คำนำ การประเมิ น คุ ณ ภาพทางการศึ ก ษาถื อ ว่ า เป็ น กลไกที่ ส าคั ญ ในการที่ จ ะสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความส าเร็ จ ของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาตามเจตนารมณ์ ข องพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา รวมทั้งเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวางแผนและพัฒนา คุณภาพของหน่ วยงานต่าง ๆ ดังนั้ น เอกสารฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอผลการประเมินคุณภาพ นักเรียนในระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2557 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 และ 6 ซึ่งผลการประเมินคุณภาพนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จะเป็นการนาเสนอผลการประเมิน ตามความสามารถพื้น ฐานที่จ าเป็น ในการเรียนรู้ของผู้ เรียน ซึ่งได้แก่ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ค า น ว ณ (Numeracy) แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น เ ห ตุ ผ ล ( Reasoning ability) ส่ ว นในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 จะเป็ น การ น าเสนอ จากผลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรีย นตามกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ของหลั ก สู ตรแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งในแต่ละระดับชั้นจะนาเสนอผลการประเมิน ระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับกลุ่มสถานศึกษาที่มีบริบทแตกต่างกัน ดั ง นั้ น ส านั ก ทดสอบทางการศึ ก ษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งผู้ที่สนใจทั่วไป สานักทดสอบทางการศึกษา กันยายน 2558
สำรบัญ หน้ำ คานา………………………………………………………………………………………………………………………………………………….ก สารบัญ…………….. ............................................................................................................................................ ค สารบัญตาราง .................................................................................................................................................. จ สารบัญแผนภูมิ ................................................................................................................................................ ช บทที่ 1 บทนา .................................................................................................................................................. 1 เกริ่นนา ...................................................................................................................................................... 1 วัตถุประสงค์ .............................................................................................................................................. 2 นิยามศัพท์เฉพาะ ....................................................................................................................................... 2 บทที่ 2 การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ .................................................................................................. 3 บทที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ............................................................................................................. 7 3.1 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศ ................................................................................... 7 3.2 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนจาแนกตามสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ............................................ 31 3.3 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนจาแนกตามกลุ่มสถานศึกษา ที่มีบริบทแตกต่างกัน ............................. 38 บทที่ 4 สรุปและอภิปรายผล .......................................................................................................................... 55 4.1 สรุปผลการประเมิน ........................................................................................................................... 55 4.2 อภิปรายผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ............................................................................. 61 บทที่ 5 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ................................................................................................................... 75 5.1 ข้อเสนอแนะสาหรับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน .................................................... 75 5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา .............................................................................. 76 5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับสถานศึกษา ........................................................................................................ 78 ภาคผนวก ก ................................................................................................................................................. 79 ภาคผนวก ข (1) ........................................................................................................................................... 103 ภาคผนวก ข (2) ........................................................................................................................................... 111 ภาคผนวก ข (3) ........................................................................................................................................... 119 ภาคผนวก ข (4) ........................................................................................................................................... 127 คณะผู้จัดทา ............................................................................................................................................... 131
สำรบัญตำรำง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ตารางที่ 11 ตารางที่ 12 ตารางที่ 13 ตารางที่ 14 ตารางที่ 15 ตารางที่ 16 ตารางที่ 17
หน้ำ ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ระดับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถ ............................................... 7 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษาที่ผ่านมา (2556) ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาแนกตามความสามารถ .............. 8 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค .............. 9 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ของผู้เรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557.................... 11 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน .................................. 16 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554 – 2557...................................................................... 20 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค ...................................................................................... 24 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ...................................................................... 28 จานวนและร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ของระดับประเทศในแต่ละระดับชั้น .......................................................................................... 31 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ สูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศทุกวิชา ในแต่ละระดับชั้น (เรียงตามตัวอักษร) ........................ 33 จานวนและร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับประเทศ จาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละระดับชั้น ............................................. 34 จานวนร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในแต่ละกลุ่มคุณภาพของคะแนนรวมทุกวิชา .. 36 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก จาแนกตามระดับชั้น (เรียงตามลาดับตัวอักษร) ................................ 37 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ของกลุ่มสถานศึกษา โครงการพิเศษ ........................................................................................................................... 38 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ .......................................................................................... 40 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ ........................................................................................... 41 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ ........................................................................................... 42
ตารางที่ 18 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ของกลุ่มสถานศึกษา ที่มีขนาดแตกต่างกัน................................................................................................................. 43 ตารางที่ 19 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ................................. 44 ตารางที่ 20 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดของโรงเรียนแตกต่างกัน ............... 46 ตารางที่ 21 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ................................... 49 ตารางที่ 22 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน ........................ 51 ตารางที่ 23 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในแต่ละขนาด .......................................................................................................................... 52
ฉ
สำรบัญแผนภูมิ หน้ำ แผนภูมิที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ระดับสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถ ........................ 8 แผนภูมิที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษาที่ผ่านมา (2556) ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจาแนกตามความสามารถ ................ 9 แผนภูมิที่ 3 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค ............ 10 แผนภูมิที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ............................................................................. 13 แผนภูมิที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ............................................................................................... 14 แผนภูมิที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) .............................................................................................. 15 แผนภูมิที่ 7 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ................................................................................................................. 17 แผนภูมิที่ 8 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ................................................................................................................. 18 แผนภูมิที่ 9 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ................................................................................................................. 19 แผนภูมิที่ 10 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557........................................................................................... 21 แผนภูมิที่ 11 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557........................................................................................... 22 แผนภูมิที่ 12 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557........................................................................................... 23 แผนภูมิที่ 13 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จาแนกตามภูมิภาค ....................................................... 25 แผนภูมิที่ 14 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จาแนกตามภูมิภาค ......................................................................... 26 แผนภูมิที่ 15 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จาแนกตามภูมิภาค ......................................................................... 26
แผนภูมิที่ 16 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ......... 29 แผนภูมิที่ 17 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ........................... 30 แผนภูมิที่ 18 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ........................... 30 แผนภูมิที่ 19 เกณฑ์การจัดกลุ่มคุณภาพของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ .................................... 35 แผนภูมิที่ 20 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ของกลุ่มสถานศึกษา .......... 44 ที่มีขนาดแตกต่างกัน ...................................................................................................................................... 44 แผนภูมิที่ 21 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ....... 46 แผนภูมิที่ 22 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน ................ 48 แผนภูมิที่ 23 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ......... 50
ซ
บทที่ 1 บทนำ เกริ่นนำ การประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในระดั บ ชาติ จะสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความส าเร็ จ หรื อคุ ณ ภาพในการจั ด การศึ ก ษาของหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่เ กี่ ย วข้ อ งในทุ ก ระดั บ รวมทั้งเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวางแผนหรือกาหนด ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพของหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัด การศึ ก ษาตั้ ง แต่ ร ะดั บ ปฐมวั ย จนถึ ง ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา จ าเป็ น ต้ องใช้ ป ระโยชน์ จ ากสารสนเทศผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาทั้ ง ในระดั บ ชาติ ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึ ก ษา และระดั บ สถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ไปใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตร พัฒนากระบวนการ จัดการเรี ย นรู้ รวมทั้งใช้ในการพัฒนาระบบการวัดและประเมินในทุกระดับตั้งแต่ระดับสถานศึกษาจนถึง ระดับ ชาติ นอกจากนี้ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนยังช่ว ยในการวางแผนพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ สามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพของตนเองอีกด้วย การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ ในปีการศึกษา 2557 แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คื อ การทดสอบระดั บ ชาติ (National Test : NT) ซึ่ ง ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เป็นหน่วยงานที่ดาเนินการจัดสอบผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยทาการประเมินความสามารถ พื้นฐานของผู้เรียน 3 ด้าน คือ ด้านความสามารถทางภาษา (Literacy) ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) และความสามารถด้านเหตุผ ล (Reasoning Ability) และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน ( Ordinary National Educational Testing: O-NET) ซึ่ ง ส ถ า บั น ท ด ส อ บ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานที่ดาเนินการจัดสอบผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 และ 6 โดยทาการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร แกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ดั ง นั้ น การรายงานผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ปีการศึกษา 2557 เป็นการเผยแพร่ผลการประเมินผลคุณภาพของผู้เรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ หน่วยงานต่าง ๆ ได้รับทราบ รวมทั้งเป็นการสะท้อนภาพความสาเร็จและจุดควร พัฒนาของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสถานศึกษาอีกด้วย
วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อน าเสนอผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ กษาของผู้ เรี ยนในสั ง กั ดส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งในระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและกลุ่มสถานศึกษาที่มีบริบทแตกต่างกัน 2. เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากผลการประเมินคุณภาพผู้เ รียน ระดับชาติ นิยำมศัพท์เฉพำะ 1.3 นิยามศัพท์เฉพาะ กำรประเมิ น คุ ณ ภำพผู้ เ รี ย นระดั บ ชำติ หมำยถึ ง การประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น (เด็ ก ปกติ ) ในสถานศึกษาทั่วประเทศ ซึ่งแบ่งการจัดการจัดสอบออกเป็น 2 ส่วน คือ การทดสอบระดับชาติ (National Test : NT) ซึ่งดาเนินงานโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) ซึ่งดาเนินงานโดยสถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำรทดสอบระดั บชำติ (National Test : NT) หมำยถึ ง การประเมินคุ ณภาพผู้ เ รียนในระดั บ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทั่วประเทศ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยงานที่ดาเนินการ จัดสอบผู้ เรี ยน โดยทาการประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้ เรียน 3 ด้าน คือ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) และ ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) กำรทดสอบทำงกำรศึ ก ษำระดั บ ชำติ ขั้ น พื้ น ฐำน (Ordinary National Educational Test : O-NET) หมำยถึง การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ทั่วประเทศ ซึ่งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานที่ดาเนินการจัดสอบผู้เรียน โดยทา การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระ การเรี ย นรู้ คณิตศาสตร์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิท ยาศาสตร์ กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2
บทที่ 2 กำรประเมินคุณภำพผู้เรียนระดับชำติ การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติถือว่าเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนที่มีความสาคัญ อย่างยิ่งที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา โดยดาเนินการในลักษณะของการทดสอบระดับชาติ (National Test: NT) ส าหรั บ ผู้ เรี น ในระดั บชั้น ประถมศึ กษาปีที่ 3 ซึ่ งส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานเป็นผู้ดาเนินการจัดสอบ และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) ส าหรั บ ผู้ เ รี ย นในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดาเนินการจัดสอบ โดยในปีการศึกษา 2557 มีรายละเอียดของการประเมินคุณภาพผู้เรียน สรุปได้ดังต่อไปนี้ 1) กำหนดกำรและระดับชั้นที่ทำกำรประเมิน กำรทดสอบ
หน่วยงำน
NT (National Test)
สพฐ. (สานักทดสอบ ทางการศึกษา)
O-NET (Ordinary national Educational Test)
สถาบัน ทดสอบทาง การศึกษา แห่งชาติ (องค์การ มหาชน)
ระดับชั้น ที่สอบ ป.3
ป.6 ม.3 ม.6
วัน เวลำ ที่สอบ 26 กุมภาพันธ์ 2558
เนื้อหำวิชำที่สอบ 1. ความสามารถด้านภาษา 2. ความสามารถด้านคานวณ 3. ความสามารถด้านเหตุผล
1. ภาษาไทย 31 มกราคม 2558 2. คณิตศาสตร์
31 มกราคม 1 กุมภาพันธ์ 2558 7–8 กุมภาพันธ์ 2558
3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. ภาษาอังกฤษ 6. สุขศึกษาและพลศึกษา 7. ศิลปะ 8. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2) กรอบในกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนระดับชำติ ปีกำรศึกษำ 2557 ระดับชั้น
กรอบที่ใช้ในกำรประเมิน
ป.3
ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดความสามารถด้านคานวณ 5 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดด้านเหตุผล 4 ตัวชี้วัด รวม 15 ตัวชี้วัด
ป.6
มาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้รวมทั้งสิ้น 76 มาตรฐานการเรียนรู้
ม.3
มาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้รวมทั้งสิ้น 76 มาตรฐานการเรียนรู้
ม.6
มาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้รวมทั้งสิ้น 76 มาตรฐานการเรียนรู้
3) ลักษณะของเครื่องมือและจำนวนข้อสอบที่ใช้ในกำรทดสอบ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นระดั บ ชาติ คื อ แบบทดสอบ โดยมี ร ายละเอี ย ด ของลักษณะและจานวนข้อสอบ ดังต่อไปนี้ 3.1) ลักษณะของเครื่องมือ ลักษณะของเครื่องมือ ระดับชั้น
ปรนัย เลือกตอบ
ปรนัย หลาย เลือกตอบ
ป.3 ป.6 ม.3 ม.6
/ / / /
/ / /
ปรนัย หลายเลือกตอบ มากกว่า 1 คาตอบ / / /
4
กลุ่ม สัมพันธ์
ระบายคาตอบที่ มีค่าเป็นค่า/ ตัวเลข
อัตนัย (เขียนตอบ/ แสดงวิธีทา)
/ / /
/ / /
/ -
3.2) จำนวนข้อสอบที่ใช้ในกำรสอบ ชั้น ป.3 ชั้น ป.6 ชั้น ม.3 ชั้น ม.6 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ จานวน เวลาที่ใช้ จานวน เวลาที่ใช้ จานวน เวลาที่ใช้ จานวน เวลาที่ใช้ ด้ำนภำษำ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ สังคมศึกษำฯ ภำษำอังกฤษ สุขศึกษำและพลศึกษำ ศิลปะ กำรงำนอำชีพฯ
ข้อสอบ
สอบ*
ข้อสอบ
สอบ*
ข้อสอบ
สอบ*
ข้อสอบ
สอบ*
30 30 30 -
60 90 60 -
25 20 32 50 40 23 20 23
50 50 50 50 50 30 30 30
52 30 45 50 50 38 38 44
90 90 90 90 90 40 40 40
80 40 90 80 90 40 37 44
120 120 120 120 120 40 40 40
หมำยเหตุ * เวลาที่ใช้สอบหน่วยเป็นนาที
5
บทที่ 3 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียน การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 นาเสนอผลการประเมินออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศ 2) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา 3) ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นจ าแนกตามกลุ่ ม สถานศึ ก ษาที่ มี บ ริ บ ทแตกต่ า งกั น โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับประเทศ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศ นาเสนอผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในภาพรวม ของผู้เรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ โดยจาแนกตามระดับชั้นที่ทา การทดสอบ คื อ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาปี ที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1.1 ผลกำรทดสอบระดับชำติ (NT) ชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 3.1.1.1 ผลกำรเปรี ย บเที ย บกำรทดสอบระดั บ ชำติ (NT) ปี ก ำรศึ ก ษำ 2557 ระดั บ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกับระดับประเทศ จำแนกตำมควำมสำมำรถและตัวชี้วัด รำยละเอียดแสดงดังตำรำงที่ 1 ตำรำงที่ 1 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ระดับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถ ระดับ สพฐ. ประเทศ ผลต่ำง สรุปผล
ด้ำนภำษำ 50.80 50.74 +0.06 สูงกว่ำ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล 42.20 48.66 42.17 48.60 +0.03 +0.06 สูงกว่ำ สูงกว่ำ
รวม 47.23 47.17 +0.06 สูงกว่ำ
จากตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ระดับสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ น ฐานกับ ระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถ พบว่ า ระดับ ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมทุกความสามารถสูงกว่าระดับประเทศ คิดเป็น ร้ อ ยละ 0.06 เมื่ อ พิ จ ารณารายความสามารถ พบว่ า ความสามารถด้ า นภาษา มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า ร้อยละ 0.06 ความสามารถด้านคานวณ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 0.03 และความสามารถด้านเหตุผ ล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 0.06
แผนภูมิที่ 1
แสดงการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ระดั บ ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถ
47.23 47.17
รวม
48.66 48.60
ด้านเหตุผล
ระดับ สพฐ.
