From nursing documentation to safety nurses & safety

From nursing documentation to safety nurses & safety patient : บทบาทสภาวิชาชีพ สภาการพยาบาล...

78 downloads 678 Views 1MB Size
From nursing documentation to safety nurses & safety patient :

บทบาทสภาวิชาชีพ

สภาการพยาบาล

ประเด็น • บทบาทสภาการพยาบาล: ความปลอดภัย • พยาบาล • ผู้รับบริการ • มาตรฐานการพยาบาลด้านเอกสารการพยาบาลและ กระบวนการที่สภาการพยาบาลกาหนดและดาเนินการ เพื่อความปลอดภัยของพยาบาลและผู้รับบริการ

บทบาทสภาการพยาบาล สภาการพยาบาล เป็นองค์กรวิชาชีพทีเ่ กิดขึ้นโดยกฎหมายวิชาชีพ คือพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 ซึ่งหลักการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ที่สาคัญ มี 3 ประการ ได้แก่ 1.หลักการควบคุมการศึกษาพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2.หลักการควบคุม กากับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 3.หลักการคุ้มครองประชาชนผู้ใช้บริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์

บทบาทสภาการพยาบาล หลักการที่ 1. ควบคุมการศึกษาพยาบาลและการผดุงครรภ์

แผนพัฒนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ฉบับที่ 2 (2550-2559)

วิสัยทัศน์ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์มุ่งปกปูองสุขภาพ ของประชาชนทั้งในภาวะปกติและผิดปกติ โดยการใช้ศักยภาพและ ความรู้ความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุง ครรภ์ในการจัดและให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และ ประชาชนเข้าถึงได้อย่างเป็นธรรม รวมถึงสามารถตอบสนอง นโยบายสุขภาพแห่งชาติ

พันธกิจ 1. กาหนดนโยบายและมาตรการในการผลิตพยาบาลและผดุงครรภ์ให้พอเพียงกับ การให้บริการทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤตของระบบสุขภาพ 2. ส่งเสริมการจัดบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานวิชาชีพอย่างทั่วถึงในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ เพื่อให้ประชาชนใน ทุกพื้นที่ได้รับบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ที่มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐาน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรพยาบาล ให้มีการบริหารที่ยึดหลักคุณธรรม มี ความเป็นเอกภาพ มีเอกสิทธิ์แห่งวิชาชีพ 4. ส่งเสริมและอานวยการให้มีการวิจัยการจัดการความรู้ ด้านการพัฒนาระบบ การพยาบาลและการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ

พันธกิจ 5. เสริมสร้างศักยภาพผูน้ าทางการพยาบาล เพื่อนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรม บริการด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์และทาให้เกิดพลวัตของการพัฒนา บริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ที่ตอบสนองต่อนโยบายสุขภาพแห่งชาติ 6. สนับสนุนเครือข่าย สมาคม ชมรม หรือกลุ่มผู้ปฏิบัติงานการพยาบาล ได้ร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบ ทักษะ และพัฒนาตนเองของสมาชิก 7. ประสานเชือ่ มโยงกับเครือข่ายต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อ การขับเคลื่อนนโยบายและผลักดันแนวคิดสาคัญต่อการพัฒนาระบบการพยาบาล ในทุกสาขา

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการจัดการศึกษาการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ทุกระดับให้สูงขึ้นและเป็นสากลเพื่อให้สามารถผลิตและพัฒนา พยาบาลวิชาชีพให้มีจานวนเพียงพอและมีคุณภาพเพื่อให้บริการสุขภาพแก่ ประชาชนและผู้รับบริการได้ประโยชน์สูงสุด 2. เพื่อสร้างธรรมภิบาลในการบริหารจัดการระบบบริการการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ให้มีมาตรฐาน มีคุณภาพ สามารถเข้าถึงและตอบสนองความต้องการด้าน สุขภาพของประชาชนและผู้รับบริการอันจะส่งผลให้ประชาชนทุกกลุ่มมีสุขภาพ อนามัยที่ดี สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้

วัตถุประสงค์ 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและระบบการบริหารจัดการความรู้ด้านการพยาบาล การผดุง ครรภ์และสุขภาพเพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาและวิกฤตจากความเจ็บป่วยและการ เสนอแนะนโยบายเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นของประชาชนและพัฒนาระบบบริการการ พยาบาลทุกระดับทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ให้ยกระดับคุณภาพและ มาตรฐาน สามารถรองรับกับภาวะวิกฤตและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงได้ 4. เพื่อเพิม่ ศักยภาพขององค์กรวิชาชีพการพยาบาลและเครือข่ายในการพัฒนา วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้มบี ทบาทคุ้มครองสิทธิประโยชน์ด้าน สุขภาพของประชาชน ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนและควบคุมการปฏิบัติของ วิชาชีพให้ได้มาตรฐานที่ดีอย่างต่อเนื่อง

เปูาหมาย 1. ประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ที่มี คุณภาพ ได้มาตรฐานและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ 2. สถาบันการศึกษาพยาบาลทุกแห่งมีความเข้มแข็งทางวิชาการและมีคุณภาพเป็น ที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ สามารถผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ มีความรู้คู่คุณธรรม ให้มีจานวนเพียงพอต่อความต้องการของประเทศ 3. บุคลากรทางการพยาบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีสมรรถนะในการปฏิบัติการ พยาบาลที่เป็นไปตามมาตรฐานการบริการการพยาบาลทุกระดับและมีอตั ราส่วนที่ เพียงพอในการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนทั้งในภาวะปกติ เจ็บป่วย วิกฤตและ ภาวะใกล้ตาย ทั้งในสถานพยาบาลและชุมชน

เปูาหมาย 4. หน่วยงานพยาบาลและองค์กรพยาบาลในสถานบริการสุขภาพทุกระดับพัฒนา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนและใช้ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ เป็นสิ่งขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มีบุคลากรจานวนเพียงพอตาม มาตรฐานวิชาชีพ 5. มีระบบและกลไกการจัดการความรู้และงานวิจัยเกิดขึ้นในหน่วยงานพยาบาลทุก ระดับ 6. มีระบบและกลไกการใช้ความรู้และการสร้างวัฒนธรรมสุขภาพของชุมชน

เปูาหมาย 7. องค์กรวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพการพยาบาลเฉพาะทางทุกแห่งมีบทบาทเป็น ผู้นาในการพัฒนาสุขภาพของประชาชนผู้รับบริการและความก้าวหน้าของผู้ ประกอบวิชาชีพ 8. มีเครือข่ายความร่วมมือที่เป็นสากลทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อ พัฒนาความรู้ภาวะผู้นาการบริหารการจัดการองค์กรและการปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์

1. แผนนโยบายและมาตรการในการผลิตพยาบาลและผดุงครรภ์ ประกอบด้วย 7 แผนงาน แผนงานที่ 1 การพัฒนานโยบายด้านการผลิต การกระจาย และการคงอยู่ของ พยาบาล แผนงานที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรการผลิตพยาบาลระดับอุดมศึกษา แผนงานที่ 3 การพัฒนาสถาบันการศึกษาพยาบาล แผนงานที่ 4 การพัฒนาอาจารย์ในสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ แผนงานที่ 5 การจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาสมรรถนะพยาบาล แผนงานที่ 6 การพัฒนากาลังคนในพื้นที่เสี่ยงหรือวิกฤตจากสถานการณ์ ความไม่สงบ แผนงานที่ 7 การพัฒนานักศึกษาสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์

2.แผนพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประกอบด้วย 7 แผนงาน แผนงานที1่ การพัฒนาองค์กรและระบบบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ใน สถานบริการสุขภาพ แผนงานที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ แผนงานที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ เพือ่ บริการการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ที่เป็นเลิศ แผนงานที่ 4 การรับรองและการประกันคุณภาพการบริการพยาบาลและ การผดุงครรภ์

