญพระพุทธมนต์

อารมณ์ที่ปรารถนาจัดเป็นทุกข์ (การปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น ก็จัด เป็นทุกข์) กล่าวโดยสรุปรวบยอด อุปาทานขันธ์ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่จิตคนเราข้าไปยึดมั่น) จัดเป็นทุกข์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้จัดเป็นอริยสัจ คือ ทุกขสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์) ได้แก่ ตัณหา ความทะยานอยากที่ก่อ ให้เกิดภาพใหม่ ซึ่งประกอบด้วยความยินดีพอใจ เพลิดเพลินภพและ อารมณ์นั้น ๆ กล่าวคือ กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความผูกพัน ที่มีค วามเห็น ผิด ว่าภพเที่ยง ความอยากเป็น อยู่แ ละ วิถวตัณหา ความผูกพันที่มีความเห็นผิดว่าภพขาดสูญ ความอยาก พรากพ้นไปจากภาวะที่ไม่ปรารถนา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้จัดเป็น อริยสัจ คือ ทุกขนิ โ รธ (ความดับ ทุ กข์) ได้ แก่ ความดั บสนิ ทตั ณหานั้น ทั้ งหมด ความสละตัณหานั้น ความปล่อยตัณหานั้น ความวางตัณหานั้นและ ความไม่พัวพันตัณหานั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้จัดเป็น อริยสัจ คือ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติอันเป็นทางให้เข้าถึงความดับทุกข์ ) ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ สัมมาวาจา การกล่าวชอบสัมมากัมมันตะ ๗๕ บทเจริญพระพุทธมนต์

การกระทาชอบ สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ ความ เพียรชอบ สัมมาสติ ความระลึกชอบและ สัมมาสมาธิ ความตั้งจิตมั่นชอบ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดแล้ว ญาณได้เกิด แล้วปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า อุปาทานขันธ์ ๕ นี้คืออริยสัจที่เป็นทุกข์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดแล้ว ญาณได้เกิด แล้วปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า อริยสัจคือทุกข์นั้นเป็นธรรมที่ควร กาหนดรู้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดแล้ว ญาณได้เกิด แล้วปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า เราได้กาหนดรู้อริยสัจคือทุกนั้นแล้ว ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ ตถาคตในธรรมที่ ไม่ เ คยสดั บ มาก่ อ นว่า ตั ณ หานี้ คื อ อริ ย สัจ ที่ เ ป็ น ทุกขสมุทัย (เหตุแห่งทุกข์) ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแก่ตถาคต ๗๖ บทเจริญพระพุทธมนต์

ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า อริยสัจคือทุกขสมุทัยนั้นเป็นธรรมที่ ควรละ ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแต่ ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดั บมาก่อนว่า เราได้ละอริยสัจคือ ทุกขสมุทัยนั้นแล้ว ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้ว แก่ ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า นิพพานนี้คืออริยสัจที่เป็น ความดับทุกข์ ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแต่ ตถาคตในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า อริยสัจคือทุกขนิโรธนั้นเป็น ธรรมที่ควรรู้แจ้ง ดู ก่ อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิ ด แล้ ว ญารได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแต่ ตถาคตในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า เราได้รู้แจ้งอริยสัจคือทุกขนิโรธ นั้นแล้ว ๗๗ บทเจริญพระพุทธมนต์

ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ ตถาคต ในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า (อริยมรรค) นี้คืออริยสัจที่ เป็นทางดับทุกข์ ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ ตถาคตในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า อริยสัจคือมรรคนั้นเป็นธรรม ที่ควรอบรม ดูก่อ นภิ กษุทั้ง หลาย ดวงตาเห็ น ธรรมได้ เ กิด แล้ว ญาณได้ เกิดแล้ว ปัญญาได้เกิดแล้ว วิชชาได้เกิดแล้ว แสงสว่างได้เกิดแล้วแก่ ตถาคตในธรรมที่ไม่เคยสดับมาก่อนว่า เราได้อบรมอริยสัจคือมรรค นั้นแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตราบใดที่ปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริง ที่มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ในอริยสัจสี่ ยังไม่หมดจดแก่ตถาคต ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ตราบนั้นตถาคตยังไม่ ปฏิญาณว่ าเป็นผู้ตรัสรู้ อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลก ที่มีเทวดา มาร และ พรหม ในเหล่าสัตว์ที่มีสมณะ พราหมณ์ พร้อมด้วยเทวดาและมนุษย์

๗๘ บทเจริญพระพุทธมนต์

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดที่ปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริง ที่มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ในอริยสัจสี่ ได้หมดจดแก่ตถาคต ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้นตถาคตจึงปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัม มาสัม โพธิ ญาณอัน ยอดเยี่ยมในโลกที่มี เ ทวดา มาร และพรหม ในเหล่าสัตว์ที่มีสมณะ พราหมณ์ พร้อมด้วยเทวดาและมนุษย์ ญาณทัสสนะ คือปัญญารู้เห็นได้เกิดตถาคตว่า ความหลุดพ้น ของเราไม่พินาศแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่มีภพใหม่อีกในกาลนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมจักรนี้แล้ว พระภิกษุปัญจวัคคีย์ ปลาบปลื้มพระภาษิตของพระองค์ดังนี้แล เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระธรรมเทศนาธรรมจักรนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรมอันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้บังเกิดแก่ท่าน โกณฑัญญะว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีสภาพเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งทั้งปวงนั้น มีสภาพดับไปเป็นธรรมดา” เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศธรรมจักรแล้ว พวกภุมมเทวดาได้ป่าวประกาศว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงธรรมจักร อันยอดเยี่ยม ณ ป่าอิสิปตนมฤทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี เป็นธรรม ที่สมณะพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกจะคัดค้าน ไม่ได้ (หรือยังไม่เคยแสดงได้) ๗๙ บทเจริญพระพุทธมนต์