42.20 42.17
ด้านคานวณ
ระดับประเทศ 50.80 50.74
ด้านภาษา 0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
3.1.1.2 ผลกำรเปรี ย บเที ย บกำรทดสอบระดั บ ชำติ (NT) ปี ก ำรศึ ก ษำ 2557 กั บ ปี ก ำรศึ ก ษำที่ ผ่ ำ นมำ (2556) ระดั บ ส ำนั ก งำนคณะกรรมกำรกำรศึ ก ษำขั้ น พื้ น ฐำน จ ำแนกตำม ควำมสำมำรถ รำยละเอียดแสดงดังตำรำงที่ 2 ตำรำงที่ 2 ผลการเปรี ย บเทีย บการทดสอบระดั บชาติ (NT) ปี การศึกษา 2557 กับปี การศึกษาที่ผ่ านมา (2556) ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาแนกตามความสามารถ ปีกำรศึกษำ 2557 2556 ผลต่ำง สรุปผล
ด้ำนภำษำ 50.80 50.42 +0.38 เพิ่มขึ้น
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล 42.20 48.66 36.70 45.20 +5.50 +3.46 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
รวม 47.23 44.11 +3.12 เพิ่มขึ้น
จากตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาแนกตามความสามารถ พบว่า ในปีการศึกษา 2557 มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมทุกความสามารถสูงกว่าปีการศึกษา 2556 คิดเป็นร้อยละ 3.12 เมื่อพิจารณา รายความสามารถ พบว่า ความสามารถด้านภาษามีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 0.38 ความสามารถด้านคานวณ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 5.50 และความสามารถด้านเหตุผล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 3.46
8
แผนภูมิที่ 2
แสดงการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษาที่ผ่านมา (2556) ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจาแนกตามความสามารถ
44.11 47.18
รวม
45.20 48.66
ด้านเหตุผล
ปีการศึกษา 2556
36.70
ด้านคานวณ
ปีการศึกษา 2557
42.20 50.42 51.01
ด้านภาษา 0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
3.1.1.3 ผลกำรเปรียบเทียบกำรทดสอบระดับชำติ (NT) ปีกำรศึกษำ 2557 จำแนกตำม ภูมิภำค รำยละเอียดแสดงดังตำรำงที่ 3 ตำรำงที่ 3 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค ภูมิภำค ภำคกลำง ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภำคเหนือ ภำคใต้ สพฐ. ประเทศ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล 42.00 50.11 43.15 48.80 41.67 47.54 40.82 47.27 42.20 48.66 42.17 48.60
ด้ำนภำษำ 51.45 51.37 49.96 48.81 50.80 50.74
รวม 47.85 47.77 46.39 45.63 47.23 47.17
จากตารางที่ 3 ผลการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 จ าแนก ตามภู มิ ภ าค โดยรวมทุ ก ความสามารถ พบว่ า ภาคที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ ภาคกลาง รองลงมาคื อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามล าดับ (47.85 47.77 46.39 และ 45.63 ตามลาดับ) เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า
9
ความสามารถด้ า นภาษา พบว่ า ภาคที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ ภาคกลาง รองลงมาคื อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (51.45 51.37 49.96 และ 48.81 ตามลาดับ) ความสามารถด้านคานวณ พบว่า ภาคที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมา คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (43.15 42.00 41.67 และ 40.82 ตามลาดับ) ความสามารถด้ า นเหตุ ผ ล พบว่ า ภาคที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ ภาคกลาง รองลงมาคื อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (50.11 48.80 47.54 และ 47.27 ตามลาดับ) แผนภูมิที่ 3
ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค
47.17 47.23 47.77 45.63 47.85 46.39
รวม
48.60 48.66 48.80 47.27 50.11 47.54
ด้านเหตุผล
ประเทศ สพฐ. ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ กลาง เหนือ
42.17 42.20 43.15 40.82 42.00 41.67
ด้านคานวณ
50.74 50.80 51.37 48.81 51.45 49.96
ด้านภาษา
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
10
50.00
60.00
3.1.2 ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) 3.1.2.1 ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ตำรำงที่ 4 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสานักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานกั บ ระดั บ ประเทศ (รวมทุ ก สั ง กั ด ) ของผู้ เ รี ย นระดั บ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 ชั้น
ระดับ
สพฐ. ป.6 ประเทศ สรุปผล สพฐ. ม.3 ประเทศ สรุปผล สพฐ. ม.6 ประเทศ สรุปผล
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษำ ศิลปะ
44.03 44.88 ต่า 35.39 35.20 สูง 51.41 50.76 สูง
36.77 38.06 ต่า 29.59 29.65 สูง 21.72 21.74 ต่า
40.97 42.13 ต่า 38.77 38.62 สูง 32.67 32.54 สูง
49.03 50.67 ต่า 46.94 46.79 สูง 36.81 36.53 สูง
32.88 36.02 ต่า 27.09 27.46 ต่า 23.12 23.44 ต่า
50.77 52.20 ต่า 59.72 59.32 สูง 52.48 51.94 สูง
44.24 45.61 ต่า 43.24 43.14 สูง 34.90 34.64 สูง
กำร งำน 55.24 56.32 ต่า 45.87 45.42 สูง 49.71 49.01 สูง
รวม 5 วิชำ 40.74 42.35 ต่า 35.56 35.54 สูง 33.15 33.00 สูง
รวม 8 วิชำ 44.24 45.74 ต่า 40.83 40.70 สูง 37.85 37.58 สูง
จากตารางที่ 4 ผลการเปรี ยบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ปีการศึกษา 2557 ระดับ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา 2557 ของผู้ เรี ย นในสั งกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในแต่ล ะกลุ่ มสาระ การเรี ย นรู้ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละอยู่ ร ะหว่ า ง 32.88 – 55.24 โดยกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมาคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ตามลาดับ เมื่อเปรีย บเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า ไม่มีกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ระดับชั้นมัธ ยมศึกษาปี ที่ 3 พบว่าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา 2557 ของผู้เรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในแต่ละกลุ่มสาระการ เรี ยนรู้ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละอยู่ ระหว่าง 27.09 – 59.72 โดยกลุ่ มสาระการเรียนรู้สุ ขศึกษาและพลศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงที่สุด รองลงมา คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 11
และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ตามลาดับ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ปี การศึ กษา 2557 ระดับชั้น มัธ ยมศึกษาปี ที่ 3 ระหว่างสั งกัดสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ของผู้เรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละอยู่ระหว่าง 21.72 – 52.48 โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูง ที่สุด รองลงมา คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามลาดับ เมื่อเปรีย บเทีย บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง สั งกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ จากผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ในแต่ ล ะระดั บ ชั้ น ระหว่ า งสั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานกั บ ระดั บ ประเทศ สามารถนาเสนอผลในรูปของแผนภูมิดังต่อไปนี้
12
แผนภูมิที่ 4
แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน ( O-NET) ปี การศึ กษา 2557 ระดับ ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ระหว่าง ระดับ ส านัก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
44.03 44.88
ไทย 36.77 38.06
คณิต
40.97 42.13
วิทย์
49.03 50.67
สังคมฯ
สพฐ.
32.88 36.02
อังกฤษ
ประเทศ
50.77 52.20
สุขศึกษา 44.24 45.61
ศิลปะ
55.24 56.32
การงาน 0
10
20
30
40
13
50
60
70
แผนภูมิที่ 5
แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน ( O-NET) ปี ก ารศึ ก ษา 2557ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ระหว่ า งระดั บ ส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด) ระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3
35.39 35.20
ไทย 29.59 29.65
คณิต
38.77 38.62
วิทย์
46.94 46.79
สังคมฯ
สพฐ.
27.09 27.46
อังกฤษ
ประเทศ 59.72 59.32
สุขศึกษา 43.24 43.14
ศิลปะ
45.87 45.42
การงาน 0
10
20
30
40
14
50
60
70
แผนภูมิที่ 6
แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน ( O-NET) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ระหว่ า งระดั บ ส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด)
ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
51.41 50.76
ไทย 21.72 21.74
คณิต
32.67 32.54
วิทย์
36.81 36.53
สังคมฯ
สพฐ.
23.12 23.44
อังกฤษ
ประเทศ 52.48 51.94
สุขศึกษา 34.90 34.64
ศิลปะ
49.71 49.01
การงาน 0
10
20
30
40
15
50
60
70
3.1.2.2 ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (1) ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้น พื้นฐำน (O-NET) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีกำรศึกษำ 2556 - 2557 ตำรำงที่ 5 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชั้น
ปี
ป.6 2557 2556 ผลต่ำง สรุปผล ม.3 2557 2556 ผลต่ำง สรุปผล ม.6 2557 2556 ผลต่ำง สรุปผล
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ สุขศึกษำ ศิลปะ กำรงำน
44.03 43.62 0.41 เพิ่ม 35.39 44.43 -9.04 ลด 51.41 49.87 1.54 เพิ่ม
36.77 39.87 -3.1 ลด 29.59 25.41 4.18 เพิ่ม 21.72 20.43 1.29 เพิ่ม
40.97 36.3 4.67 เพิ่ม 38.77 38.04 0.73 เพิ่ม 32.67 30.6 2.07 เพิ่ม
49.03 37.14 11.89 เพิ่ม 46.94 39.48 7.46 เพิ่ม 36.81 33.19 3.62 เพิ่ม
32.88 31.42 1.46 เพิ่ม 27.09 29.99 -2.9 ลด 23.12 25.05 -1.93 ลด
50.77 59.71 -8.94 ลด 59.72 58.72 1 เพิ่ม 52.48 62.46 -9.98 ลด
44.24 45.78 -1.54 ลด 43.24 43.88 -0.64 ลด 34.9 29.17 5.73 เพิ่ม
55.24 51.59 3.65 เพิ่ม 45.87 44.82 1.05 เพิ่ม 49.71 50.71 -1 ลด
รวม รวม 5 วิชำ 8 วิชำ 40.74 44.24 37.67 43.18 3.07 1.06 เพิ่ม เพิ่ม 35.56 40.83 35.47 40.60 0.09 0.23 เพิ่ม เพิ่ม 33.15 37.85 31.828 37.685 1.322 0.165 เพิ่ม เพิ่ม
จากตารางที่ 5 ผลการเปรี ย บเทีย บผลการทดสอบทางการศึ กษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผลการทดสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ปีการศึกษา 2557 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2556 ส่วนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ศิ ล ปะนั้ น มี ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ ากว่ า ปีการศึกษา 2556 ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ระหว่ า งปี ก ารศึ ก ษา 2557 กั บ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 ของส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน พบว่ า ผลการทดสอบกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้สั งคมศึ กษาฯ กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา และกลุ่ มสาระการเรีย นรู้ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2556 ส่วนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะนั้น คะแนนเฉลี่ยต่ากว่าปีการศึกษา 2556 16
ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ระหว่ า งปี ก ารศึ ก ษา 2557 กั บ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 ของส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผลการทดสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภ าษาไทย และกลุ่ มสาระการเรียนรู้ คณิ ต ศาสตร์ ปี ก ารศึ ก ษา 2557 มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า ปี ก ารศึ ก ษา 2556 ส่ ว นในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภาษาอั ง กฤษ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และ เทคโนโลยีนั้น มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าปีการศึกษา 2556 จากผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กั บ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 ของส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ในแต่ ล ะระดั บ ชั้ น สามารถนาเสนอผลในรูปของแผนภูมิดังต่อไปนี้ แผนภูมิที่ 7
แสดงผลการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
43.62 44.03
ไทย คณิต
39.87 36.77
วิทย์
36.30 40.97 37.14
สังคมฯ
49.03
2556
31.42 32.88
อังกฤษ
2557
สุขศึกษา
59.71
50.77 45.78 44.24
ศิลปะ
51.59 55.24
การงาน 0
10
20
30
17
40
50
60
70
แผนภูมิที่ 8
แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
ไทย
44.43
35.39 25.41 29.59
คณิต
38.04 38.77
วิทย์
39.48
สังคมฯ
2556 46.94
2557
29.99 27.09
อังกฤษ
58.72 59.72
สุขศึกษา 43.88 43.24
ศิลปะ
44.82 45.87
การงาน 0
10
20
30
40
18
50
60
70
แผนภูมิที่ 9
แสดงผลการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ระหว่างปีการศึกษา 2556 - 2557 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
49.87 51.41
ไทย 20.43 21.72
คณิต
30.60 32.67
วิทย์
33.19 36.81
สังคมฯ
2556
25.05 23.12
อังกฤษ
2557
สุขศึกษา
52.48 29.17
ศิลปะ
62.46
34.90 50.71 49.71
การงาน 0
10
20
30
40
19
50
60
70
(2) ผลกำรเปรี ย บเที ย บผลกำรทดสอบทำงกำรศึ ก ษำระดั บ ชำติ ขั้ น พื้ น ฐำน (O-NET) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีกำรศึกษำ 2554 – 2557 ตำรำงที่ 6 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554 – 2557 ระดับชั้น ป.6
ม.3
ม.6
ปี 2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557
ไทย 49.51 44.01 43.62 44.03 48.35 54.57 44.43 35.39 42.12 47.68 49.87 51.41
คณิต 51.69 33.83 39.87 36.77 32.19 26.94 25.41 29.59 22.53 22.62 20.43 21.72
วิทย์ 40.45 36.09 36.30 40.97 32.28 35.40 38.04 38.77 27.89 33.26 30.60 32.67
สังคมฯ 51.08 42.57 37.14 49.03 42.88 47.15 39.48 46.94 33.40 36.47 33.19 36.81