2.แผนพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ แผนงานที่ 5 การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพของพยาบาลและ ผดุงครรภ์ แผนงานที่ 6 การสร้างเสริมศักยภาพผู้นาทางการพยาบาล แผนงานที่ 7 การส่งเสริมให้มีกฎหมายรองรับวุฒบิ ัตรการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติ การพยาบาลขั้นสูง

3.แผนส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กรพยาบาล และองค์การวิชาชีพ ประกอบด้วย 6 แผนงาน แผนงานที่ 1 การพัฒนาองค์กรพยาบาลและองค์กรวิชาชีพสู่การเป็นองค์กรที่มี ระบบการบริหารจัดการที่ดีโดยยึดหลักความมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ ความเท่าเทียม ความพอเพียง และความเอื้อ อาทร แผนงานที่ 2 การพัฒนาองค์กรพยาบาลเป็นกลไกในการสร้างวัฒนธรรมการใช้ ข้อมูลและความรู้เพื่อการปฏิบัติการพยาบาลและสร้างวัฒนธรรม สุขภาพของชุมชน แผนงานที่ 3 การพัฒนาความเชี่ยวชาญขององค์กรพยาบาลในการออกแบบ ระบบบริการพยาบาลที่ตอบสนองต่อสถานการณ์และความ ต้องการของผู้ใช้บริการที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

3.แผนส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กรพยาบาล และองค์การวิชาชีพ แผนงานที่ 4

แผนงานที่ 5

แผนงานที่ 6

การพัฒนาองค์กรพยาบาลให้มีสมรรถนะในการทาหน้าที่เป็น ผู้ไกล่เกลี่ยหรือลด ความขัดแย้งระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการที่ เป็นที่ยอมรับในระดับองค์กรและประชาชน การพัฒนาองค์กรพยาบาลและองค์กรวิชาชีพให้มีระบบ ประกันคุณภาพภายในหน่วยงาน /สถาบัน และสามารถใช้ เป็นพื้นฐานของการรับรองคุณภาพจากหน่วยงานภายนอก การพัฒนาศักยภาพขององค์กรวิชาชีพ และสมาคมวิชาชีพ การพยาบาลเฉพาะทาง

4.แผนส่งเสริมการวิจัยพัฒนาระบบการพยาบาลและสร้างนักวิจัย ประกอบด้วย 6 แผนงาน แผนงานที่ 1 การส่งเสริมการวิจัยนโยบายพัฒนาระบบการพยาบาล และระบบ การศึกษาทางการพยาบาล แผนงานที่ 2 การส่งเสริมการวิจัยด้านการบริการในคลินิก แผนงานที่ 3 การส่งเสริมการวิจัยด้านการสร้างเสริมสุขภาพและสุขภาพชุมชน แผนงานที่ 4 การส่งเสริมการวิจัยเพื่อการบริหารองค์กรทางการพยาบาล แผนงานที่ 5 การสนับสนุนการวิจัยด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องการพยาบาลและ ผดุงครรภ์ แผนงานที่ 6 การสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่

5. แผนการจัดการความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประกอบด้วย 2 แผนงาน แผนงานที่ 1 การสร้างระบบและกลไกการจัดการความรู้ทางการพยาบาล และการผดุงครรภ์ แผนงานที่ 2 การพัฒนาเครือข่ายและการส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ คุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์

6.แผนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประกอบด้วย 3 แผนงาน แผนงานที่ 1 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ ระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระหว่างหน่วยงานในประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ แผนงานที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือในการผลิตและใช้กาลังคน ทางการพยาบาลร่วมกับสถาบันการศึกษาและองค์กรภาคี ต่างประเทศ

7.แผนการประยุกต์ใช้แผนพัฒนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์แห่งชาติ ประกอบด้วย 2 แผนงาน แผนงานที่ 1 การใช้แผนพัฒนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เป็น แนวทางในการปฏิบัติงาน แผนงานที่ 2 จัดให้มีระบบและกลไกการประสานงาน ติดตาม และ ประเมินผลแผนพัฒนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์

บทบาทสภาการพยาบาล หลักการที่ 2.การควบคุม กากับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์หรือผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

สมรรถนะหลักของผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์

สภาการพยาบาล

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ • วัตถุประสงค์ เพื่อทาให้การบริการของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพใน การพัฒนาตนเองและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง สภาการพยาบาลโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสภาการพยาบาล ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๒ จึงออกประกาศ กาหนดสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพไว้ ดังต่อไปนี้

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ • ความหมาย และ องค์ประกอบของสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ หมายถึง ความรู้ ความสามารถ และเจตคติของพยาบาลวิชาชีพ ที่สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ที่จะทาให้สามารถปฏิบัติการพยาบาลได้ตามขอบเขต ของวิชาชีพอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ เป็นผู้ร่วมงานที่มีประสิทธิภาพ มีศักยภาพใน การพัฒนาตนเอง และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม โดย สามารถแบ่งได้ เป็น ๘ ด้านได้แก่ ๑) สมรรถนะด้าน จริยธรรม จรรยาบรรณและกฎหมาย ๒) สมรรถนะ ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ๓) สมรรถนะด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ๔) สมรรถนะด้านภาวะผู้นา การจัดการ และการพัฒนาคุณภาพ ๕) สมรรถนะด้านวิชาการ และการวิจัย ๖) สมรรถนะด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ๗) สมรรถนะด้านเทคโนโลยี และสารสนเทศ และ ๘) สมรรถนะด้านสังคม

สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ( ๘ ด้าน) ๑) ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณและกฎหมาย ๒) ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ๑. ความรู้ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล ๒. ความรู้ความสามารถในการสร้างเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค ๓. ความรู้ความสามารถในการดูแลผู้เจ็บปุวยอย่างต่อเนื่องการดูแลต่อเนื่อง ๔. ความรู้ความสามารถด้านการพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์ ๕. หัตถการและ ทักษะ/เทคนิคการปฏิบัติการพยาบาลทั่วไป

สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ( ๘ ด้าน) ๓) ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ๔) ด้านภาวะผู้นา การจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ๕) ด้านวิชาการและการวิจัย ๖) ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ๘) ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ๘) ด้านสังคม

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ สมรรถนะด้านที่ ๑ สมรรถนะด้านจริยธรรม จรรยาบรรณและกฎหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ทฤษฎีและหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ศาสนาและวัฒนธรรม สิทธิมนุษยชน สิทธิผู้บริโภค สิทธิเด็ก สิทธิผปู้ ่วย หลักกฎหมายทั่วไป กฎหมายว่าด้วยสุขภาพแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิต กฎหมายว่าด้วยหลักประกัน สุขภาพ กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตการปฏิบัติการพยาบาลและข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้ง ข้อบังคับของวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง มีจิตสานึกทางจริยธรรม ตระหนักในคุณค่า ความเชื่อของ ตนเองและผู้อื่น มีความไวต่อประเด็นจริยธรรม และกฎหมาย มีความสามารถในการตัดสินใจ เชิงจริยธรรม และประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเหมาะสม

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ/จรรยาบรรณพยาบาลฉบับปี 2546 ๑.ตระหนักในคุณค่า ความเชื่อของตนเองและผู้อื่น 1. พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชนผู้ และไม่ใช้คุณค่า ความเชื่อของตนเองในการ ต้องการการพยาบาลและบริการสุขภาพ ตัดสินผู้อื่น ให้การพยาบาลโดยแสดงออกถึง 2. พยาบาลประกอบวิชาชีพ ด้วยความ การเคารพในคุณค่า ความเชื่อ และศักดิ์ศรีของ เมตตา กรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความเป็นมนุษย์ ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของ ๒.ตระหนักในข้อจากัดของสมรรถนะตนเอง ไม่เสี่ยง เพื่อนมนุษย์ ในการปฏิบัติงานทีอ่ าจเกิดผลเสียต่อผู้ใช้บริการ 3. พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับ และปรึกษาผู้รู้อย่างเหมาะสมเพื่อความ ผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงานและประชาชน ปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ด้วยความเคารพในศักดิศ์ รีและสิทธิ ๓.แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นจาก มนุษยชนของบุคคล การปฏิบัติการพยาบาลของตน ๔.ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการได้รับรู้และเข้าใจในสิทธิของ ตน