เหล่าเทวดาชั้นจาตุมมหาราช ได้ยินเสียงของพวกภุมมเทวดาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... เหล่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ ได้ยินเสียงของพวกจาตุมมหาราชแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... เหล่าเทวดาชั้นยามา ได้ยินเสียงของเหล่าเทวดาชั้นดาวดึงส์แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... เหล่าเทวดาชั้นดุสิต ได้ยินเสียงของเหล่าเทวดาชั้นยามาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... เหล่าเทวดาชั้นนิมมานรดี ได้ยินเสียงของเหล่าเทวดาชั้นดุสิตแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... เหล่าเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัดดี ได้ยินเสียงของเหล่าเทวดา ชั้นนิมมานรดีแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพที่นับเนื่องในหมู่พรหม ได้ยินเสียงของเหล่าเทวดา ชั้นปรนิมมิตวสวัดดีแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นพรหมปาริสัชชา ได้ยินเสียงของทวยเทพที่นับเนื่อง ในหมู่พรหมแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นพรหมปโรหิตา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นพรหมปาริสัชชาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ๘๐ บทเจริญพระพุทธมนต์

ทวยเทพชั้น มหาพรหม ได้ ยินเสียงของทวยเทพชั้น พรหมปโรหิตาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นปริตตาภา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นมหาพรหม แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นอัปปมาณาภา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นปริตตาภา แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นอาภัสสรา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นอัปปมาณาภา แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นปริตตสุภา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นอาภัสสรา แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นอัปปมาณสุภา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นปริตตสุภา แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นสุภกิณหกา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นอัปปมาณสุภาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นอสัญญีสัตว์ ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นสุภกิณหกา แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นเวหัปผลา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นอสัญญีสัตว์ แล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ๘๑ บทเจริญพระพุทธมนต์

ทวยเทพชั้นอวิหา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นเวหัปผลาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้น อตัป ปา ได้ยิน เสียงของทวยเทพชั้น อวิห าแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นสุทัสสา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นอตัปปาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้น สุทั สสี ได้ ยินเสียงของทวยเทพชั้น สุทัสสาแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า... ทวยเทพชั้นอกนิฏฐกา ได้ยินเสียงของทวยเทพชั้นสุทัสสีแล้ว ได้ป่าวประกาศว่า “พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรมจักรอันยอดเยี่ยม ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เ มือ งพาราณสี เป็น ธรรมที่ส มณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกจะคัดค้านไม่ได้” เสีย งป่า วประกาศในโลกนี ้ไ ด้แ พร่ส ะพัด ถึง พรหมโลก โดยชั่ ว ขณะนั้ น ด้ ว ยประการฉะนี้ หมื่ น โลกธาตุ นี้ ไ ด้ สั่ น สะเทื อ น หวั่นไหว และเกิดโอภาสอันใหญ่หลวงหาประมาณมิ ได้ในโลก ยิ่งกว่า เทวานุภาพของเทวดาทั้งหลาย ณ กาลนั้ น พระผู้ มี พ ระภาคเจ้ า ทรงเปล่ ง พระอุ ท านว่ า “ท่ านทั้ งหลาย โกณฑั ญญะรู้ แล้วหนอ ท่ านทั้ งหลาย โกณฑั ญญะรู้ แล้วหนอ” ฉะนั้น ท่านโกณฑัญญะจึงได้ปรากฏนามนี้ว่า “อัญญาโกณฑัญญะ พระโกณฑัญญะผู้รู้แล้ว” ฉะนี้แล ฯ ๘๒ บทเจริญพระพุทธมนต์

หนังสืออ้างอิง คู่มอื ประกอบพิธเี จริญพระพุทธมนต์ เจริญจิตตภาวนา และการปฏิบตั ธิ รรม.

กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๔๙. คู่มอื สวดมนต์ทาวัตรเช้า-เย็น ฉบับกรมการศาสนา. กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๐. ทาวัตรสวดมนต์ (แปล). กองพระพุทธศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ, ๒๕๕๓. พระมหาเทอด าณวชิโร (วงศ์ชะอุ่ม), พุทธานุภาพ. กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์วชิรา สานักพิมพ์, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๐, ๒๕๔๙. พระสูตรและปาฐะเพือ่ ถวายพระพรชัยมงคลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั . กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๐. สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว), สวดมนต์ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ, มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๖, ๒๕๓๘. สวดมนต์แปล ฉบับหอสมุดวชิรญาณ. โรงพิมพ์บารุงนุกุล, ร.ศ. ๑๒๘. ธนิต อยู่โพธิ์, อานุภาพพระปริตร. กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พิมพ์ครัง้ ที่ ๖, ๒๕๔๓.

๘๓ บทเจริญพระพุทธมนต์