อังกฤษ สุขศึกษำ 37.12 58.17 34.03 53.38 31.42 59.71 32.88 50.77 30.13 51.16 28.29 56.93 29.99 58.72 27.09 59.72 21.34 54.92 21.71 54.04 25.05 62.46 23.12 52.48
ศิลปะ กำรงำน 46.20 54.45 50.70 52.20 45.78 51.59 44.24 55.24 43.61 47.59 43.41 47.69 43.88 44.82 43.24 45.87 28.65 49.21 32.98 46.20 29.17 50.71 34.90 49.71
จากตารางที่ 6 ผลการเปรี ย บเทีย บผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554 – 2557 พบว่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แนวโน้มของคะแนนเฉลี่ยร้อยละทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส่วนใหญ่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ยกเว้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ ที่มีแนวโน้มของคะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 ส่วนใหญ่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ยกเว้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ที่มีแนวโน้มของคะแนนเฉลี่ยร้อยละเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
20
แผนภูมิที่ 10 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557 ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 44.03 43.62 44.01
ไทย
49.51
คณิต
36.77 39.87 33.83
วิทย์
40.97 36.30 36.09
51.69
2557 2556 2555 2554
40.45
49.03 37.1442.57
สังคมฯ
51.08
32.88 31.42 34.03
อังกฤษ
37.12
50.77 สุขศึกษา
59.71 53.38
58.17
44.24 45.78 50.70
ศิลปะ
46.20
55.24 51.59 52.20
การงาน
54.45
0
10
20
30
40
21
50
60
70
แผนภูมิที่ 11 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
35.39
ไทย
44.43 48.35
54.57
29.59 25.41 26.94 32.19
คณิต
38.77 38.04 35.40 32.28
วิทย์ สังคมฯ
42.88
46.94 39.48 47.15
2557 2556 2555 2554
27.09 29.99 28.29 30.13
อังกฤษ สุขศึกษา
51.16
59.72 58.72 56.93
43.24 43.88 43.41 43.61 45.87 44.82 47.69 47.59
ศิลปะ การงาน 0
10
20
30
22
40
50
60
70
แผนภูมิที่ 12
แสดงผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2554 – 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ไทย
51.41 49.87 47.68
42.12 21.72 20.43 22.62 22.53
คณิต
32.67 30.60 33.26 27.89 36.81 33.19 36.47 33.40
วิทย์ สังคมฯ
2557 2556 2555
23.12 25.05 21.71 21.34
อังกฤษ
2554 52.48 62.46 54.04 54.92
สุขศึกษา 29.1734.90 32.98 28.65
ศิลปะ
49.71 50.70 46.20 49.21
การงาน 0
10
20
30
40
23
50
60
70
3.1.2.3 ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จำแนกตำมภูมิภำค ปีกำรศึกษำ 2557 ตำรำงที่ 7 การเปรี ยบเที ยบคะแนนเฉลี่ ยร้ อยละของผลการทดสอบทางการศึ กษาระดั บชาติ ขั้ นพื้ นฐาน (O-NET) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค ระดับชั้น
ภูมิภำค
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
ป.6
เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ สพฐ. ประเทศ เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ สพฐ. ประเทศ เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ สพฐ. ประเทศ
44.50 44.87 43.79 43.03 44.03 44.88 34.38 34.09 33.90 33.55 35.39 35.20 44.82 49.20 45.38 44.63 51.41 50.76
37.65 38.05 35.75 36.24 36.77 38.06 27.60 27.45 27.46 27.31 29.59 29.65 17.40 19.65 17.03 17.19 21.72 21.74
41.84 42.15 40.31 40.18 40.97 42.13 37.04 36.60 36.08 35.74 38.77 38.62 30.38 31.37 29.71 30.00 32.67 32.54
49.49 50.60 48.56 47.44 49.03 50.67 45.87 45.78 44.70 45.17 46.94 46.79 33.54 35.71 33.04 33.00 36.81 36.53
ม.3
ม.6
24
33.13 33.74 31.96 33.15 32.88 36.02 26.41 25.89 26.81 26.60 27.09 27.46 19.25 21.77 19.03 19.32 23.12 23.44
สุข ศึกษำ 51.37 53.09 49.60 49.51 50.77 52.20 57.74 58.08 56.02 55.15 59.72 59.32 47.92 50.80 48.32 47.27 52.48 51.94
ศิลปะ 44.59 45.74 43.53 43.33 44.24 45.61 40.57 41.91 40.28 40.47 43.24 43.14 32.09 34.80 32.23 32.38 34.90 34.64
กำร งำน 55.88 57.47 54.50 53.43 55.24 56.32 44.18 44.60 43.31 42.62 45.87 45.42 44.95 48.71 45.04 43.45 49.71 49.01
เฉลี่ย รวม 44.81 45.72 43.50 43.29 44.24 45.74 39.22 39.30 38.57 38.33 40.83 40.70 33.79 36.50 33.72 33.40 37.85 37.58
จากตารางที่ 7 ผลคะแนนเฉลี่ยรวมของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามภูมิภาค พบว่า ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ทั้ ง 4 ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคกลางมี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด รองลงมา คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (45.72 44.81 43.50 และ 43.29 ตามลาดับ) ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ทั้ ง 4 ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคกลางมี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด รองลงมา คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (39.30 39.22 38.57 และ 38.33 ตามลาดับ) ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ทั้ ง 4 ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคกลาง มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด รองลงมา คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ (36.50 33.79 33.72 และ 33.40 ตามลาดับ) แผนภูมิที่ 13 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จาแนกตามภูมิภาค
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ เท่ากับ 45.74 44.81
เหนือ
45.72
กลำง 43.50
ตะวันออกเฉียงเหนือ
43.29
ใต้ 40
41
42
43
25
44
45
46
47
48
แผนภูมิที่ 14 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จาแนกตามภูมิภาค คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ เท่ากับ 40.70 เหนือ
39.22
กลำง
39.30 38.57
ตะวันออกเฉียงเหนือ
38.33
ใต้ 35
36
37
38
39
40
41
แผนภูมิที่ 15 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จาแนกตามภูมิภาค คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ เท่ากับ 37.58 เหนือ 33.79
กลำง
36.50 33.72
ตะวันออกเฉียงเหนือ
33.40
ใต้ 31
32
33
34
26
35
36
37
38
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ป.3= 46.39 ป.6 = 44.81 ม.3= 39.22 ม.6 = 33.79
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ป.3= 47.85 ป.6 = 45.75 ม.3= 39.30 ม.6 = 36.50
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ป.3= 47.77 ป.6 = 43.50 ม.3= 38.57 ม.6 = 33.72
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ป.3= 45.63 ป.6 = 43.29 ม.3= 38.33 ม.6 = 33.40
27
ตำรำงที่ 8 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ระดับชั้น ป.6
ภูมิภำค เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียงเห นือ ใต้ สพฐ. ประเทศ
ม.3
เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียง เหนือ ใต้ สพฐ. ประเทศ
ม.6
เหนือ กลำง ตะวันออกเฉียง เหนือ ใต้ สพฐ. ประเทศ
2556 42.6 9 44.5 7 43.5 2 42.4 7 43.6 6 45.0 2 42.6 0 42.6 6 41.2 8 41.0 4 41.9 2 44.2 5 42.9 4 46.8 9 43.2 5 42.2 2 43.8 3 49.2 6
ภำษำไทย 2557 44.5 0 44.8 7 43.7 9 43.0 3 44.0 3 44.8 8 34.3 8 34.0 9 33.9 0 33.5 5 35.3 9 35.2 0 44.8 2 49.2 0 45.3 8 44.6 3 51.4 1 50.7 6
ผลต่ำง
1.81 0.30 0.27 0.56 0.37 -0.14 -8.22 -8.57 -7.38 -7.49 -6.53 -9.05 1.88 2.31 2.13 2.41 7.58 1.50
2556 38.8 0 41.2 6 39.2 6 38.9 8 40.0 2 41.9 5 23.7 9 23.5 7 24.7 9 23.4 6 24.0 2 25.4 5 16.5 1 18.6 4 16.3 8 16.6 5 16.9 8 20.4 8
คณิต 2557 37.6 5 38.0 5 35.7 5 36.2 4 36.7 7 38.0 6 27.6 0 27.4 5 27.4 6 27.3 1 29.5 9 29.6 5 17.4 0 19.6 5 17.0 3 17.1 9 21.7 2 21.7 4
ผลต่ำง
-1.15 -3.21 -3.51 -2.74 -3.25 -3.89 3.81 3.88 2.67 3.85 5.57 4.20 0.89 1.01 0.65 0.54 4.74 1.26
2556 35.3 7 36.6 4 36.2 7 35.9 0 36.2 9 37.4 0 36.7 8 36.0 1 36.6 9 35.9 5 36.4 1 37.9 5 28.2 2 29.0 6 27.8 7 27.8 9 28.2 3 30.4 8
วิทย์ 2557 41.8 4 42.1 5 40.3 1 40.1 8 40.9 7 42.1 3 37.0 4 36.6 0 36.0 8 35.7 4 38.7 7 38.6 2 30.3 8 31.3 7 29.7 1 30.0 0 32.6 7 32.5 4
ผลต่ำง
6.47 5.51 4.04 4.28 4.68 4.73 0.26 0.59 -0.61 -0.21 2.36 0.67 2.16 2.31 1.84 2.11 4.44 2.06
2556 36.5 4 37.7 0 37.3 4 35.6 7 37.1 4 38.3 1 37.7 6 37.6 2 37.4 8 36.7 3 37.4 6 39.3 7 30.4 4 31.5 3 30.0 4 29.4 0 30.3 7 33.0 2
สังคม 2557 49.4 9 50.6 0 48.5 6 47.4 4 49.0 3 50.6 7 45.8 7 45.7 8 44.7 0 45.1 7 46.9 4 46.7 9 33.5 4 35.7 1 33.0 4 33.0 0 36.8 1 36.5 3
ผลต่ำง
12.95 12.90 11.22 11.77 11.89 12.36 8.11 8.16 7.22 8.44 9.48 7.42 3.10 4.18 3.00 3.60 6.44 3.51
28
2556 30.1 8 31.4 4 31.5 2 31.5 8 31.3 6 33.8 2 28.6 5 28.2 9 29.4 4 28.7 0 28.8 3 30.3 5 20.6 2 22.6 5 20.2 7 19.9 3 20.8 5 25.3 5
อังกฤษ 2557 33.1 3 33.7 4 31.9 6 33.1 5 32.8 8 36.0 2 26.4 1 25.8 9 26.8 1 26.6 0 27.0 9 27.4 6 19.2 5 21.7 7 19.0 3 19.3 2 23.1 2 23.4 4
ผลต่ำง
2.95 2.30 0.44 1.57 1.52 2.20 -2.24 -2.40 -2.63 -2.10 -1.74 -2.89 -1.37 -0.88 -1.24 -0.61 2.27 -1.91
2556 59.5 4 62.2 7 58.5 4 57.7 0 59.9 4 61.6 9 57.7 6 57.6 2 56.2 9 54.7 5 56.7 4 58.3 0 57.3 6 60.5 8 57.0 4 57.5 3 58.0 2 62.0 3
สุขศึกษำ 2557 ผลต่ำง 51.3 7 -8.17 53.0 9 -9.18 49.6 0 -8.94 49.5 1 -8.19 50.7 7 -9.17 52.2 0 -9.49 57.7 4 -0.02 58.0 8 0.46 56.0 2 -0.27 55.1 5 0.40 59.7 2 2.98 59.3 2 1.02 47.9 2 -9.44 50.8 0 -9.78 48.3 2 -8.72 47.2 7 10.26 52.4 8 -5.54 51.9 4 10.09
2556 45.0 3 47.5 8 45.1 6 44.6 8 45.9 0 47.1 4 42.3 5 42.5 7 42.5 5 41.6 6 42.3 7 43.6 5 26.2 7 28.3 5 26.2 2 26.0 3 26.6 9 29.0 0
ศิลปะ 2557 44.5 9 45.7 4 43.5 3 43.3 3 44.2 4 45.6 1 40.5 7 41.9 1 40.2 8 40.4 7 43.2 4 43.1 4 32.0 9 34.8 0 32.2 3 32.3 8 34.9 0 34.6 4
ผลต่ำง
-0.44 -1.84 -1.63 -1.35 -1.66 -1.53 -1.78 -0.66 -2.27 -1.19 0.87 -0.51 5.82 6.45 6.01 6.35 8.21 5.64
2556 50.9 6 54.2 5 50.3 5 50.4 2 51.7 8 53.1 6 42.9 0 43.2 4 41.2 2 41.6 9 42.2 3 44.4 6 45.8 8 48.4 0 46.2 4 44.2 5 46.2 9 49.9 8
กำรงำน 2557 55.8 8 57.4 7 54.5 0 53.4 3 55.2 4 56.3 2 44.1 8 44.6 0 43.3 1 42.6 2 45.8 7 45.4 2 44.9 5 48.7 1 45.0 4 43.4 5 49.7 1 49.0 1
ผลต่ำง
4.92 3.22 4.15 3.01 3.46 3.16 1.28 1.36 2.09 0.93 3.64 0.96 -0.93 0.31 -1.20 -0.80 3.42 -0.97
2556 42.3 9 44.4 6 42.7 5 42.1 7 43.2 6 44.8 1 39.0 7 38.9 5 38.7 2 38.0 0 38.7 5 40.4 7 33.5 3 35.7 6 33.4 1 32.9 9 33.9 1 37.4 5
เฉลี่ยรวม 2557 ผลต่ำง 44.8 1 2.42 45.7 2 1.26 43.5 0 0.75 43.2 9 1.12 44.2 4 0.98 45.7 4 0.93 39.2 2 0.15 39.3 0 0.35 38.5 7 -0.15 38.3 3 0.33 40.8 3 2.08 40.7 0 0.23 33.7 9 0.26 36.5 0 0.74 33.7 2 0.31 33.4 0 0.41 37.8 5 3.94 37.5 8 0.13
จากตารางที่ 8 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค พบว่า ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 ทั้ง 4 ภูมิภาค มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าปีการศึกษา 2556 โดยภาคเหนือมีคะแนนเฉลี่ยรวมเพิ่มขึ้นสูงสุด รองลงมา คือ ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลาดับ (2.42 1.26 1.12 และ 0.75 ตามลาดับ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 ภูมิภาคที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมเพิ่มขึ้น คือ ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคเหนื อ ตามล าดั บ (0.35 0.33 และ 0.15 ตามล าดั บ ) ยกเว้ น ภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนื อ มีคะแนนเฉลี่ยรวมลดลงเมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2556 (-0.15) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 ทั้ง 4 ภูมิภาค มีคะแนนเฉลี่ยรวมเพิ่มขึ้น โดยภาค กลาง มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมเพิ่ ม ขึ้น สู ง สุ ด รองลงมา คือ ภาคใต้ ภาคตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ และภาคเหนื อ ตามลาดับ (0.74 0.41, 0.31 และ 0.26 ตามลาดับ) แผนภูมิที่ 16 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6
42.39
เหนือ
44.81 44.46
กลำง
45.72
ปี 2556 ปี 2557
42.75
ตะวันออกเฉียงเหนือ
43.50 42.17
ใต้
43.29
40
41
42
43
29
44
45
46
แผนภูมิที่ 17 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 เหนือ
39.07 39.22
กลำง
38.95 39.30
ปี 2556 ปี 2557
38.72 38.57
ตะวันออกเฉียงเหนือ
38.00 38.33
ใต้ 35
37
39
41
แผนภูมิที่ 18 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 กับ 2557 จาแนกตามภูมิภาค ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 33.53 33.79
เหนือ
35.76
กลำง
36.50
ปี 2556
33.41 33.72
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ปี 2557
32.99 33.40
ใต้ 31
33
35
30
37
3.2 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนจำแนกตำมสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นจ าแนกตามส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ในที่ นี้ ข อน าเสนอ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพในระดั บ ชาติ ข องผู้ เ รี ย นระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในแต่ละด้านหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้และภาพรวมของแต่ละ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.1 ผลกำรเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำกับระดับประเทศ ตำรำงที่ 9 จ านวนและร้ อ ยละของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเมื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ ของระดับประเทศในแต่ละระดับชั้น จำนวนและร้อยละของสำนักงำนเขตพื้นที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเทียบกับ ระดับประเทศ* สูงกว่ำหรือเท่ำกับ สูงกว่ำหรือเท่ำกับ ต่ำกว่ำ ระดับชั้น ระดับประเทศ ระดับประเทศ ระดับประเทศ (จำนวนเขตทั้งหมด) ทุกวิชำ บำงวิชำ ทุกวิชำ จำนวน(เขต) ร้อยละ จำนวน(เขต) ร้อยละ จำนวน(เขต) ร้อยละ ป.3 74 39.57 38 20.32 75 40.11 (187 เขต) ป.6 52 28.26 81 44.02 51 27.72 (184 เขต) ม.3 18 8.04 61 27.23 145 64.73 (224 เขต) ม.6 12 14.12 16 18.82 57 67.06 (85 เขต) หมำยเหตุ ระดับประเทศ* หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนนสอบของผู้เรี ยนในสังกัด สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