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ/จรรยาบรรณพยาบาลฉบับปี 2546 ๕. ปกปูองผูท้ ี่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิ หรือได้รับการปฏิบตั ิที่ผิดหลักคุณธรรม จริยธรรม อย่างเหมาะสม ๖. วิเคราะห์ประเด็นจริยธรรมและกฎหมายที่ เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการพยาบาล ตัดสินใจเชิง จริยธรรมและดาเนินการได้อย่างเหมาะสม ใน สถานการณ์ที่มีความขัดแย้งทางจริยธรรมและ/ หรือกฎหมายที่ไม่ซับซ้อน ๗. ปฏิบัติการพยาบาลโดยแสดงออกซึ่งความเมตตา กรุณา คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของผูใ้ ช้บริการ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฎหมาย และข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง

4.พยาบาลยึดหลักความยุติธรรม และความเสมอ ภาคในสังคมมนุษย์ 5.พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศ 6.พยาบาลพึงปูองกันอันตรายต่อสุขภาพและ ชีวิตของผู้ใช้บริการ 7.พยาบาลรับผิดชอบในการปฏิบัติให้สังคมเกิด ความเชื่อถือ ไว้วางใจต่อพยาบาล 8.พยาบาลพึงร่วมในการทาควาเจริญก้าวหน้า ให้แก่วิชาชีพการพยาบาล 9.พยาบาลพึงรับผิดชอบต่อตนเอง เช่นเดียวกับ รับผิดชอบต่อผู้อื่น

หลักการที่ใช้พิจารณาตัดสินเชิงจริยธรรม 1.สิทธิของผู้ปุวยในการตัดสินใจอย่างอิสระ (Autonomy) 2.การกระทาเพื่อประโยชน์ของผู้ปุวยเป็นสาคัญ (Beneficence) 3.การกระทาเพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุ หรือปูองกันอันตรายที่ อาจจะเกิดขึ้น (Nonmaleficence)

หลักการที่ใช้พิจารณาตัดสินเชิงจริยธรรม (ต่อ) 4. การกระทาด้วยความซื่อสัตย์ ตามพันธะสัญญา ของวิชาชีพ (Fidelity) 5. การกระทาต่อผู้ปุวยและครอบครัวด้วยความ ยุติธรรม (Justice) 6. การบอกความจริง

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ สมรรถนะด้านที่ ๒ สมรรถนะด้านการปฏิบัติการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ บูรณาการแนวคิด ศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ศิลปะการ พยาบาล ในการปฏิบัติการพยาบาลระดับพืน้ ฐาน เพื่อให้การพยาบาลแบบองค์ รวมที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย โดยใช้กระบวนการพยาบาล หลักฐานเชิงประจักษ์ จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และคานึงถึงความเป็น ปัจเจกบุคคล ในการสร้างเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค ดูแลช่วยเหลือและฟืน้ ฟู สภาพแก่ผู้ใช้บริการ ทุกกลุ่มวัย ทั้งผู้ที่อยู่ในภาวะสุขภาพดี ภาวะเสี่ยง เจ็บปุวยเฉียบพลัน ฉุกเฉิน วิกฤติ และเรือ้ รัง โดยเฉพาะการเจ็บปุวยที่เป็น ปัญหาสาคัญของประเทศและชุมชน

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๑. ความรู้ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล ๑.๑ ประเมินสภาพผู้ใช้บริการโดยใช้เทคนิควิธีการประเมินสภาพที่เหมาะสมกับบุคคล วัฒนธรรม ภาวะสุขภาพ จากแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม และได้ข้อมูลที่จาเป็นต่อการ ปฏิบัติการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวม (กาย จิต ปัญญา สังคม) ๑.๒ ประเมินปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งเสริมสุขภาพ ทั้งปัจจัยด้านบุคคล สิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ สิ่งแวดล้อมด้านสังคม วัฒนธรรม ๑.๓ วิเคราะห์ข้อมูล และวินิจฉัยการพยาบาลโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์บนพื้นฐาน ของข้อมูลและหลักการวินจิ ฉัยการพยาบาลได้อย่างครบถ้วน ๑.๔ วางแผนการพยาบาลที่สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาล โดยใช้ข้อมูล ความรู้เชิง ประจักษ์ กาหนดเป้าหมายผลลัพธ์ที่ชัดเจน ผู้ใช้บริการ/ครอบครัว/ผู้ดูแลมีส่วนร่วมใน การวางแผนการพยาบาลอย่างเหมาะสม แผนการพยาบาลเป็นแผนที่มีความเป็นไปได้ มี ความเฉพาะเจาะจงกับผู้ใช้บริการ เหมาะสมกับบริบททางสังคม วัฒนธรรม ของ ผู้ใช้บริการ

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๑.๕ ปฏิบัติการพยาบาลที่สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและแผนการพยาบาล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพยาบาล โดยใช้ศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้เทคนิควิธีการปฏิบัติการพยาบาลที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีความเหมาะสมกับผู้ใช้บริการและครอบครัว ใช้หลักการส่งเสริมการดูแลตนเอง หลัก ความปลอดภัย ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างเหมาะสม ๑.๖ ประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับเป้าหมาย/ผลลัพธ์ ทางการพยาบาล ในระยะเวลาที่เหมาะสม ตั้งแต่ผู้ใช้บริการอยู่ในความดูแลจนกระทั่งการ ปฏิบัติการพยาบาลบรรลุวัตถุประสงค์ หรือผู้ใช้บริการสามารถดูแลตนเองได้

๑.๗ บันทึกทางการพยาบาลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็น ปัจจุบันตามกระบวนการพยาบาล •

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๒. ความรู้ความสามารถในการสร้างเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค มีความรู้ในหลักการ กลยุทธ์ และกลวิธใี นการสร้างเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมพลัง อานาจ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถดาเนินการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และความเจ็บป่วยในผู้ใช้บริการทุกวัย ทั้งสุขภาพดี อยู่ในภาวะเสี่ยง และเจ็บป่วย เพื่อให้ สามารถดูแลและพึ่งตนเองได้ ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๒.๑ ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคลแต่ละวัยและครอบครัว โดยใช้ กลวิธีที่เหมาะสม รวมทั้งการประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะสุขภาพ วินิจฉัยภาวะสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของบุคคลแต่ละวัย ภาวะเสี่ยงต่อโรคและความเจ็บป่วยที่ เป็นปัญหาของประเทศ และวางแผนการสร้างเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครัวได้อย่าง เหมาะสม ๒.๒ ใช้หลักการสร้างเสริมสุขภาพ หลักการทางสุขศึกษา หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หลักการเสริมสร้างพลังอานาจ ในการเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่สาคัญ เช่น พฤติกรรมการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการกับความเครียด เป็นต้น

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๒.๓ ให้ภูมิคุ้มกันโรค ตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ๒.๔ ให้คาแนะนาในการเลี้ยงดูและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปกติ ๒.๕ ประเมิน วินิจฉัย ครอบครัว กลุ่มคน ชุมชน โดยใช้เทคนิควิธีที่เหมาะสม และใช้กลวิธี การดาเนินการในชุมชน ในการสร้างความเข้มแข็งและสร้างความร่วมมือของชุมชนเพื่อ ดาเนินการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและสร้างกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ ๒.๖ วิเคราะห์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อนามาใช้ในการป้องกันโรคและการส่งเสริม สุขภาพได้ ๒.๗ จัดทาโครงการสร้างเสริมสุขภาพ การปูองกันโรคและความเจ็บป่วย แก่ครอบครัว กลุ่มคน ชุมชน

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๓.ความรู้ความสามารถในการดูแลผู้เจ็บปุวยอย่างต่อเนื่อง มีความรู้ในการตอบสนองของบุคคลและครอบครัวต่อการเจ็บป่วยทั้ง ทางด้านกาย จิต สังคม สามารถใช้หลักการบาบัดทางการพยาบาล ในการดูแล ผู้ใช้บริการที่เจ็บป่วยเฉียบพลัน ฉุกเฉิน วิกฤต และเรื้อรังทีไ่ ม่ซับซ้อน อย่าง ต่อเนื่อง ตั้งแต่รับไว้ในการดูแลจนกระทั่งผู้ใช้บริการและครอบครัวสามารถดูแล ตนเองได้ หรือจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต หรือสามารถส่งต่อได้อย่างเหมาะสม รวมทั้ง เข้าใจบทบาทของตนเอง ในการจัดการสาธารณภัย

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๓.๑ ประเมินภาวะสุขภาพ ภาวะเสี่ยง ความสามารถในการดูแลตนเอง วินิจฉัยการพยาบาล และปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยในภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลัน ฉุกเฉิน วิกฤติ และเรื้อรัง ได้ อย่างปลอดภัย ๓.๒ ใช้หลักการและเทคโนโลยีการบาบัดทางการพยาบาล (nursing therapeutic principles and technology) ในการจัดการอาการ การดูแลความสุขสบาย การเฝ้าระวัง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อน การลุกลามของโรคและความพิการ รวมทั้งการ ส่งเสริมการฟื้นหายให้เหมาะสมกับความเจ็บป่วยและความเป็นปัจเจกบุคคลของ ผู้ใช้บริการ

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๓.๓ ใช้หลักการดูแลต่อเนื่อง หลักการดูแลสุขภาพที่บ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ใช้บริการ และครอบครัวในการดูแลตนเองได้ ๓.๔ ใช้หลักการดูแลแบบประคับประคอง (palliative care) ในการดูแลผู้ป่วยระยะ สุดท้าย ให้ผู้ป่วยตายอย่างสงบ และสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ๓.๕ วิเคราะห์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น แสวงหาแหล่งสนับสนุนทางสังคม มาใช้ใน การดูแลผู้ใช้บริการที่มีความเจ็บป่วยได้อย่างเหมาะสม

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๔. ความรู้ความสามารถด้านการพยาบาลครอบครัวและการผดุงครรภ์ มีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีครอบครัว การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ จิตสังคม ของหญิงใน ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังคลอด สามารถรับฝากครรภ์ คัดกรองภาวะเสี่ยง ทา คลอดปกติ ให้การพยาบาลมารดา ทารกและครอบครัวในระยะหลังคลอด ส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ และให้บริการวางแผนครอบครัวได้

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๔.๑ ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลหญิงและครอบครัว ในระยะ ตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด และทารกแรกเกิด ทั้งในภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง และ ภาวะแทรกซ้อน ให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ ตามบริบทของผู้ใช้บริการและครอบครัว โดยประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ๔.๒ รับฝากครรภ์ คัดกรองภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม ๔.๓ ทาคลอดปกติได้ รูว้ ธิ กี ารตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ ๔.๔ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๕ ช่วยเหลือแพทย์ในการทาสูติศาสตร์หัตถการ

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๔.๖ ให้บริการวางแผนครอบครัวตามขอบเขตวิชาชีพ ๔.๗ สอน แนะนา ให้คาปรึกษาเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การเตรียมความพร้อมใน การมีครอบครัว การเตรียมตัวเป็นบิดามารดา การเตรียมตัวเพื่อการคลอด และการปฏิบัติ ตนในทุกระยะของการตั้งครรภ์และการคลอด การดูแลทารกแรกเกิด ๔.๘ สร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดา มารดา ทารก และครอบครัวในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด

สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ๕. หัตถการและ ทักษะ/เทคนิคการปฏิบัติการพยาบาลทั่วไป มีความรู้ความสามารถในปฏิบัติทักษะและเทคนิคการพยาบาลทั่วไป เพื่อให้การ พยาบาลแก่ผู้ใช้บริการทุกกลุ่มวัย ทุกภาวะสุขภาพ เพื่อบรรเทาอาการ และแก้ไขปัญหา สุขภาพ ๕.๑ การปฏิบัติหัตถการตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้แก่ การทาแผล การตกแต่ง บาดแผล การเย็บแผล การตัดไหม การผ่าฝีในตาแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสาคัญ ของร่างกาย การถอดเล็บ การจีห้ ูด หรือจี้ตาปลา การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ใน ตาแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสาคัญของร่างกายออก โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทาง ผิวหนัง การล้างตา ๕.๒ ทักษะและเทคนิคการปฏิบัติการพยาบาลทั่วไป ตามที่สภาการพยาบาลกาหนด •

สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ( ๘ ด้าน) ๓) ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ๔) ด้านภาวะผู้นา การจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ๕) ด้านวิชาการและการวิจัย ๖) ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ๘) ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ๘) ด้านสังคม

บทบาทสภาการพยาบาล หลักการที่ 3.หลักการคุ้มครองประชาชนผู้ใช้บริการ การพยาบาลและการผดุงครรภ์

บทบาทสภาการพยาบาล  หลักการคุ้มครองประชาชนผู้ใช้บริการ สภาการพยาบาลมีบทบาทสาคัญประการหนึง่ ในการดาเนินการควบคุม คุณภาพบริการที่จัดและดาเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพด้านการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ สภาการพยาบาลจึงได้มีดาริที่จะดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ บริการในสถานพยาบาลมาตั้งแต่ พ.ศ. 2537 โดยคณะกรรมการสภาการ พยาบาลวาระ พ.ศ. 2537 – 2540 ได้สร้างแบบประเมินโรงพยาบาล 10 ด้าน และแล้วเสร็จเมื่อต้นปี 2540

บทบาทสภาการพยาบาล เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย ที่สาคัญคือ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มีเรื่องที่เกี่ยวข้องมาตรฐานของบริการ ทางสาธารณสุข โดยเฉพาะทางอย่างยิ่ง มาตรา 52 และมาตรา 82 มาตรา 52 “บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสมอกันในการรับบริการทาง สาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน…….” และ มาตรา 82 รัฐต้องจัดและส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับ บริการที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง



ต่อมาได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2545 โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับสิทธิของประชาชนที่ จะได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานตามมาตรา 5 ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า

“บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมี ประสิทธิภาพตามที่กาหนด…..” สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่เกิดขึ้น ตามพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพฉบับนี้ ก็ได้มีการดาเนินการหลายๆ อย่าง เพื่อการ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขทีส่ าคัญ

ประการหนึ่งคือ ได้ออกข้อบังคับสานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติว่าด้วยมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. 2548 และกาหนดให้ สภาวิชาชีพต้องมีส่วนร่วมในภารกิจดังกล่าวนี้ด้วย

บทบาทสภาการพยาบาล ข้อ 3 วรรคสอง “กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข” หมายความว่า กฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การพยาบาล การผดุงครรภ์…..” ข้อ 4 “มาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วย บริการและเครือข่ายหน่วยบริการ ให้ถือปฏิบัติโดยอนุโลมตาม กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข…”

บทบาทสภาการพยาบาล • สภาการพยาบาลซึ่งเป็นสภาวิชาชีพที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ บริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องให้ความ ร่วมมือกับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการ ควบคุม การจัดบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้เป็นไปตามมาตรฐานของวิชาชีพ

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล Consumer protection through professional standards and service standards

พ.ศ.2540 สภาการพยาบาลได้กาหนดมาตรฐานการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ของสถานพยาบาล ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2544 เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรพยาบาลใช้ในการพัฒนาคุณภาพบริการการพยาบาล และการผดุงครรภ์ให้บรรลุเปูาหมายและคุณภาพที่พึงประสงค์ พ.ศ.2548 ประกาศใช้มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระดับปฐมภูมิและมาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ พ.ศ.2549 ประกาศใช้มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระดับมหาวิทยาลัย ได้ดาเนินการตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินคุณภาพและรับรองบริการการพยาบาลของ สถานพยาบาล ตั้งแต่พ.ศ.2551เป็นต้นมา