จากตารางที่ 9 จ านวนและร้ อยละของส านั กงานเขตพื้ นที่ การศึ กษาเมื่ อเปรี ยบเที ยบคะแนนเฉลี่ ยร้ อยละ ของระดับประเทศ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า สานักงานเขตพื้นที่ส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าระดับประเทศทุกวิชา จานวน 75 เขต (ร้อยละ 40.11) รองลงมา คือ สูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศ ทุ ก วิ ช า จ านวน 74 เขต (ร้ อยละ 39.57) และ สู งกว่ าหรื อเท่ ากั บระดั บประเทศบางวิ ช า จ านวน 38 เขต (ร้อยละ 20.32) ตามลาดับ
31
เมื่อพิจารณาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าสานักงานเขตพื้นที่ส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สู งกว่าหรื อเท่ากั บ ระดับ ประเทศบางวิช า จ านวน 81 เขต (ร้อยละ 44.02) รองลงมา สู งกว่าหรื อเท่ากั บ ระดับประเทศทุกวิชา จ านวน 52 เขต (ร้อยละ 28.26) และต่ากว่าระดับประเทศทุกวิชา จานวน 51 เขต (ร้อยละ 27.72) ตามลาดับ เมื่อพิจารณาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า สานักงานเขตพื้นที่ส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าระดับประเทศทุกวิ ชา จานวน 145 เขต (ร้อยละ 64.73) รองลงมา สูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศ บางวิช า จ านวน 61 เขต (ร้ อ ยละ 27.23) และสู ง กว่ าหรื อเท่า กับระดั บประเทศทุก วิช า จานวน 18 เขต (ร้อยละ 8.04) ตามลาดับ และเมื่ อพิ จารณาในระดั บชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ 6 พบว่ า ส านั กงานเขตพื้นที่ ส่ วนใหญ่ มี คะแนนเฉลี่ ยร้ อยละ ต่ากว่าระดับ ประเทศทุกวิชา จ านวน 57 เขต (ร้อยละ 67.06) รองลงมาสู งกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศ บางวิช า จ านวน 16 เขต (ร้ อยละ 18.82) และสู ง กว่าหรือเท่ากับระดับ ประเทศทุ กวิช า จานวน 12 เขต (ร้อยละ 14.12) ตามลาดับ
32
ตำรำงที่ 10 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ สูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศทุกวิชา ในแต่ละระดับชั้น (เรียงตามตัวอักษร) ชั้น ป.3
ป.6
ม.3
ม.6
รำยชื่อสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ กระบี่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี เขต 4 กาฬสินธุ์ เขต 2 จันทบุรี เขต 1 ฉะเชิงเทรา เขต 1 ชลบุรี เขต 1 ชัยภูมิ เขต 1 ชัยภูมิ เขต 2 ชุมพร เขต 1 เชียงราย เขต 1 เชียงราย เขต 4 เชียงใหม่ เขต 1 เชียงใหม่ เขต 4 ตรัง เขต 1 ตราด นครปฐม เขต 1 นครปฐม เขต 2 นครราชสีมา เขต 1 กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี เขต 4 จันทบุรี เขต 1 ฉะเชิงเทรา เขต 1 ชลบุรี เขต 1 ชลบุรี เขต 2 ชุมพร เขต 1 ชุมพร เขต 2 เชียงราย เขต 1 เชียงใหม่ เขต 1 เชียงใหม่ เขต 4 เลย เขต 3 อุทัยธานี เขต 2 สพม. เขต 1 สพม. เขต 2
นครศรีธรรมราช เขต 1 มหาสารคาม เขต 2 สระบุรี เขต 2 นครศรีธรรมราช เขต 4 ยโสธร เขต 1 สิงห์บุรี นครสวรรค์ เขต 1 ยโสธร เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 1 น่าน เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 1 สุพรรณบุรี เขต 2 น่าน เขต 2 ร้อยเอ็ด เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 3 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 3 สุราษฎร์ธานี เขต 2 พะเยา เขต 1 ระยอง เขต 1 สุราษฎร์ธานี เขต 3 พะเยา เขต 2 ระยอง เขต 2 สุรินทร์ เขต 1 พังงา ลาพูน เขต 1 หนองคาย เขต 1 พัทลุง เขต 1 เลย เขต 1 หนองบัวลาภู เขต 1 พัทลุง เขต 2 เลย เขต 2 อ่างทอง พิจิตร เขต 1 เลย เขต 3 อุดรธานี เขต 1 พิษณุโลก เขต 2 ศรีสะเกษ เขต 1 อุดรธานี เขต 2 เพชรบุรี เขต 1 ศรีสะเกษ เขต 2 อุดรธานี เขต 3 เพชรบุรี เขต 2 สกลนคร เขต 3 อุดรธานี เขต 4 เพชรบูรณ์ เขต 1 สงขลา เขต 1 อุทัยธานี เขต 2 เพชรบูรณ์ เขต 2 สงขลา เขต 2 อุบลราชธานี เขต 3 แพร่ เขต 1 สมุทรสงคราม แพร่ เขต 2 สระแก้ว เขต 1 ตรัง เขต 1 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 2 สิงห์บุรี ตราด พะเยา เขต 1 ระยอง เขต 1 สุโขทัย เขต 1 นครปฐม เขต 1 พะเยา เขต 2 ระยอง เขต 2 สุโขทัย เขต 2 นครปฐม เขต 2 พังงา ลพบุรี เขต 1 สุพรรณบุรี เขต 1 นครราชสีมา เขต1 พัทลุง เขต 1 ลาปาง เขต 1 สุรินทร์ เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 1 พัทลุง เขต 2 ลาปาง เขต 2 อ่างทอง นครศรีธรรมราช เขต 4 พิษณุโลก เขต 1 ลาพูน เขต 1 อุตรดิตถ์ เขต 1 นนทบุรี เขต 1 เพชรบุรี เขต 1 สงขลา เขต 1 อุทัยธานี เขต 2 นนทบุรี เขต 2 แพร่ เขต 1 สงขลา เขต 2 น่าน เขต 1 แพร่ เขต 2 สมุทรสงคราม น่าน เขต 2 ร้อยเอ็ด เขต 1 สมุทรสาคร สพม. เขต 3 สพม. เขต 12 สพม. เขต 18 สพม. เขต 37 สพม. เขต 4 สพม. เขต 14 สพม. เขต 34 สพม. เขต 39 สพม. เขต 6 สพม. เขต 16 สพม. เขต 35 สพม. เขต 11 สพม. เขต 17 สพม. เขต 36
สพม. เขต 1 สพม. เขต 2 สพม. เขต 3
สพม. เขต 4 สพม. เขต 6 สพม. เขต 10
สพม. เขต 14 สพม. เขต 16 สพม. เขต 17
33
สพม. เขต 18 สพม. เขต 35 สพม. เขต 37
3.2.2 ผลกำรเปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละของสำนักงำนเขตพื้น ที่กำรศึกษำกับระดั บประเทศ จำแนกตำมรำยวิชำ ตำรำงที่ 11 จ านวนและร้ อ ยละของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า หรื อ เท่ า กั บ ระดับประเทศ จาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละระดับชั้น
วิชำ ภำษำไทย คณิตศำสตร์
จำนวนและร้อยละของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงกว่ำหรือเท่ำกับระดับประเทศ (สพฐ.) ป.3 ป.6 ม.3 ม.6 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 22 25.88 98 53.26 48 21.43 15 17.65 90 48.91 42 18.75
วิทยำศำสตร์
92
50.00
33
14.73
21
24.71
สังคมศึกษำฯ
98
53.26
31
13.84
19
22.35
ภำษำอังกฤษ
75
40.76
50
22.32
14
16.47
สุขศึกษำฯ
106
57.61
19
8.48
23
27.06
ศิลปะ
94
51.09
31
13.84
20
23.53
กำรงำนอำชีพฯ
110
59.78
45
20.09
23
27.06
ด้ำนภำษำ
96
51.34
ด้ำนคำนวณ
89
47.59
ด้ำนเหตุผล
99
52.94
หมำยเหตุ ฐานข้อมูลจานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของ ป.3 มีจานวนทั้งสิ้น 187 เขต ป.6 มีจานวนทั้งสิ้น 184 เขต ม.3 มีจานวนทั้งสิ้น 224 เขต และ ม.6 มีจานวนทั้งสิ้น 85 เขต
จากตารางที่ 11 จานวนและร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า หรื อ เท่ า กั บ ระดั บ ประเทศ จ าแนกตามความสามารถพื้ น ฐาน ในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) มีจานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สู ง กว่ า หรื อ เท่ า กั บ ระดั บ ประเทศมากที่ สุ ด จ านวน 99 เขต (ร้ อ ยละ 52.94) รองลงมาคื อ ความสามารถ ด้านภาษา (Literacy) จ านวน 96 เขต (ร้อยละ 51.34) และด้านคานวณ (Numeracy) จานวน 89 เขต (ร้อยละ 47.59) ตามลาดับ
34
เมื่อพิจารณาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีจ านวนส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึก ษาที่มี คะแนนเฉลี่ ยร้ อยละสู งกว่า หรื อเท่ ากั บระดับ ประเทศมากที่สุ ด จ านวน 110 เขต (ร้ อ ยละ 59.78) และกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ภ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มี จานวน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศน้อยที่สุด จานวน 75 เขต (ร้อยละ 40.76) เมื่ อ พิ จ ารณาในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาต่ า งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีจานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศ มากที่สุด จานวน 50 เขต (ร้อยละ 22.32) และกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา มีจานวนสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศน้อยที่สุด จานวน 19 เขต (ร้อยละ 8.48) เมื่อพิจ ารณาในระดับ ชั้น มัธ ยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า กลุ่ มสาระการเรียนรู้สุ ขศึกษาและกลุ่ มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีจานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า หรื อ เท่ า กั บ ระดั บ ประเทศมากที่ สุ ด เท่ า กั น จ านวน 23 เขต (ร้ อ ยละ 27.06) และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภาษาต่ า งประเทศ(ภาษาอั ง กฤษ) จ านวนส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง กว่ า หรือเท่ากับระดับประเทศน้อยที่สุด จานวน 14 เขต (ร้อยละ 16.47) 3.2.3 ผลกำรจัดกลุ่มคุณภำพของสำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำจำแนกตำมผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียน ระดับชำติ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานท าการจั ด กลุ่ ม คุ ณ ภาพของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษา โดยการจัดอันดับคะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของผลการทดสอบ NT ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และผลการทดสอบ O-NET ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งเกณฑ์ในการจัดกลุ่มคุณภาพของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอนาเสนอดังแผนภูมิ ที่ 19 ต่อไปนี้ แผนภูมิที่ 19 เกณฑ์การจัดกลุ่มคุณภาพของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ
หมายความว่า หมายความว่า หมายความว่า หมายความว่า
อยู่ในกลุ่มดีมาก (อยู่ใน 25 อันดับแรก) อยู่ในกลุม่ ดี (สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสานักงานเขตพื้นที่ทั้งหมด (Grand Mean) แต่ไม่ได้อยู่ใน 25 อันดับแรก) อยู่ในกลุ่มพอใช้ (ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของสานักงานเขตพื้นที่ทั้งหมด แต่ไม่ได้อยู่ใน 25 อันดับสุดท้าย) อยู่ในกลุ่มปรับปรุง (อยู่ใน 25 อันดับสุดท้าย)
35
โดยมีค่ าคะแนนเฉลี่ ย ของส านั กงานเขตพื้น ที่การศึ กษาทั้ งหมด (Grand Mean) ที่ ใช้เ ป็น เกณฑ์ ในการแบ่งกลุ่มดีกับกลุ่มพอใช้ จาแนกตามรายวิชาและรวมทุกวิชาในแต่ละระดับชั้น ดังต่อไปนี้ ชั้น
รวมทุก วิชำ 47.12 36.95 41.15 49.14 32.91 50.94 44.34 55.45 44.37 27.50 36.44 45.36 26.45 56.84 40.84 43.78 38.91 18.60 30.76 34.17 20.46 49.30 33.19 46.21 34.96
ภำษำ คำนวณ เหตุผล ภำษำไทย คณิต
ป.3 50.65 ป.6 ม.3 ม.6
42.11
48.61 44.13 34.04 46.98
วิทย์
สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
ผลในการจั ด กลุ่ ม คุ ณ ภาพของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาจากคะแนนเฉลี่ ย รวมทุ ก วิ ช า ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ขอนาเสนอผลการจัดกลุ่ม ดังต่อไปนี้ ตำรำงที่ 12 จานวนร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในแต่ละกลุ่มคุณภาพของคะแนนรวมทุกวิชา กลุ่มคุณภำพ ระดับชั้น ป.3 ป.6 ม.3 ม.6
ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมำก จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 25 13.37 63 33.69 74 39.57 25 13.37 25 13.59 68 39.96 66 35.87 25 13.59 25 11.16 72 32.14 102 45.54 25 11.16 25 29.41 19 22.35 16 18.82 25 29.41
หมำยเหตุ ฐานข้ อ มู ล จ านวนส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาของ ป.3 มี จ านวนทั้ ง สิ้ น 187 เขต ป.6 มี จ านวนทั้ ง สิ้ น 184 เขต ม.3 มีจานวนทั้งสิ้น 224 เขต และ ม.6 มีจานวนทั้งสิ้น 85 เขต
จากตารางที่ 12 จานวนและร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจาแนกกลุ่มคุณภาพผู้เรียน ระดับ ชาติ ในระดับ ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3 จากจานวน 187 เขต พบว่า ส่ ว นใหญ่ จาแนกอยู่กลุ่ มคุณภาพดี จ านวน 74 เขต (ร้ อ ยละ 39.57) รองลงมาอยู่ ใ นระดั บ คุ ณ ภาพพอใช้ จ านวน 63 เขต (ร้ อ ยละ 33.69) และอยู่ในระดับคุณภาพดีมากและปรับปรุง จานวน 25 เขต (ร้อยละ 13.37) ตามลาดับ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 จากจ านวน 184 เขต พบว่ า ส่ ว นใหญ่ มี ผ ลการจ าแนกคุ ณ ภาพ อยู่ในระดับพอใช้ จานวน 68 เขต (ร้อยละ 39.96) รองลงมาคืออยู่ในระดับดี จานวน 66 เขต (ร้อยละ 35.87) และอยู่ในระดับคุณภาพดีมากและปรับปรุง จานวน 25 เขต (ร้อยละ 13.59) ตามลาดับ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากจานวน 224 เขต พบว่าส่วนใหญ่มีผลการจาแนกคุณภาพอยู่ในระดับ ดีจานวน 102 เขต (ร้อยละ 45.54) รองลงมาคืออยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ จานวน 72 เขต (ร้อยละ 32.14) และอยู่ในระดับคุณภาพดีมากและปรับปรุง จานวน 25 เขต (ร้อยละ 11.16) ตามลาดับ
36
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากจานวน 85 เขต พบว่าส่วนใหญ่มีผลการจาแนกคุณภาพอยู่ในระดับ พอใช้ จานวน 19 เขต (ร้อยละ 22.35) รองลงมาคืออยู่ในระดับคุณภาพดี จานวน 16 เขต (ร้อยละ 18.82) และอยู่ในระดับคุณภาพดีมากและปรับปรุง จานวน 25 เขต (ร้อยละ 29.41) ตามลาดับ ตำรำงที่ 13 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้ เรียนระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก จาแนกตามระดับชั้น (เรียงตามลาดับตัวอักษร) ชั้น ป.3
รำยชื่อสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ เขต 1 จันทบุรี เขต 1 ตรัง เขต 1 ฉะเชิงเทรา เขต 1 นครปฐม เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 1 ชัยภูมิ เขต 1 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ชุมพร เขต 1
ป.6
กรุงเทพมหานคร จันทบุรี เขต 1 ชุมพร เขต 1 เชียงใหม่ เขต 1 เชียงราย เขต 1
ม.3
เลย เขต 3 สกลนคร เขต 3 อุดรธานี เขต 2 อุดรธานี เขต 4 อุทัยธานี เขต 2
ม.6
พัทลุง เขต 1 พัทลุง เขต 2 มหาสารคาม เขต 2 เพชรบุรี เขต 1 ยโสธร เขต 1
ร้อยเอ็ด เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 2 ระยอง เขต 2 เลย เขต 3 สกลนคร เขต 3
สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี เขต 1 อุดรธานี เขต 2 อุดรธานี เขต 4 อุบลราชธานี เขต 3
นครปฐม เขต 1 นครราชสีมา เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 1 นนทบุรี เขต 1 น่าน เขต 1
น่าน เขต 2 พะเยา เขต 1 พัทลุง เขต 1 พัทลุง เขต 2
เพชรบุรี เขต 1 แพร่ เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 2 ระยอง เขต 2
ลาพูน เขต 1 สกลนคร เขต 3 สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี เขต 1 อุดรธานี เขต 2
สพม. เขต 1 สพม. เขต 2 สพม. เขต 3 สพม. เขต 4 สพม. เขต 6
สพม. เขต 9 สพม. เขต 10 สพม. เขต 11 สพม. เขต 12 สพม. เขต 13
สพม. เขต 14 สพม. เขต 16 สพม. เขต 17 สพม. เขต 18 สพม. เขต 34
สพม. เขต 35 สพม. เขต 36 สพม. เขต 37 สพม. เขต 39 สพม. เขต 38
กาญจนบุรี เขต 3 สพม. เขต 2 นนทบุรี เขต 1 สพม. เขต 3 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 สพม. เขต 4 สมุทรสาคร สพม. เขต 6 สพม. เขต 1 สพม. เขต 8
สพม. เขต 9 สพม. เขต 10 สพม. เขต 11 สพม. เขต 12 สพม. เขต 13
สพม. เขต 14 สพม. เขต 16 สพม. เขต 17 สพม. เขต 18 สพม. เขต 34
สพม. เขต 35 สพม. เขต 36 สพม. เขต 37 สพม. เขต 39 สพม. เขต 42
ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1
37
3.3 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนจำแนกตำมกลุ่มสถำนศึกษำ ที่มีบริบทแตกต่ำงกัน ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน จาแนกตามกลุ่มสถานศึกษาที่มีบริบทแตกต่างกัน ในที่นี้จาแนกกลุ่มสถานศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนของกลุ่มสถำนศึกษำโครงกำรพิเศษ 2) ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนของกลุ่มสถำนศึกษำที่มีขนำดแตกต่ำงกัน 3.3.1 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนของกลุ่มสถำนศึกษำโครงกำรพิเศษ กลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษเป็นโรงเรียนที่ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเพิ่มเติมพิเศษจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานอื่น ๆ ได้แก่ โรงเรียนดี ประจาตาบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย โรงเรียนอัตราการแข่งขัน สูง โรงเรีย นเฉลิ มพระเกีย รติ โรงเรี ยนไทยรั ฐ วิทยา โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด และโรงเรียนอนุบาล ประจาอาเภอ มีผลการทดสอบดังนี้ 1) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ตำรำงที่ 14 ผลการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ของกลุ่ ม สถานศึ ก ษา โครงการพิเศษ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้ำนภำษำ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล โรงเรียนดีประจำตำบล 50.95 42.52 48.66 โรงเรียนในฝัน 51.09 41.84 48.78 โรงเรียนมำตรฐำนสำกล 59.40 49.01 57.16 โรงเรียนอัตรำกำรแข่งขันสูง/ยอดนิยม 61.26 51.18 58.77 โรงเรียนอนุบำลประจำจังหวัด 60.14 50.13 57.80 โรงเรียนอนุบำลประจำอำเภอ 53.84 44.48 51.48 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 50.70 41.55 48.56 โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์/ศึกษำสงเครำะห์ 42.09 31.42 39.60 โรงเรียนในเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกิจจังหวัด 41.59 36.25 39.65 ชำยแดนภำคใต้ สพฐ. 50.80 42.20 48.66 ประเทศ 50.74 42.17 48.60 กลุ่มสถำนศึกษำ
38
รวม 47.38 47.24 55.19 57.07 56.02 49.93 46.94 37.70 39.17 47.23 47.17
จากตารางที่ 14 ผลการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ของกลุ่ ม สถานศึกษาโครงการพิเศษในภาพรวม พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนรวมเฉลี่ยสูง สุด คือ โรงเรียนอัตรา การแข่งขันสูง/ยอดนิยม รองลงมา คือ โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนุบาล ประจาอาเภอ โรงเรียนดีประจาตาบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ /ศึกษาสงเคราะห์ (มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 57.07 56.02 55.19 49.93 47.38 47.24 46.94 39.17 และ 37.70 ตามล าดั บ ) และเมื่ อ พิ จ ารณาแยกตาม ความสามารถ ดังนี้ ความสามารถด้านภาษา พบว่า โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด และโรงเรียนมาตรฐานสากล ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 61.26 60.14 และ 59.40 ตามลาดับ) ความสามารถด้านคานวณ พบว่า โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด และโรงเรียนมาตรฐานสากล ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 51.18 50.13 และ 49.01 ตามลาดับ) ความสามารถด้านเหตุผล พบว่า โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด และโรงเรียนมาตรฐานสากล ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 58.77 57.80 และ 57.16 ตามลาดับ)
39
2) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 ตำรำงที่ 15 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษำ 48.64 31.46 50.42 48.84 32.02 51.04 58.50 48.04 59.21 60.40 51.85 60.86
ศิลปะ 43.82 44.50 52.14 53.68
กำรงำน 55.28 55.35 62.26 63.74
รวม 43.75 44.05 53.44 55.61
50.46 49.72 50.23 46.21 39.72 43.42 43.80 35.08 40.16
59.43 52.31 48.17
49.70 35.90 30.68
59.81 54.06 49.90
52.59 47.14 43.38
62.93 58.49 54.32
54.36 47.16 43.10
40.24 30.60 36.46
43.18
28.53
46.51
40.89
50.41
39.60
37.53 31.68 35.54
39.60
32.21
42.00
36.99
43.62
37.40
44.03 36.77 40.97 49.03 44.88 38.06 42.13 50.67
32.88 36.02
50.77 52.20
44.24 45.61
55.24 56.32
44.24 45.74
โรงเรียน โรงเรียนดีประจำตำบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนมำตรฐำนสำกล โรงเรียนอัตรำกำรแข่งขันสูง / ยอดนิยม โรงเรียนอนุบำลประจำจังหวัด โรงเรียนอนุบำลประจำอำเภอ โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์/ ศึกษำสงเครำะห์ โรงเรียนในเขตพัฒนำพิเศษ เฉพำะกิจจังหวัดชำยแดน ภำคใต้ คะแนนเฉลี่ย สพฐ. คะแนนเฉลี่ยประเทศ
ไทย 43.93 44.02 49.79 51.18
คณิต 35.97 35.96 48.33 51.83
วิทย์ 40.52 40.70 49.27 51.35
จากตารางที่ 15 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่ม สถานศึกษาโครงการพิเศษ พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล และโรงเรียนอนุบาล ประจ าอ าเภอ/ต าบล (คะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละเท่ า กั บ 55.61 54.36 53.44 และ 47.16 ตามล าดั บ ) เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอัตราการแข่งขัน สูง และโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด มีคะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ส่วนกลุ่มสถานศึกษาอนุบาลประจาอาเภอ/ตาบล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ
40
3) ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ตำรำงที่ 16 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ โรงเรียน โรงเรียนดีประจำตำบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนมำตรฐำนสำกล โรงเรียนจุฬำภรณ์ฯ โรงเรียนอัตรำกำรแข่งขันสูง/ ยอดนิยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์/ ศึกษำสงเครำะห์ โรงเรียนในเขตพัฒนำพิเศษ เฉพำะกิจจังหวัดชำยแดน ภำคใต้ คะแนนเฉลี่ย สพฐ. คะแนนเฉลี่ยประเทศ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ไทย 33.78 33.90 38.03 48.30 37.85
คณิต 26.98 26.91 34.46 68.01 33.59
วิทย์ สังคมฯ 35.68 45.00 36.12 44.99 43.68 50.30 67.65 62.38 43.04 50.09
อังกฤษ สุขศึกษำ 26.34 56.38 25.83 57.19 29.11 63.72 40.98 74.64 28.80 63.78
ศิลปะ 40.17 41.03 47.12 59.43 47.05
กำรงำน 43.60 43.92 49.15 60.20 48.99
รวม 38.49 38.74 44.45 60.20 44.15
35.72 29.23 39.84 33.70 27.42 35.70 32.29 25.35 33.90
47.62 45.48 43.96
25.86 26.28 25.67
60.69 56.60 55.14
44.98 41.08 38.63
46.52 43.85 41.37
41.31 38.76 37.04
31.15 26.29 32.88
41.53
26.90
47.97
36.62
37.35
35.09
35.39 29.59 38.77 46.94 35.20 29.65 38.62 46.79
27.09 27.46
59.72 59.32
43.24 43.14
45.87 45.42
40.83 40.70
จากตารางที่ 16 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่ ม สถานศึกษาโครงการพิเศษ พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ์ ร าชวิทยาลั ย โรงเรี ยนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนอัต ราการแข่ งขันสู ง และโรงเรีย น เฉลิมพระเกียรติ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60.20 44.45 44.15 และ 41.31 ตามลาดับ ) เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดั บประเทศทุกกลุ่ม สาระการเรี ย นรู้ คือ กลุ่ มสถานศึกษามาตรฐานสากล โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลั ย และโรงเรียนอัตรา การแข่งขันสูง ส่วนกลุ่มสถานศึกษาเฉลิมพระเกียรติ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะและการงานอาชีพ และเทคโนโลยี สาหรับกลุ่มสถานศึกษาอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้
41
4) ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ตำรำงที่ 17 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาโครงการพิเศษ โรงเรียน ไทย โรงเรียนดีประจำตำบล 43.97 โรงเรียนในฝัน 46.23 โรงเรียนมำตรฐำนสำกล 55.72 โรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย 69.35 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ 77.97 โรงเรียนอัตรำกำรแข่งขันสูง / 56.81 ยอดนิยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ 49.45 โรงเรียนไทยรัฐวิทยำ 40.83 โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์/ 42.78 ศึกษำสงเครำะห์ โรงเรียนในเขตพัฒนำพิเศษ 42.81 เฉพำะกิจจังหวัดชำยแดน ภำคใต้ คะแนนเฉลี่ย สพฐ. 51.41 คะแนนเฉลี่ยประเทศ 50.76
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ คณิต 16.24 17.32 25.31 48.93 73.43 25.76
วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษำ 29.32 32.62 18.19 47.42 30.04 33.64 19.16 48.85 34.86 39.35 26.10 55.37 47.33 49.67 37.06 64.45 59.63 60.07 72.30 68.41 35.18 40.04 26.90 56.12
ศิลปะ 31.95 32.69 36.60 43.13 47.67 37.15
กำรงำน 44.46 46.14 52.57 61.57 63.64 53.44
รวม 33.02 34.26 40.74 52.69 65.39 41.43
19.66 31.60 16.54 29.15 15.53 29.03
35.69 32.08 32.31
21.36 17.77 17.96
50.93 46.06 46.27
34.12 30.65 31.48
47.53 45.38 43.26
36.29 32.31 32.33
17.19 29.24
32.03
18.90
44.55
30.37
39.69
31.85
21.72 32.67 36.81 21.74 32.54 36.53
23.12 23.44
52.48 51.94
34.90 34.64
49.71 49.01
37.85 37.58
จากตารางที่ 17 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่ ม สถานศึกษาโครงการพิเศษ พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรีย นเตรี ยมอุดมศึกษา โรงเรีย นจุ ฬาภรณราชวิทยาลัย โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง และโรงเรียน มาตรฐานสากล (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 65.39 52.69 41.43 และ 40.74 ตามลาดับ) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ร้อยละในแต่ละกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ พบว่ า โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา โรงเรี ย น จุ ฬ าภรณราชวิ ท ยาลั ย โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง และโรงเรียนมาตรฐานสากล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ าระดับประเทศและระดับสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
42
3.3.2 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนของกลุ่มสถำนศึกษำที่มีขนำดแตกต่ำงกัน 3.3.2.1 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนของกลุ่มสถำนศึกษำที่มีขนำดแตกต่ำงกัน จำแนกตำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็ก (จานวนนักเรียนไม่เกิน 120 คน) โรงเรียนขนาดกลาง (จานวนนั กเรียน 121-300 คน) โรงเรียนขนาดใหญ่ (จานวนนักเรียน 301-500 คน) และโรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เศษ (จ านวนนั กเรี ยนตั้ ง แต่ 501 คนขึ้ น ไป) โดยมีร ายละเอี ยดผลการทดสอบ ดังต่อไปนี้ 1) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ตำรำงที่ 18 ผลการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ของกลุ่ ม สถานศึ ก ษา ที่มีขนาดแตกต่างกัน กลุ่มขนำดโรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สพฐ. ประเทศ
ด้ำนภำษำ 50.60 49.51 49.09 54.23 50.80 50.74
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตุผล 43.00 48.46 41.11 47.37 40.29 47.06 44.11 52.03 42.20 48.66 42.17 48.60
รวม 47.34 46.00 45.48 50.13 47.23 47.17
จากตารางที่ 18 ผลการเปรี ย บเที ย บการทดสอบระดั บ ชาติ (NT) ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ของกลุ่ มสถานศึกษาที่ มีขนาดแตกต่ างกัน โดยภาพรวม พบว่า กลุ่ มขนาดโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ ยสู งสุ ด คือ กลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รองลงมาคือ กลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง และกลุ่ ม สถานศึ ก ษาขนาดใหญ่ ตามล าดั บ (50.13 47.34 46.00 และ 45.48 ตามล าดั บ ) เมื่ อ พิ จ ารณา เป็นรายความสามารถ พบว่า ความสามารถด้ านภาษา พบว่า กลุ่ มขนาดโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ ยสู งสุ ดคือ กลุ่ มสถานศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ รองลงมาคือ กลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง และกลุ่มสถานศึกษา ขนาดใหญ่ ตามลาดับ (54.23 50.60 49.51 และ 49.09 ตามลาดับ) ความสามารถด้านคานวณ พบว่า กลุ่มขนาดโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คื อ กลุ่มสถานศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ รองลงมาคือ กลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง และกลุ่มสถานศึกษา ขนาดใหญ่ ตามลาดับ (44.11 43.00 41.11 และ 40.29 ตามลาดับ) ความสามารถด้า นเหตุ พบว่ า กลุ่ ม ขนาดโรงเรีย นที่มี ค ะแนนเฉลี่ ยสู ง สุ ด คือ กลุ่ มสถานศึก ษา ขนาดใหญ่พิเศษ รองลงมาคือ กลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง และกลุ่มสถานศึกษา ขนาดใหญ่ ตามลาดับ (52.03 48.46 47.37 และ 47.06 ตามลาดับ) 43