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล พ.ศ. 2544 : มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 1. มาตรฐานการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและผดุงครรภ์ การจัดองค์กรและการบริหารองค์กร ระบบบริหารทรัพยากร ระบบงานและกระบวนการให้บริการ

ระบบพัฒนาคุณภาพ

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล 2. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล จริยธรรมและสิทธิผู้ปุวย

การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลต่อเนื่อง การบันทึกการพยาบาล

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล 3. มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์  Safety  Comfort  Support (Coaching ) - มีความรู้  Self Care  Satisfaction

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล

พ.ศ. 2548 ประกาศใช้ มาตรฐานการบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ตติยภูมิ

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล

พ.ศ.2549 ประกาศใช้ มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระดับมหาวิทยาลัย

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล การพัฒนาระบบการรับรองคุณภาพ บริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์

• พ.ศ. 2549 : จัดทาแบบประเมินคุณภาพบริการการพยาบาลฯ • พ.ศ. 2550 : Try out โรงพยาบาล 4 ภาค • พ.ศ. 2551 : ดาเนินการรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลฯ

แนวคิดการรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ Nursing Service Accreditation (NSA) การประเมินจากสภาการพยาบาล (ตรวจเยี่ยม)

คุณภาพบริการการพยาบาล การพัฒนาตนเอง

การประเมินตนเอง หลักการ

กระบวนการ เรียนรู/้ เข้าใจ มาตรฐาน

กากับ ติดตามการปฏิบตั ิงานด้วยคุณธรรม จริยธรรมวิชาชีพ ใช้มาตรฐานเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ กระบวนการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค วิเคราะห์และพัฒนาต่อเนื่อง

การรับรองคุณภาพ

การตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อ

1. ประเมินคุณภาพบริการตามมาตรฐานบริการการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ ตามกรอบแนวทางและวิธีการที่สภาการ พยาบาลกาหนดและสอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพภายในของ โรงพยาบาล/สถานพยาบาลและหน่วยงานต้นสังกัด 2. ตรวจสอบ ยืนยันสภาพจริงในการดาเนินงานของโรงพยาบาล/ สถานพยาบาลด้านบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสภาการพยาบาล

3.ประกันคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์

แก่ประชาชนผู้รับบริการที่ต้องได้รับการคุ้มครองและประโยชน์ สูงสุด

5.กระตุน้ เตือนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์และองค์กร พยาบาลในสถานพยาบาลทุกระดับให้ดาเนินการพัฒนาคุณภาพบริการการ พยาบาลและการผดุงครรภ์และประสิทธิภาพการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง 6. ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลและองค์กรที่เข้าร่วม กระบวนการตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ 7. ให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นจุดเด่นและโอกาสพัฒนาด้านบริการการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ของโรงพยาบาล/สถานพยาบาล เงื่อนไขของ ความสาเร็จและสาเหตุของปัญหา รวมทัง้ นวัตกรรมและการปฏิบัติทดี่ ีของ โรงพยาบาล/สถานพยาบาล

8. ให้ข้อเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพด้านบริการการ พยาบาลและการผดุงครรภ์แก่โรงพยาบาล/สถานพยาบาลและหน่วยงานต้น สังกัด 9.ส่งเสริมให้โรงพยาบาล/สถานพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพและการ ประกันคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์อย่างต่อเนื่อง

10.ประมวลข้อมูล ปัจจัย ปัญหาอุปสรรคที่สง่ ผลต่อการจัดบริการการ พยาบาล การพัฒนาคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์และ คุณภาพชีวิตของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อ นาเสนอต่อสาธารณชนและผลักดันการกาหนดเป็นนโยบายระดับชาติ 11.รายงานผลการตรวจเยี่ยมคุณภาพและมาตรฐานการบริการการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ของโรงพยาบาล/สถานพยาบาลตามเกณฑ์ มาตรฐานของสภาการพยาบาล ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

ปรัชญาการตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพของสภาการพยาบาล การตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยผู้ตรวจเยี่ยมของสภาการพยาบาล เป็นกระบวนการประกันคุณภาพ บริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับองค์กรวิชาชีพเพื่อคุ้มครอง ผู้บริโภคและกากับให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ปฏิบัติงานด้วยหลักคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ กระบวน ตรวจเยี่ยมจะคานึงถึง ปรัชญา พันธกิจ เจตจานงหรือวัตถุประสงค์ของการ ให้บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล/สถานพยาบาลหรือหน่วยบริการ พยาบาลแต่ละแห่งที่มคี วามหลากหลายทั้งในมิติของโครงสร้าง ศักยภาพใน การให้บริการและเปูาหมายขององค์กรหรือสถาบัน/หน่วยงาน

การตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ • พ.ศ.2551- 2552 ผ่านการรับรอง 158 แห่ง • พ.ศ.2553 สภาการพยาบาลได้ปรับปรุงเกณฑ์และแนวทางการตรวจ เยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลฯให้กระชับและชัดเจน ยิ่งขึ้น รวมทั้งทาความเข้าใจกับผู้ตรวจเยี่ยมให้ตรงกันและจัดทาคู่มือ สาหรับโรงพยาบาล/สถานพยาบาลและผู้ตรวจเยี่ยม • พ.ศ. 2554 ตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์โรงพยาบาล/สถานพยาบาลจานวน 105 แห่ง

การตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์

• พ.ศ.2554-2555 ปรับปรุงเกณฑ์การรับรองคุณภาพฯและแบบ รายงานการประเมินตนเองขององค์กรพยาบาล • พ.ศ.2555 : Accreditation จานวน 120 แห่ง Re-accreditation จานวน 72 แห่ง

การประสานความร่วมมือกับองค์กรภายนอก พ.ศ.2555 : ลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับสถาบันรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล องค์กรมหาชน (สรพ.) โดยจัดทา Pilot project โรงพยาบาลจานวน 11 แห่ง แนวทาง 1.สภาการพยาบาลเข้าเยี่ยมก่อนไม่เกิน 6 เดือน 2. สรพ.ใช้ข้อมูลการเยี่ยม Nursing Service Organization จากการตรวจเยี่ยมของสภาการพยาบาล

วัตถุประสงค์ • พัฒนาระบบบริหารทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง • แนวทางการประเมินที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ลดภาระงาน มี การใช้ข้อมูลร่วมกัน และลดความซ้าซ้อนของ กระบวนการพัฒนา และการเยี่ยมสารวจเพื่อการรับรอง

ผลลัพธ์ • เสียงสะท้อน รพ - เห็นด้วย /ชอบ ลดภาระงาน - ผู้อานวยการ แพทย์ สนใจและให้ความร่วมมือ - ระยะเวลาในการเยี่ยมหลังจาก สภาฯ เข้าเยี่ยม ประมาณ 1-2 เดือนแล้ว สรพ.เข้าเยี่ยมต่อได้ประโยชน์

การตรวจเยี่ยมเพื่อรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์

• พ.ศ.2556 : - Accreditation จานวน 72 แห่ง (รพ.ทั่วไป เอกชน กทม. เหล่าทัพ ชุมชน) 

เครือข่าย จานวน 7 แห่ง

- Re-accreditation จานวน 74 แห่ง

มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับปฐมภูมิ/ โรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพชุมชน/ศูนย์สุขภาพชุมชน มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับทุติยภูมิ-ตติยภูมิ มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับมหาวิทยาลัย

มาตรฐานการบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล หมวดที่ 1. มาตรฐานการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมวดที่ 2. มาตรฐานปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมวดที่ 3. มาตรฐานผลลัพธ์การบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์

มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล หมวดที1่ .มาตรฐานบริหารองค์กรบริการการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ หมวดที่ 2. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมวดที่ 3.มาตรฐานผลลัพธ์การบริการการพยาบาลและ การผดุงครรภ์

ความเชื่อมโยงของมาตรฐานบริการการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ หมวดที่ 1. โครงสร้าง นโยบาย ยุทธศาสตร์ / ระบบและกลไกการบริหารงานบริการพยาบาล

ระบบบริหารการพยาบาล ผู้บริหารการพยาบาล

หมวดที่ 2. การปฏิบัติการพยาบาล คุณภาพการบริการพยาบาล

ระบบบริการพยาบาล ( ผู้ให้บริการ กระบวนการพยาบาล)

หมวดที่ 3. ผลลัพธ์การพยาบาล

ผลลัพธ์การบริหาร/บริการพยาบาล

มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล หมวดที1่ .มาตรฐานบริหารองค์กรบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มาตรฐานที่ 1 การจัดองค์กรและการบริหารองค์กร (7 ) มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (6)

มาตรฐานที่ 3 การจัดระบบงานและกระบวนการให้บริการ ( 5 ) มาตรฐานที่ 4 ระบบการพัฒนาคุณภาพ ( 3 )

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน มาตรฐานที่ 3 การจัดระบบงานและกระบวนการให้บริการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ ข้อกาหนดที่ 3.1 การจัดระบบบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์มีคุณภาพ • องค์กรพยาบาลกาหนดระบบการให้บริการการพยาบาลและการ

ผดุงครรภ์ของหน่วยงานในความรับผิดชอบให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานวิชาชีพ เหมาะสมกับลักษณะผู้ปุวย/ผู้รับบริการแต่ละ กลุ่มและตามความเชี่ยวชาญขององค์กร ตอบสนองความ ต้องการของผู้ปุวย/ผู้รบั บริการและครอบครัวเป็นปัจเจกบุคคล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การจัดบริการมีความต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับ เครือข่ายบริการพยาบาลทั้งภายในโรงพยาบาล/ สถานบริการสุขภาพ ระหว่างหน่วยงานและภายนอก โรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพ ในรูปแบบการส่ง ต่อและเครือข่ายการให้บริการ โดยจาแนกระบบ บริการที่ชัดเจน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การจัดระบบบริการกลุ่มผู้ปุวยทั่วไป เช่น ผู้ปุวยนอก ผู้ปุวยใน หน่วยส่งเสริมสุขภาพ เวชปฏิบัติครอบครัว และหน่วยเยี่ยมบ้าน เป็นต้น เป็นการจัดระบบบริการ การพยาบาลและการผดุงครรภ์แบบองค์รวมที่สามารถ ให้บริการผู้ปุวย/ผู้รับบริการได้อย่างปลอดภัย ครอบคลุมการจัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามมาตรฐาน วิชาชีพ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การจัดระบบบริการกลุ่มผู้ปุวยเรื้อรัง เป็นการจัดระบบบริการ การพยาบาลและการผดุงครรภ์แบบองค์รวม โดยการส่งเสริม ปูองกันภาวะแทรกซ้อน การฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมให้มีการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสาหรับผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ครอบครัวและ ผู้ดูแล การประยุกต์ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นและแหล่งประโยชน์ที่มี อยู่มาใช้ในการให้บริการได้อย่างเหมาะสม ประสานงานกับ บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดูแลผู้ปุวย/ ผู้รับบริการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • กลุ่มผู้ปุวย/ผู้รับบริการระยะสุดท้าย ( END OF LIFE CARE ) เป็นการจัดระบบบริการที่ครอบคลุมองค์รวมมุ่งแก้ไขปัญหา บรรเทาความไม่สุขสบายความทุกข์ทรมาน ความเจ็บปวด และการตอบสนองความต้องการของผู้ปุวย/ผูร้ ับบริการและ ครอบครัวตามความเชื่อ ศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้ปวุ ย/ผู้รับบริการจากไปอย่างสงบ ( Good Death) โดย • มีแนวทาง/คู่มือ/ มาตรฐานการดูแลผู้ปุวย

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน

• มีระบบการบันทึกและรายงานทางการพยาบาล เชื่อมโยงกับสหวิชาชีพ • มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลทีมีคุณภาพ • มีระบบการพิทักษ์สิทธิ์ของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • มีการจัดระบบบริการให้ถูกต้องหลักการปูองกันและ ควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล/ สถานบริการ สุขภาพ และระบบการจัดการกับภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินและวิกฤต • มีระบบการสื่อสารระหว่างวิชาชีพและเครือข่าย บริการ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน ข้อกาหนดที่ 3.3 ระบบการบริหารการพยาบาล สนับสนุนการใช้ กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ • ระบบการบริหารการพยาบาล สนับสนุนการใช้กระบวนการ

พยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมายถึง องค์กรพยาบาล กาหนดนโยบาย อานวยการ ส่งเสริมให้ ผู้บริหารการพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพทุกคนมีความรู้ ความสามารถในการดูแลผู้ปุวย/ผู้รบั บริการให้มีคณ ุ ภาพตาม มาตรฐาน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการปฏิบัติการ พยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ บรรเทาอาการไม่สุข สบาย/อาการรบกวน ส่งเสริมการฟื้นหายของผู้ปุวย/ ผู้รับบริการโดยเร็วที่สุดและมีความพร้อมในการดูแล สุขภาพตนเองที่บ้านหรือภายหลังจาหน่าย มีการบันทึก ทางการพยาบาลที่ชัดเจน ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เพื่อการดูแลผู้ปุวยต่อเนื่อง

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การสนับสนุนการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ • โดยจัดระบบเกื้อหนุนให้นากระบวนการพยาบาลลงสู่การปฏิบัติ • ระบบการมอบหมายงาน ระบบการนิเทศ ระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความรู้ เช่น การรับ-ส่งเวร Pre-post Conference, Nursing Round, Case Conference

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน

• ระบบการติดตามประเมินผลการใช้กระบวนการ พยาบาลมีประสิทธิภาพ เช่น การนาความรู้และ ศาสตร์ต่างๆมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล ประเมินคุณภาพการให้บริการพยาบาลจากการ ใช้กระบวนการพยาบาล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การสนับสนุนการใช้ระบบการบันทึกรายงานทางการพยาบาลที่ สามารถสะท้อนการใช้กระบวนการพยาบาลที่มีคุณภาพ ชัดเจน กระชับตรงปัญหาสาคัญ โดยแบบบันทึกได้ผ่าน กระบวนการพัฒนาที่เชื่อถือได้และได้รับการยอมรับจากองค์กร พยาบาล • ออกแบบการบันทึกและรายงานทางการพยาบาลที่มีมาตรฐาน ง่ายและเอื้อต่อการใช้กระบวนการพยาบาลและสามารถสะท้อน คุณภาพการพยาบาลรายบุคคล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การบันทึกและรายงานทางการพยาบาลสามารถแสดงถึงข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพ ในประเด็นสาคัญ ปัญหาและความ ต้องการครอบคลุมองค์รวมของผู้ปุวย/ผู้รบั บริการและ ครอบครัว บ่งชี้ความผิดปกติของภาวะสุขภาพที่เบี่ยงเบนได้ อย่างรวดเร็วและชัดเจน รวมทั้งมีข้อมูลภาวะสุขภาพของ ผู้ปุวย/ผู้รบั บริการก่อนย้ายหรือจาหน่ายที่ต้องการการสื่อสาร ให้กับทีมการพยาบาล ทีมสหสาขา ระหว่างหน่วยงาน/ โรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • กาหนดแนวทางบันทึกการพยาบาล เหมาะสมกับประเภท ผู้ปุวย/ผู้รบั บริการ ปัญหาความต้องการการดูแล ความสามารถในการดูแลตนเอง ข้อจากัดของผู้ปุวย/ ผู้รับบริการ ครอบคลุมองค์รวมของผู้ปุวย/ผู้รบั บริการ • บันทึกทางและรายงานทางการพยาบาลมีความชัดเจน มี ข้อมูลความเข้าใจและพฤติกรรมของผู้ปุวย/ผู้รบั บริการ/ ครอบครัว/ญาติ ต่อคาแนะนาที่ได้รับ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน

• เพียงพอต่อการประเมินคุณภาพและสามารถเป็น หลักฐานทางกฎหมาย • มีระบบการประเมินผลการบันทึกและรายงาน ทางการพยาบาลด้านปริมาณและด้านคุณภาพ เพื่อ ใช้ไปเป็นข้อมูลในการพัฒนา

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน ข้อกาหนดที่ 3.4 กลไกการส่งเสริมให้พยาบาล และผดุงครรภ์ประกอบ วิชาชีพ ธารงไว้ซึ่งจริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ (ขัน้ ต่าผ่าน ระดับ 3)  องค์กรพยาบาลทาหน้าที่เป็นตัวแทนของวิชาชีพการพยาบาล

และการผดุงครรภในโรงพยาบาลรับผิดชอบกาหนดนโยบาย วิธีปฏิบัติและการธารงไว้ซึ่งมาตรฐานจริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีนโยบายด้านการส่งเสริมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่ชัดเจนในการสนับสนุนให้พยาบาล ธารงไว้ซึ่งมาตรฐาน จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน 1.การจัดระบบเกื้อหนุนให้พยาบาลปฏิบัติการ พยาบาลบนพื้นฐานจริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพ ในการพิทกั ษ์สิทธิของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน 2.มีระบบการติดตามประเมินบุคลากรที่ให้การ พยาบาลด้วยความเคารพสิทธิและจริยธรรมวิชาชีพ ได้แก่ • ความตระหนักของพยาบาลในการให้การพยาบาล ด้วยการเคารพสิทธิและจริยธรรม ในประเด็นที่ปฏิบัติได้ ดีและประเด็นที่ยังไม่สามารถปฏิบัติได้หรือมีปัญหา อุปสรรค

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • วิเคราะห์ผู้ใช้บริการโดยใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่จากระบบที่ เกี่ยวข้องหรือพัฒนาขึ้นมาใหม่ ผลการใช้กระบวนการพยาบาล อย่างมีประสิทธิภาพ • ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามจริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ และความรู้ ความสามารถการใช้กระบวนการพยาบาล ในการปฏิบัติการพยาบาล • คุณภาพการให้บริการพยาบาลจากการใช้กระบวนการพยาบาล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน 3.มีการนาผลการติดตามการประเมินไปใช้ในการไปพัฒนา เพื่อให้บุคคลากรมีความรู้ความเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ 4.มีระบบการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลที่เหมาะสม ครอบคลุมทุกระดับ ทั้งบุคลากรระหว่างประจาการ การ ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ หัวหน้างาน/หัวหน้าหอผู้ปุวยที่ได้รับ แต่งตั้งใหม่ส่งเสริมให้มีการอบรม/ฝึกทักษะแก่บุคลากรทุก ระดับเกี่ยวกับกฎหมาย/จริยธรรมในการปฏิบัติงานตามแผน และระบบที่กาหนด

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน 5.มีแนวทางการกากับดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากร ทางการพยาบาลและการประเมินพฤติกรรมด้าน จริยธรรม ปรับปรุงวิธีการพัฒนาบุคลากรทางการ พยาบาล การประเมินผลกระทบต่อการให้บริการอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่องครอบคลุมประเด็นจริยธรรม 6 ประการ และจรรยาบรรณวิชาชีพ 9 ประการ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน หมวดที่ 2. มาตรฐานปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มาตรฐานที่ 1 การปฏิบตั กิ ารพยาบาล/การใช้กระบวนการพยาบาล(2) มาตรฐานที่ 2 การรักษาสิทธิ /จริยธรรม / จรรยาบรรณ (2) มาตรฐานที่ 3 การพัฒนาคุณภาพ ( 2 ) มาตรฐานที่ 4 การจัดการการดูแลต่อเนื่ อง (1) มาตรฐานที่ 5 การบันทึกและการรายงาน (2)

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน หมวดที่ 2 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์ มาตรฐานที่ 1 การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ข้อกาหนดที่ 1.1 การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์ (ขั้นต่าผ่านระดับ 3) • มีการใช้กระบวนการพยาบาล 5 ขั้นตอน ครอบคลุมองค์รวมใน การปฏิบัติการพยาบาลผู้รับบริการรายบุคคล

ประเมินภาวะสุขภาพของผู้ใช้บริการครบองค์รวม สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการด้านสุขภาพ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน  วินิจฉัย(กาหนดปัญหา/ความต้องการ)ทางการพยาบาล ครอบคลุมปัญหา ความต้องการด้านสุขภาพ สอดคล้องกับ ข้อมูลการประเมินภาวะสุขภาพ  มีแผนการพยาบาลที่สอดคล้องกับการวินิจฉัยทางการ พยาบาล (ปัญหา/ความต้องการ) และแผนการดูแลของ ทีมสหสาขาวิชาชีพ ครอบคลุมการดูแล การส่งเสริมสุขภาพ การปูองกัน การรักษาและการฟื้นฟูสภาพ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน  ให้การพยาบาลตามแผนและมาตรฐานที่กาหนด  มีการติดตาม ประเมินผลการพยาบาลเป็นระยะ และการติดตามเฝูาระวังภาวะสุขภาพตามสภาพ ปัญหา/ความต้องการการดูแลของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ อย่างเหมาะสมและต่อเนื่องเป็นรายบุคคล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน

 มีการติดตามประเมินซ้าและปรับข้อ วินิจฉัย/ปรับข้อมูลปัญหาและแผนการ พยาบาลตามปัญหาและความต้องการการ ดูแลสุขภาพของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • มีการใช้กระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนจาหน่าย • หัวหน้าหน่วยงานร่วมกับผู้ปฏิบัติกาหนดแนวทางในการ นากระบวนการพยาบาลลงสู่การปฏิบัติในหน่วยงาน โดย

กาหนดเปูาหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ ในการนากระบวนการพยาบาลลงสู่การปฏิบัติใน หน่วยงาน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การสนับสนุนให้มีการตรวจเยี่ยมผู้ปุวย/ผู้รับบริการร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ในงานประจา โดยเฉพาะกลุม่ ผู้ปุวย/ผู้รับบริการที่มีความซับซ้อน • หัวหน้าหน่วยงานมีการติดตามประเมินการนากระบวนการพยาบาลลงสู่ การปฏิบัติ เพือ่ ประเมินศักยภาพของผู้ปฏิบัติที่สะท้อนคุณภาพการ พยาบาลเป็นรายบุคคล โดยใช้การนิเทศหน้างานร่วมกับกิจกรรมทบทวน เวชระเบียนในงานประจา การรับส่งเวร การ Conference ฯลฯ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน ข้อกาหนดที่ 1.2 การปฏิบัติการพยาบาล

พยาบาลวิชาชีพใช้ความรู้ ความสามารถปฏิบัติงาน เชิงวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการปฏิบัติโดยใช้ ทักษะเชิงวิชาชีพ ได้แก่ การประเมินปัญหา วินิจฉัยปัญหา/ ความต้องการ วางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และ การประเมินผลการพยาบาล •

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน

• มีการปฏิบัติการพยาบาลที่เหมาะสมกับ ปัจเจกบุคคล สอดคล้องกับทุกสถานการณ์สุขภาพ ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ของผู้ใช้บริการ โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปุวย/ ผู้รับบริการและครอบครัว

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • มีการปฏิบัติการพยาบาลที่เหมาะสมในสถานการณ์ ปกติและฉุกเฉินโดยบุคลากรที่มีศักยภาพ • มีการปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพและ ขอบเขตความรับผิดชอบ  การใช้แนวทาง/มาตรฐาน  ศักยภาพ/สมรรถนะของบุคลากร