แผนภูมิที่ 20 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2557 ของกลุ่มสถานศึกษา ที่มีขนาดแตกต่างกัน 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00
ด้านภาษา
ด้านคานวณ
ขนาดใหญ่พิเศษ
ขนาดใหญ่
ด้านเหตุผล ขนาดกลาง
ขนาดเล็ก
รวม สพฐ.
ประเทศ
2) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 ตำรำงที่ 19 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน โรงเรียน โรงเรียนขนำดเล็ก โรงเรียนขนำดกลำง โรงเรียนขนำดใหญ่ โรงเรียนขนำดใหญ่พิเศษ คะแนนเฉลี่ย สพฐ.
คะแนนเฉลี่ยประเทศ
ไทย
คณิต
43.65 36.09 43.10 34.92 46.34 40.53 49.68 48.44 44.03 36.77 44.88 38.06
วิทย์
40.38 39.72 43.81 49.64 40.97 42.13
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษำ
ศิลปะ
กำรงำน
รวม
48.30 31.38 47.55 31.42 52.90 37.82 58.68 48.37 49.03 32.88 50.67 36.02
43.49 43.22 47.73 51.95 44.24 45.61
54.86 53.91 58.23 62.10 55.24 56.32
43.50 42.96 47.74 53.51 44.24 45.74
49.85 49.83 54.56 59.24 50.77 52.20
จากตารางที่ 19 ผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ในระดั บ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยภาพรวม ตามขนาดของกลุ่มสถานศึกษา พบว่า กลุ่มสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือกลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ และกลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ ากับ 53.51 44
และ 47.74 ตามลาดับ) ส่วนกลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก และกลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง มีคะแนนเฉลี่ยรวม ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 43.50 และ 42.96 ตามลาดับ) เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่ม สาระการเรียนรู้แล้ว พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ และโรงเรียน ขนาดใหญ่ มีคะแนนเฉลี่ ยสู งกว่าระดั บ ประเทศทุกกลุ่ มสาระการเรียนรู้ ส่ว นกลุ่ มสถานศึกษาขนาดอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 49.68 46.34 43.65 และ 43.10 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 48.44 40.53 36.09 และ 34.92 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 49.64 43.81 40.38 และ 39.72 ตามลาดับ) กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒ นธรรม พบว่า กลุ่ ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรี ยนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 58.68 52.90 48.30 และ 47.55 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่มีพิเศษคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ย ร้อยละเท่ากับ 48.37 37.82 31.42 และ 31.38 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พบว่ากลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อย ละสู ง สุ ด รองลงมาเป็ น โรงเรี ย นขนาดใหญ่ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก และโรงเรี ย นขนาดกลาง ตามล าดั บ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 59.24 54.56 49.85 และ 49.83 ตามลาดับ) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ศิ ล ปะ พบว่ า กลุ่ ม โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง สุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 51.95 47.73 43.49 และ 43.22 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 62.10 58.23 54.86 และ 53.91 ตามลาดับ)
45
แผนภูมิที่ 21 แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน ( O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 45.74
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
53.51
โรงเรียนขนาดใหญ่
47.74
โรงเรียนขนาดกลาง
42.96
โรงเรียนขนาดเล็ก
43.5 0
10
20
30
40
50
60
3) ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ตำรำงที่ 20 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดของโรงเรียนแตกต่างกัน โรงเรียน
ไทย โรงเรียนขนาดเล็ก 33.43 โรงเรียนขนาดกลาง 33.68 โรงเรียนขนาดใหญ่ 34.48 โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ 38.09 คะแนนเฉลี่ย สพฐ. 35.39 คะแนนเฉลี่ยประเทศ 35.20
คณิต 26.72 26.82 27.63 34.10 29.59 29.65
วิทย์ 35.50 35.76 37.10 43.52 38.77 38.62
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษำฯ 44.64 26.19 56.17 44.69 25.95 56.74 45.65 25.68 59.12 50.44 29.13 64.00 46.94 27.09 59.72 46.79 27.46 59.32
46
ศิลปะ 39.73 40.61 42.48 47.28 43.24 43.14
กำรงำน 43.23 43.54 44.95 49.41 45.87 45.42
รวม 38.20 38.47 39.64 44.50 40.83 40.70
จากตารางที่ 20 ผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ในระดั บ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่ มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาคะแนนคะแนนเฉลี่ยร้อยละ โดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่ ม สถานศึ ก ษา พบว่ า โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ โดยภาพรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ เพียงขนาดเดียว ส่วนกลุ่ม โรงเรียนขนาดอื่นมีคะแนน เฉลี่ ย ร้ อยละโดยภาพรวมต่ากว่าคะแนนเฉลี่ ยร้อยละระดับประเทศทุกขนาด เมื่อเรียงล าดับตามคะแนน เฉลี่ยร้อยละ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 44.50 39.64 38.47 และ 38.20 ตามลาดับ) เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ ทุ ก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ส่ ว นโรงเรี ย นขนาดอื่ น ๆ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ ากว่ า คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 38.09 34.48 33.68 และ 33.43 ตามลาดับ) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ คณิ ตศาสตร์ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ พิ เศษมีค ะแนนเฉลี่ ย ร้อยละสู งสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 34.10 27.63 26.82 และ 26.72 ตามลาดับ) กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ พิเศษมีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละสู งสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 43.52 37.10 35.76 และ 35.50 ตามลาดับ) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม พบว่ า โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 50.44 45.65 44.69 และ 44.64 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ ยร้อยละ เท่ากับ 29.13 26.19 25.95 และ 25.68 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ เท่ากับ 64.00 59.12 56.74 และ 56.17 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 47.28 42.48 40.61 และ 39.73 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อย ละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนน เฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 49.41 44.95 43.54 และ 43.23 ตามลาดับ)
47
แผนภูมิที่ 22 แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐา น (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 40.70
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
44.50
โงเรียนขนาดใหญ่
39.64
โรงรียนขนาดกลาง
38.47
โรงเรียนขนาดเล็ก
38.20 35
36
37
38
39
48
40
41
42
43
44
45
4) ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ตำรำงที่ 21 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน โรงเรียน
โรงเรียนขนำดเล็ก โรงเรียนขนำดกลำง โรงเรียนขนำดใหญ่ โรงเรียนขนำดใหญ่พิเศษ คะแนนเฉลี่ย สพฐ. คะแนนเฉลี่ยประเทศ
ไทย
คณิต
43.48 45.67 48.49 56.00 51.41 50.76
16.18 17.38 18.58 25.57 21.72 21.74
วิทย์
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สังคมฯ อังกฤษ สุข ศึกษำ
29.18 32.37 29.99 33.46 30.94 34.82 34.97 39.61 32.67 36.81 32.54 36.53
18.10 19.06 20.45 26.59 23.12 23.44
ศิลปะ
กำรงำน
รวม
47.09 31.67 48.52 32.59 50.57 33.65 55.59 36.79 52.48 34.90 51.94 34.64
43.98 45.83 47.89 52.78 49.71 49.01
32.76 34.06 35.67 40.99 37.85 37.58
จากตารางที่ 21 ผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ในระดั บ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาคะแนนคะแนนเฉลี่ ยร้อยละ โดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่ม โรงเรียน พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศเพียงขนาดเดียว ส่วนกลุ่มของโรงเรียนขนาดอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยภาพรวม ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ เมื่อเรียงลาดับตามคะแนนเฉลี่ยร้อยละ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง สุ ด รองลงมาเป็ น กลุ่ ม โรงเรี ย นขนาดใหญ่ กลุ่ ม โรงเรี ย นขนาดกลาง กลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 40.99 35.67 34.06 และ 32.76 ตามลาดับ) เมื่อพิจารณาแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้แล้ว พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดั บประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนกลุ่มสถานศึกษาอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมี คะแนนเฉลี่ยร้ อยละสูงสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 56.00 48.49 45.67 และ 43.48 ตามลาดับ) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ พบว่ า กลุ่ ม โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ สู ง สุ ด รองลงมาเป็ น โรงเรี ย นขนาดใหญ่ โรงเรี ย นขนาดกลาง และโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ตามล าดั บ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 25.57 18.58 17.38 และ 16.18 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 34.97 30.94 29.99 และ 29.18 ตามลาดับ) กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒ นธรรม พบว่า กลุ่ ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 39.61 34.82 33.46 และ 32.37 ตามลาดับ) 49
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ พบว่ากลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สู ง สุ ด รองลงมาเป็ น โรงเรี ย นขนาดใหญ่ โรงเรี ย นขนาดกลาง และโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ตามล าดั บ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 26.59 20.45 19.06 และ 18.10 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุ ขศึก ษาและพลศึกษา พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมี คะแนนเฉลี่ ย ร้อ ยละสู ง สุ ด รองลงมาเป็ น โรงเรี ย นขนาดใหญ่ โรงเรี ย นขนาดกลาง และโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ตามล าดั บ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 55.59 50.57 48.52 และ 47.09 ตามลาดับ) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ศิ ล ปะ พบว่ า กลุ่ ม โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง สุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ เท่ากับ 36.79 33.65 32.59 และ 31.67 ตามลาดับ) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี พบว่า กลุ่ม โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมี คะแนน เฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 52.78 47.89 45.83 และ 43.98 ตามลาดับ) แผนภูมิที่ 23 แสดงการเปรี ย บเที ย บผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 37.58
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
40.99
โงเรียนขนาดใหญ่
35.67
โรงรียนขนาดกลาง
34.06
โรงเรียนขนาดเล็ก
32.76 0
5
10
15
20
50
25
30
35
40
45
3.3.2.2 กำรเปรี ยบเที ยบผลกำรประเมิ นคุ ณภำพผู้ เรี ยนของกลุ่ มสถำนศึ กษำที่ มี ขนำดแตกต่ ำงกั น ปีกำรศึกษำ 2557 กับ 2556 ตำรำงที่ 22 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของกลุ่มสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน ชั้น
ขนำด สถำนศึกษำ* ป.3 เล็ก กลำง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ ค่ำเฉลี่ย สพฐ. ค่ำเฉลี่ยประเทศ
2557 50.60 49.51 49.09 54.23 50.80 50.74
ด้ำนภำษำ 2556 ผลต่ำง 50.30 0.30 49.52 -0.01 49.50 -0.41 53.16 1.07 50.42 0.38 50.62 0.12
ด้ำนคิดคำนวณ 2557 2556 ผลต่ำง 43.00 36.99 6.01 41.11 36.16 4.95 40.29 35.36 4.93 44.11 38.06 6.05 42.20 36.64 5.56 42.17 36.70 5.47
ด้ำนเหตุผล 2557 2556 ผลต่ำง 48.46 45.37 3.09 47.37 44.31 3.06 47.06 44.10 2.96 52.03 47.43 4.60 48.66 45.20 3.46 48.60 45.30 3.30
2557 47.34 46.00 45.48 50.13 47.23 47.17
รวม 2556 ผลต่ำง 44.22 3.12 43.33 2.67 42.99 2.49 46.22 3.91 44.11 3.12 44.19 2.98
จากตารางที่ 22 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี ก ารศึ ก ษา 2557 กั บ 2556 ของกลุ่ ม สถานศึ ก ษาที่ มี ข นาดต่ า งกั น พบว่ า กลุ่ ม สถานศึ ก ษาขนาดเล็ ก ความสามารถด้ า นค านวณ มี ผ ลต่ า งของคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น มากที่ สุ ด (ร้ อ ยละ 6.01) รองลงมา คือ ความสามารถด้านเหตุผล (ร้อยละ 3.09) และความสามารถด้านภาษา (ร้อยละ 0.30) ตามลาดับ กลุ่ ม สถานศึ ก ษาขนาดกลาง ความสามารถด้ า นค านวณ มี ผ ลต่ า งของค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น มากที่สุด (ร้อยละ 4.95) รองลงมา คือ ความสามารถด้านเหตุผล (ร้อยละ 3.06) และความสามารถด้านภาษา มีผลต่างของค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง (ร้อยละ -0.01) ตามลาดับ กลุ่ ม สถานศึ ก ษาขนาดใหญ่ ความสามารถด้ า นค านวณ มี ผ ลต่ า งของค่ า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น มากที่สุด (ร้อยละ 4.93) รองลงมา คือ ความสามารถด้านเหตุผล (ร้อยละ 2.96) และความสามารถด้านภาษา มีผลต่างของค่าคะแนนเฉลี่ยลดลง (ร้อยละ -0.41) ตามลาดับ กลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ความสามารถด้านคานวณ มีผลต่างของค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมาก ที่สุด (ร้อยละ 6.05) รองลงมา คือ ความสามารถด้านเหตุผล (ร้อยละ 4.60) และความสามารถด้านภาษา (ร้อยละ 1.07) ตามลาดับ
51
ตำรำงที่ 23 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละขนาด ชั้น
ป.6
ม.3
ม.6
ขนำด สถำนศึกษำ* เล็ก กลำง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ ค่ำเฉลี่ย สพฐ. ค่ำเฉลี่ย ประเทศ เล็ก กลำง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ ค่ำเฉลี่ย สพฐ. ค่ำเฉลี่ย ประเทศ เล็ก กลำง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ ค่ำเฉลี่ย สพฐ. ค่ำเฉลี่ย ประเทศ
2557 43.65 43.10 46.34 49.68
ภำษำไทย 2556 42.99 42.53 46.70 51.93
ผลต่ำง 0.66 0.57 -0.36 -2.25
2557 36.09 34.92 40.53 48.44
คณิตศำสตร์ 2556 ผลต่ำง 39.11 -3.02 37.68 -2.76 44.37 -3.84 54.38 -5.94
44.03
43.62
0.41
36.77
39.87
-3.10
40.97
36.30
4.67
49.03
37.14
11.89
32.88
31.42
44.88
45.02
-0.14
38.06
41.95
-3.89
42.13
37.40
4.73
50.67
38.31
12.36
36.02
33.43 33.68 34.48 38.09
40.82 41.63 43.45 48.94
-7.39 -7.95 -8.97 -10.85
26.72 26.82 27.63 34.10
23.62 23.66 23.84 28.53
3.10 3.16 3.79 5.57
35.50 35.76 37.10 43.52
35.77 35.75 36.33 41.91
-0.27 0.01 0.77 1.61
44.64 44.69 45.65 50.44
36.83 37.01 38.15 43.48
7.81 7.68 7.50 6.96
35.39
44.43
-9.04
29.59
25.41
4.18
38.77
38.04
0.73
46.94
39.48
35.20
44.25
-9.05
29.65
25.45
4.20
38.62
37.95
0.67
46.79
43.48 45.67 48.49 56.00
41.39 43.64 46.56 54.80
2.09 2.03 1.93 1.20
16.18 17.38 18.58 25.57
15.80 16.84 17.60 23.80
0.38 0.54 0.98 1.77
29.18 29.99 30.94 34.97
27.52 28.15 28.91 32.69
1.66 1.84 2.03 2.28
51.41
49.87
1.54
21.72
20.43
1.29
32.67
30.60
50.76
49.26
1.50
21.74
20.48
1.26
32.54
30.48
2557 40.38 39.72 43.81 49.64
วิทยำศำสตร์ 2556 ผลต่ำง 35.64 4.74 35.38 4.34 39.10 4.71 44.43 5.21
2557 49.85 49.83 54.56 59.24
สุขศึกษำ 2556 58.87 58.35 64.33 69.43
ผลต่ำง -9.02 -8.52 -9.77 -10.19
2557 43.49 43.22 47.73 51.95
ศิลปะ 2556 45.10 44.83 49.16 53.26
ผลต่ำง -1.61 -1.61 -1.43 -1.31
2557 54.86 53.91 58.23 62.10
กำรงำน 2556 ผลต่ำง 50.86 4.00 50.32 3.59 55.56 2.67 60.74 1.36
1.46
50.77
59.71
-8.94
44.24
45.78
-1.54
55.24
51.59
3.65
33.82
2.20
52.20
61.69
-9.49
45.61
47.14
-1.53
56.32
53.16
3.16
26.19 25.95 25.68 29.13
28.47 28.27 28.35 33.02
-2.28 -2.32 -2.67 -3.89
56.17 56.74 59.12 64.00
56.13 56.68 58.16 61.91
0.04 0.06 0.96 2.09
39.73 40.61 42.48 47.28
41.85 42.33 43.20 46.44
-2.12 -1.72 -0.72 0.84
43.23 43.54 44.95 49.41
41.22 42.04 43.83 49.31
2.01 1.5 1.12 0.1
7.46
27.09
29.99
-2.90
59.72
58.72
1.00
43.24
43.88
-0.64
45.87
44.82
1.05
39.37
7.42
27.46
30.35
-2.89
59.32
58.3
1.02
43.14
43.65
-0.51
45.42
44.46
0.96
32.37 33.46 34.82 39.61
29.17 30.12 31.30 35.73
3.20 3.34 3.52 3.88
18.10 19.06 20.45 26.59
19.31 20.34 21.90 29.01
-1.21 -1.28 -1.45 -2.42
47.09 48.52 50.57 55.59
56.23 58.24 60.56 65.69
-9.14 -9.72 -9.99 -10.1
31.67 32.59 33.65 36.79
25.80 26.66 27.83 31.15
5.87 5.93 5.82 5.64
43.98 45.83 47.89 52.78
44.94 46.85 48.88 53.71
-0.96 -1.02 -0.99 -0.93
2.07
36.81
33.19
3.62
23.12
25.05
-1.93
52.48
62.46
-9.98
34.90
29.17
5.73
49.71
50.71
-1.00
2.06
36.53
33.02
3.51
23.44
25.35
-1.91
51.94
62.03
-10.09
34.64
29.00
5.64
49.01
49.98
-0.97
2557 48.30 47.55 52.90 58.68
สังคมศึกษำ 2556 ผลต่ำง 36.64 11.66 36.20 11.35 39.69 13.21 43.97 14.71
2557 31.38 31.42 37.82 48.37
ภำษำอังกฤษ 2556 ผลต่ำง 30.51 0.87 30.28 1.14 34.57 3.25 42.92 5.45
หมำยเหตุ * ขนาดสถานศึกษาจาแนกตามเกณฑ์ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ได้ดังต่อไปนี้ สถานศึกษาที่มีขนาดเล็ก มีจานวนนักเรียนไม่เกิน 120 คน ขนาดกลาง มีจานวนนักเรียนอยูร่ ะหว่าง 121 - 300 คน ขนาดใหญ่ มีจานวนนักเรียนอยูร่ ะหว่าง 301 - 500 คน ขนาดใหญ่พิเศษ มีจานวนนักเรียนตั้งแต่ 501 คนขึ้นไป
52
จากตารางที่ 23 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละขนาด พิจารณาแยกตาม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ดังนี้ ระดับ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า กลุ่ มสถานศึกษาขนาดเล็ กและกลุ่ มสถานศึกษาขนาดกลาง มีผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้นสูงสุด จานวน 5 วิชา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี รองลงมาเป็นกลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่และกลุ่มสถานศึกษาขนาดใหญ่พิ เศษ ที่มีผล การเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้นจานวน 4 วิช า ได้แ ก่ กลุ่ มสาระ การเรี ย นรู้ วิท ยาศาสตร์ กลุ่ มสาระการเรีย นรู้สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒ นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า กลุ่ ม สถานศึ ก ษาขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ผ ลการเปรี ย บเที ย บผล การทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้นสูงสุดจานวน 6 วิชา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รองลงมาเป็ นกลุ่ ม สถานศึกษาขนาดกลางและกลุ่ มสถานศึ กษาขนาดใหญ่ มีผ ลการเปรี ย บเทีย บผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้น จานวน 5 วิชา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุ่มสถานศึกษาขนาดเล็ก มีผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้นจานวน 4 วิชา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และกลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ทุกกลุ่มสถานศึกษามีผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2557 กับ 2556 เพิ่มขึ้นจานวน 5 วิชา ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
53
บทที่ 4 สรุปและอภิปรำยผล 4.1 สรุปผลกำรประเมิน จากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในสั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ประจาปีการศึกษา 2557 ขอนาเสนอสรุปผลการประเมินออกเป็น 3 ส่ วน คือ 1) ผลการประเมินคุณภาพ ผู้ เ รี ย นในระดั บ ประเทศ 2) ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในระดั บ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และ 3) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนจาแนกตามกลุ่มสถานศึกษาที่มีบริบทแตกต่างกัน 4.1.1 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับประเทศ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศจาแนกตามระดับชั้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละอยู่ ร ะหว่ า ง 42.20 - 50.80 โดยความสามารถด้านภาษามีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (ร้อยละ 50.80) รองลงมาคือความสามารถด้านเหตุผล และความสามารถด้านคานวณ ตามลาดับ (ร้อยละ 48.66 และ 42.20 ตามลาดับ) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ ผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียนปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ความสามารถพื้นฐาน ทั้ง 3 ด้านมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 พบว่ า ในแต่ ล ะกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ อยู่ระหว่าง 36.77 – 55.24 โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมา คือ กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา กลุ่ มสาระการเรีย นรู้สั งคมศึกษาฯ กลุ่ มสาระ การเรี ย นรู้ศิล ปะ กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่ มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และกลุ่ มสาระการเรีย นรู้ ภ าษาต่างประเทศ ตามล าดับ และเมื่อเปรียบเทียบผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียนปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า ไม่มีกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละอยู่ระหว่าง 27.09 – 59.72 โดยกลุ่มสาระ การเรียนรู้สุ ขศึกษาและพลศึกษา มีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละสู งสุ ด รองลงมา คื อ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษาฯ กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่ มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ กลุ่ มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ คณิตศาสตร์ กลุ่ มสาระการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า มีเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงกว่าระดับประเทศ ระดับ ชั้นมัธ ยมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า ในแต่ล ะกลุ่ มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ ยร้ อยละอยู่ระหว่าง 21.72 – 52.48 โดยกลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ สุ ขศึ กษาและพลศึ ก ษา มี คะแนนเฉลี่ ยร้ อ ยละสู งสุ ด รองลงมา คือ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ตศาสตร์ ตามล าดั บ และเมื่อเปรียบเทียบผลการประเมิ นผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยน ของผู้ เรี ยนปี การศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ระหว่ างสั งกั ดส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษา ขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ วิ ทยาศาสตร์ มี คะแนนเฉลี่ ย ร้อ ยละสู ง กว่า ระดั บ ประเทศ ส่ ว นกลุ่ มสาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าระดับประเทศ 4.1.2 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา จ าแนกตามระดั บ ชั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่ า ส านั ก งานเขตพื้น ที่การศึกษาส่ ว นใหญ่มีค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละต่ ากว่ า ระดั บ ประเทศทุ ก ด้ า นจ านวน 75 เขต (คิดเป็นร้อยละ 40.11) รองลงมา คือ สูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับประเทศทุกด้าน จานวน 74 เขต (ร้อยละ 39.57) และสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศบางด้าน จานวน 38 เขต (ร้อยละ 20.32) ตามลาดับ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ สูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 81 เขต (ร้อยละ 44.02) รองลงมาคือ สูงกว่า หรือเท่ากับระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ จานวน 52 เขต (ร้อยละ 28.26) และต่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ จานวน 51 เขต (ร้อยละ 27.72) ตามลาดับ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าระดับ ประเทศทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 145 เขต (ร้อยละ 64.73) รองลงมาคือ สูงกว่าหรือ เท่ ากั บ ระดั บ ประเทศบางกลุ่ มสาระการเรี ย นรู้ จ านวน 61 เขต (ร้ อยละ 27.23) และสู ง กว่ า หรื อเท่า กั บ ระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ จานวน 18 เขต (ร้อยละ 8.04) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 57 เขต (ร้อยละ 67.06) รองลงมา คือ สูงกว่าหรือเท่ากับ 56
ระดับประเทศบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 16 เขต (ร้อยละ 18.82) และสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระ จานวน 12 เขต (ร้อยละ 14.12) ตามลาดับ 4.1.3 ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนจำแนกตำมกลุ่มสถำนศึกษำที่มีบริบทแตกต่ำงกัน ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นจ าแนกตามกลุ่ ม สถานศึ ก ษาที มี บ ริ บ ทแตกต่ า งกั น จ าแนกกลุ่ ม สถานศึกษาออกเป็น 3 กลุ่มคือ 1) กลุ่มโรงเรียนโครงการพิเศษ 2) กลุ่มโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) กลุ่มโรงเรียนโครงกำรพิเศษ กลุ่ ม โรงเรี ย นโครงการพิเ ศษในการสรุ ปผลการทดสอบครั้ ง นี้ ได้แก่ โรงเรี ย นดีป ระจ าตาบล โรงเรี ย นในฝั น โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรี ย นจุ ฬ าภ รณราช วิ ท ยาลั ย โรงเรี ย นอั ต ราการแข่ ง ขั น สู ง โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนอนุบาล ประจาอาเภอ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ /ศึกษา สงเคราะห์และโรงเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่ มโรงเรียนโครงการพิเศษ ในภาพรวม พบว่ากลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง /ยอดนิยม โรงเรียนอนุบาล ประจาจังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอ โรงเรียนดีประจาตาบล และโรงเรียนใน ฝั น (ร้ อ ยละ 57.07 56.02 55.19 49.93 47.38 47.24 ตามล าดั บ) และกลุ่ ม โรงเรีย นที่มี คะแนนเฉลี่ ย รวม ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และโรงเรี ย นราชประชานุ เ คราะห์ /ศึ ก ษาสงเคราะห์ (ร้ อ ยละ 46.94 39.17 และ 37.70 ตามล าดั บ ) และเมื่ อ พิ จ ารณาแยกตาม ความสามารถ พบว่า ความสามารถด้านภาษา กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูง กว่าคะแนนเฉลี่ ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสู ง/ยอดนิยม โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนุบาลประจา อาเภอ โรงเรียนในฝัน และโรงเรียนดีประจาตาบล ตามลาดับ ความสามารถ ด้านคานวณ กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียน อนุบาลประจาอาเภอและโรงเรียนดีประจาตาบล ตามลาดับ ความสามารถด้านเหตุผล กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนน เฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือโรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม โรงเรียนอนุบาลประจา จังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอ โรงเรียนในฝัน และโรงเรียนดีประจาตาบล ตามลาดับและกลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถทั้ง 3 ด้านสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง/ยอดนิยม โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนอนุบาล ประจ าอาเภอ และโรงเรี ย นดีป ระจ าตาบล ตามล าดับ กลุ่ มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ ยความสามารถทั้ง 3 ด้านต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และโรงเรียนราชประชานุเคราะห์/ศึกษาสงเคราะห์ 57