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การช่วยเหลือดูแล • การสอน การชี้แนะ การให้คาปรึกษา • การวินิจฉัยปัญหาและเฝูาระวัง • การจัดการในสถานการณ์เร่งด่วนฉุกเฉิน • การบาบัดอาการทางกาย จิตใจและจิตวิญญาณ

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • การประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพ / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการการดูแลของ ผู้ปุวย/ผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน มาตรฐานที่ 4 การจัดการ การดูแลต่อเนื่อง ข้อกาหนดที่ 4.1 การจัดการดูแลต่อเนื่อง • พยาบาลวิชาชีพในทุกหน่วยบริการสามารถประเมินความต้องการการ ดูแลสุขภาพของผู้ปุวย/ผู้รับบริการและครอบครัว วางแผนและจัดการให้ ผู้ปุวย/ผู้รับบริการได้รับการดูแลรักษาพยาบาลจากบุคลากรทีมสุขภาพที่ เหมาะสมและต่อเนื่องที่บ้านและในชุมชน สอดคล้องกับความต้องการการ ดูแลรักษาพยาบาลทันต่อปัญหา /การเปลี่ยนแปลงของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ ได้อย่างปลอดภัย ต่อเนื่องในหน่วยบริการ ระหว่างหน่วยบริการและ ระหว่างโรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพในทุกระยะของการเจ็บปุวยทั้งใน โรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพและในชุมชน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • มีระบบการดูแลผู้ปุวย/ผู้รับบริการต่อเนื่องในหน่วยงานที่ มีความเชื่อมโยงระหว่างทีม/วิชาชีพอย่างชัดเจน ครอบคลุมการวางแผนจาหน่าย การส่งต่อ และการดูแล ต่อเนื่อง • มีการกาหนดกลุ่มผู้ปุวย/ผู้รับบริการสาคัญที่ต้องการการ ดูแลต่อเนื่อง การกาหนดเปูาหมายและและตัวชี้วัดการ ดูแลต่อเนื่อง

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์/สังเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และตัวชี้วัดคุณภาพการดูแลต่อเนื่องของหน่วยงาน • มีการนาข้อมูลปัญหาอุปสรรคการดูแลต่อเนื่องที่ได้จาก การวิเคราะห์/สังเคราะห์มาปรับปรุง/พัฒนาเป็นระบบอย่าง ต่อเนื่องและ • มีระบบการสะท้อนข้อมูลปัญหาการดูแลต่อเนื่องแก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน มาตรฐานที่ 5 การบันทึก และการรายงาน ข้อกาหนดที่ 5.1 ระบบการบันทึกและรายงาน (ขั้นต่าผ่านระดับ 3) ข้อกาหนดที่ 5.2 การพัฒนาระบบการบันทึกการพยาบาลและการรายงาน (ขั้นต่าผ่านระดับ 3)

• ระบบบันทึกและรายงานทางการพยาบาลมีความสมบรูณ์ ครอบคลุมประเด็น สาคัญเพื่อใช้ในการสื่อสารภาวะสุขภาพของผู้ปุวย/ผู้รับบริการ เปูาหมาย และ แผนการดูแลที่เชื่อมโยงกับสหสาขาวิชาชีพ สะท้อนคุณภาพผลการปฏิบัติงาน การพิทักษ์สิทธิผู้ปุวย/ผู้รับบริการ แสดงศาสตร์ ศิลปะและสมรรถนะของผู้ปฏิบัติ เป็นหลักฐานทางกฎหมายและเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ตามนโยบายและแนวปฏิบัติที่องค์กรพยาบาลกาหนด พยาบาลวิชาชีพในทุกหน่วย บริการพยาบาลมีส่วนร่วมในการกาหนด ประเมิน และวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ ปัญหาและอุปสรรคของระบบการบันทึกและรายงานทางการพยาบาล และปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน หัวหน้าหน่วยงาน • ร่วมกับผู้ปฏิบตั ิวิเคราะห์นโยบาย แนวทางและเกณฑ์การบันทึกและ รายงานทางการพยาบาลทีอ่ งค์กรพยาบาลกาหนดเพื่อออกแบบบันทึก และรายงานทางการพยาบาลให้เหมาะสมกับลักษณะการให้บริการ พยาบาลในหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการของทีมสหสาขา วิชาชีพทีเ่ กี่ยวข้อง • กาหนดระบบการติดตามประเมินผลระบบการบันทึกและรายงาน ทางการพยาบาลที่สะท้อนทักษะการปฏิบตั ิการพยาบาลรายบุคคล

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • สื่อสารระบบการบันทึกและรายงานทางการพยาบาลที่หน่วยงาน กาหนดให้ทีมการพยาบาลเพื่อนาสู่การปฏิบัติ • รวบรวมข้อมูล ผลการวิเคราะห์/สังเคราะห์ปัญหาอุปสรรคจากการ บันทึกและรายงานทางการพยาบาล และการทบทวนการบันทึกและ รายงานทางการพยาบาลเพือ่ ประเมินผลคุณภาพการพยาบาล/การ ปฏิบัติการพยาบาลและสะท้อนประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการบันทึกและรายงานให้กับองค์กรพยาบาลเพื่อนาไปปรับปรุง ระบบ/พัฒนาระบบการบันทึกและการรายงานทางการพยาบาลใน ภาพรวม

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน • นาข้อมูลที่ได้จากการทบทวนไปปรับปรุง/พัฒนา ระบบบันทึกและรายงานทางการพยาบาล/คุณภาพ การพยาบาล/การปฏิบัติการพยาบาลและ ดาเนินการพัฒนาระบบการบันทึกและการรายงาน ทางพยาบาล ตามปัญหาสาคัญโดยคานึงถึงความ เป็นไปได้ในการปฏิบัติตามลักษณะบริการและ ข้อจากัดของหน่วยงาน

ประเด็นสาคัญในมาตรฐาน พยาบาลวิชาชีพ • มีการบันทึกและรายงานทางการพยาบาลในกลุ่ม โรคสาคัญที่สะท้อนการปฏิบัติการพยาบาลใน ลักษณะปัจเจกบุคคลแสดงให้เห็นถึงคุณภาพการ ดูแลผู้ปุวย/ผู้รับบริการกลุ่มโรคสาคัญในลักษณะ องค์รวมตั้งแต่แรกรับจนถึงจาหน่ายและการดูแล ต่อเนื่องที่บ้าน

ประเด็นสาคัญในแต่ละมาตรฐาน • ร่วมประเมิน และวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ ปัญหาและ อุปสรรคของระบบการบันทึกและรายงานทางการพยาบาล และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • สะท้อนประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ บันทึกและรายงานทางการพยาบาลให้กับหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อนาไปปรับปรุง/พัฒนาระบบการบันทึกและการรายงาน ทางการพยาบาล

บทบาทสภาการพยาบาล : คุณภาพการพยาบาล 3. มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์  Safety :  Comfort  Support (Coaching ) - มีความรู้  Self Care  Satisfaction

งานของพยาบาล( 2S3C)  SAFETY

: Client : Personal

 SUPPORT

: Client : Personal : Health Care Team

งานของพยาบาล(2S3C)  COMFORT

: Client

: Personal  COACHING

: Patient – Care Giver

: Nursing Team  CONTINUING : Care

: Quality Improvement : Personal Development

บริการการพยาบาล(3S5C)  SAFETY

: Client : Personal

 SUPPORT

: Client/ Care Giver/ Family : Personal : Health Care Team

 SATISFACTION

: Client / Family/ Community : Personal

บริการการพยาบาล(3S5C)(ต่อ)  COMFORT  COACHING  CONTINUING

: Client : Personal : Patient & Care Giver

: Nursing Team : Care : Quality Improvement : Personal Development

บริการการพยาบาล(3S5C)(ต่อ)  COLLABORATION : Nursing Team

: Health Care Team

บริการการพยาบาล(3S5C)(ต่อ)  CONNECTION : Client ( NETWORKING) : Family : Community : Nursing Care Team : Health Care Team

มีคาถามมั๊ย