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่ มโรงเรียนโครงการพิเศษ ในภาพรวม พบว่า กลุ่ มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสู งกว่าคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง โรงเรียนอนุบาล ประจาจั งหวัด โรงเรียนมาตรฐานสากล และโรงเรียนอนุบาลประจา อาเภอ/ตาบล (ร้อยละ 55.61 54.36 53.44 และ 47.16 ตามลาดับ ) เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าโรงเรียน มาตรฐานสากลโรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง และโรงเรียนอนุบาลประจา จั ง หวัด มีค ะแนนเฉลี่ ยทุ ก กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ สู ง กว่า คะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศส่วนกลุ่มโรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอ/ตาบล มีคะแนน เฉลี่ ย สู ง กว่ า ระดั บ ประเทศเป็ น ส่ ว นใหญ่ ยกเว้ น กลุ่ มสาระการเรีย นรู้ ภ าษาต่ างประเทศ (ภาษาอัง กฤษ) ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ ระดั บ ชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ของกลุ่ มโรงเรี ยนโครงการพิ เ ศษในภาพรวม พบว่า กลุ่ ม โรงเรี ย น ที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ คื อ โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณราชวิ ท ยาลั ย โรงเรี ย น มาตรฐานสากล โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง และโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ (ร้อยละ 60.20 44.45 44.15 และ 41.31 ตามลาดับ) เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่ า กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ กลุ่มโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนจุฬาภรณ ราชวิทยาลั ย และโรงเรี ย นอัตราการแข่งขัน สู ง ส่ ว นกลุ่ มโรงเรียนเฉลิ มพระเกียรติ มีคะแนนเฉลี่ ยสู งกว่า ระดับประเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและ พลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับกลุ่มโรงเรียนอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มโรงเรียนโครงการพิเศษในภาพรวม พบว่า กลุ่ มโรงเรียนที่มี คะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ คื อ โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ ราชวิทยาลัย โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง และโรงเรียนมาตรฐานสากล (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 65.39 52.69 41.43 และ 40.74 ตามลาดับ ) เมื่อเปรี ยบเทีย บคะแนนเฉลี่ยร้อยละในแต่ละกลุ่ มสาระการเรียนรู้ พบว่า โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ ราช วิ ท ยาลั ย โรงเรี ย นอั ต ราการแข่ ง ขั น สู ง และโรงเรียนมาตรฐานสากล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ า ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ร ะ ดั บ สั ง กั ด ส า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึก ษาขั้ น พื้ น ฐานทุก กลุ่ มสาระ การเรียนรู้
58
2) กลุ่มโรงเรียนที่มีขนำดแตกต่ำงกัน กลุ่มโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน ได้แก่ โรงเรียน ขนาดเล็ ก (จ านวนนั ก เรี ย นไม่ เ กิ น 120 คน) โรงเรี ย น ขนาดกลาง (จ านวนนั ก เรี ย น 121 - 300 คน) โรงเรี ย น ที่มีขนาดใหญ่ (จานวนนักเรียน 301 - 500 คน) และโรงเรียน ที่มีขนาดใหญ่พิเศษ (จานวนนักเรียนตั้งแต่ 501 คนขึ้นไป) โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มโรงเรียนที่มี ขนาดแตกต่ า งกั น เมื่ อ พิ จ ารณาคะแนนค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละ โดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่มโรงเรียน พบว่า กลุ่มโรงเรียน ที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ คือกลุ่มโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ และกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก (ร้อยละ 50.13 และ47.34 ตามลาดับ) ส่วนกลุ่มโรงเรียนขนาดกลาง และกลุ่มโรงเรียนขนาดใหญ่ มีคะแนน เฉลี่ยรวมต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (ร้อยละ 46.00 และ 45.48 ตามลาดับ) และเมื่อพิจารณาแยกตาม ความสามารถ พบว่า กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถทั้ง 3 ด้าน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ส่วนกลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถทั้ง 3 ด้านต่ากว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ คือโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันเมื่อพิจารณาคะแนนค่าเฉลี่ย ร้อยละโดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่มโรงเรียน พบว่า กลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ คือกลุ่มโรงเรี ยนขนาดใหญ่พิเศษ และกลุ่ มโรงเรียนขนาดใหญ่ (ร้อยละ 53.51 และ47.74 ตามลาดับ) ส่วนกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก และกลุ่มโรงเรียนขนาดกลาง มีคะแนนเฉลี่ ยรวมต่ากว่าคะแนนเฉลี่ย ระดับ ประเทศ (ร้ อยละ 43.50 และ 42.96 ตามล าดับ) โดยกลุ่ มโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ และโรงเรียน ขนาดใหญ่ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนกลุ่มโรงเรียนขนาดอื่น ๆ มีคะแนน เฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ของกลุ่มโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาคะแนนค่าเฉลี่ ย ร้อยละโดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่มโรงเรียน พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ โดยภาพรวมสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละ ระดับประเทศเพียงขนาดเดียว ส่วนกลุ่มโรงเรียนขนาด อื่น มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยภาพรวมต่ากว่าคะแนน เฉลี่ ยร้ อยละระดับ ประเทศทุกขนาด เมื่อเรียงล าดับ ตามคะแนนเฉลี่ ยร้ อยละ พบว่า โรงเรีย นขนาดใหญ่ พิ เ ศษมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง สุ ด รองลงมาเป็ น โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียน ขนาดเล็ ก ตามล าดั บ (คะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละเท่ า กั บ 44.50 39.64 38.47 และ 38.20 ตามลาดับ) 59
เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนโรงเรียนขนาดอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาคะแนนค่าเฉลี่ยร้อยละ โดยภาพรวมตามขนาดของกลุ่มโรงเรียน พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศเพียงขนาดเดียว ส่วนกลุ่มของโรงเรียนขนาดอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยภาพรวมต่า กว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ เมื่อเรียงลาดับตามคะแนนเฉลี่ยร้อยละ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นกลุ่มโรงเรียนขนาดใหญ่ กลุ่มโรงเรียนขนาดกลาง กลุ่มโรงเรียนขนาด เล็ก ตามลาดับ (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 40.99 35.67 34.06 และ 32.76 ตามลาดับ) เมื่อเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ ยในแต่ล ะกลุ่ มสาระการเรียนรู้ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดั บประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนกลุ่มโรงเรียนอื่น ๆ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกลุ่มสาระการเรียนรู้
60
4.2 อภิปรำยผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนระดับชำติ จากผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2557 พบประเด็น ที่สามารถนาเสนอการอภิปรายผล 3 หัวข้อ คือ 1) อภิปรายผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับประเทศ 2) อภิ ป รายผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในระดั บ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และ 3) อภิ ป รายผล การประเมินคุณภาพผู้เรียนในกลุ่มโรงเรียนที่มีบริบทแตกต่างกัน โดยมีการอภิปรายผลดังต่อไปนี้ 4.2.1 อภิปรำยผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับประเทศ จากผลการเปรี ยบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ความสามารถพื้ น ฐานโดยรวมมีค ะแนนเฉลี่ ยร้ อ ยละสู ง กว่า ปี ที่ผ่ า นมาร้อ ยละ 3.12 เมื่ อพิ จ ารณา เป็น รายด้านยังพบว่า ความสามารถด้านคานวณ ความสามารถด้านเหตุผล และความสามารถด้านภาษา มี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง กว่ า ปี ที่ ผ่ า นมาร้ อ ยละ 5.50, 3.46 และ 0.38 ตามล าดั บ ทั้ ง นี้ อ าจเนื่ อ งมาจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาได้ให้ความสาคัญ กั บ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นมากขึ้ น ครู ผู้ ส อนเริ่ ม มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ และการวัดผลประเมินผลจากเดิมที่ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาเป็นประเมินความสามารถพื้นฐาน ที่จาเป็ นทั้ง 3 ด้าน รวมทั้งมีตัวอย่างข้อสอบในปีการศึกษาที่ผ่านมาให้ ครูได้นาไปเป็นต้นแบบในการสร้าง เครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียนในชั้นเรียนอีกด้วย นอกจากนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังได้กาหนดจุดมุ่งหมายในการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากลให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และยังได้จัดทาโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย มีกิจกรรม โครงการเร่งรัดคุณภาพการอ่านรู้เรื่องและการสื่อสารได้ มีการคัดกรองการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 พัฒนาสื่อการเรียนรู้ภาษาไทย หนังสือแบบเรียนเร็ว หนังสืออ่านเพิ่มเติม และหนังสือเสริมการเรียนรู้ การจัด ท าแบบฝึ กการอ่า นตามแนวการประเมิ น ผล นานาชาติ (PISA) อี ก ทั้ ง ได้ จั ด สรรงบประมาณ ให้ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ที่ มี ผ ลการประเมิ น ต่ ากว่ า ระดับประเทศไปดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการ และยังได้จัดสรรรางวัลสาหรับสานักงาน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาที่ มี ผ ลประเมิ น 10 อั น ดั บ แรก เพื่อเป็นขวัญและกาลั งใจส าหรับส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบ ทางการระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ระหว่ า งปี ก ารศึ ก ษา 2557 61
กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ และการงานอาชีพและเทคโนโลยีมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละสูงกว่าปีการศึกษาที่ ผ่านมา ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดสรรงบประมาณให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อจัดทาโครงการยกระดับผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน สถานศึกษา มีการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มี ก ารทดสอบ Pre O-NET ที่ จั ด ท าโดยส านั ก ทดสอบทางการศึ ก ษาก่ อ นท าการทดสอบจริ ง ท าให้ เ ด็ ก ได้ รู้ แ นวข้ อ สอบและรู ป แบบของข้ อ สอบส่ ว นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ศิ ล ปะ และสุ ข ศึ ก ษา และพลศึกษามีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละต่ากว่าปีการศึกษาที่ ผ่านมา ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากการที่สถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้กาหนดแนวปฏิบัติการบริหารการทดสอบ O-NET ใน 2 ประเด็น คือ ประเด็นที่ 1 การจัดสนามสอบ โดยกาหนดให้มีการรวมกลุ่มโรงเรียนในอาเภอหรือกลุ่มเครือข่ายเดียวกัน มาสอบที่สนามสอบเดียวกัน ซึ่งต้องมีการขนส่งนักเรียนจากโรงเรียนไปยังสนามสอบ ซึ่งบางแห่งมีระยะทาง ห่ างไกลมากนั กเรี ย นต้องตื่น แต่เช้า เพื่อเดิน ทางมายังสนามสอบ อาจทาให้ นักเรียนเกิดความเหนื่อยล้ า จากการเดินทาง และส่งผลให้ทาข้อสอบได้ไม่เต็มตามความสามารถของนักเรียน ประเด็นที่ 2 การจัดตาราง สอบ O-NETของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะสอบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภายใน 1 วัน จึงทาให้เด็ก เกิดความเครียดและเหนื่อยล้าในการสอบ นอกจากนี้ การจัดการเรียน การสอนของครูไม่ได้เน้นตามมาตรฐาน ตั ว ชี้ วั ด แต่ ใ ช้ ก ารสอนโดยใช้ เ นื้ อ หาเป็ น ฐาน ( Content Based Learning) ในขณะที่ ข้ อ สอบ O-NET เป็ น ข้ อ สอบอิ ง มาตรฐาน (Standard Based) จึ ง ท าให้ ก ารสอนไม่ ค รอบคลุ ม มาตรฐานการเรี ย นรู้ หรืออาจจะสอนในเนื้อหามากเกินไปจนทาให้สอนไม่ทัน ปัญหาอีกประการหนึ่ง คือ สถานศึกษาขาดแคลนครู และครูผู้สอนสอนไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สาเร็จการศึกษา ทาให้ขาดความชานาญ ความรู้และเทคนิคในการสอน ที่ถูกต้อ งในสาระที่ต นเองสอน ส่ งผลต่อ นั กเรี ยนไม่ไ ด้รับความรู้ที่ ตรงตามมาตรฐานการเรี ยนรู้เท่ าที่ควร หรือมีครูย้ายระหว่างภาคเรียนทาให้การเรียนการสอนไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มสาระหลัก จึงทาให้กลุ่ม สาระการเรียนรู้ส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา ทั้งนี้ ผลการประเมินในปีการศึกษา 2557 ระหว่างสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศก็ยังพบว่า ไม่มีกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ
62
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า ปีการศึกษาที่ผ่านมา แสดงให้ เ ห็ น ว่ า หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในทุ ก ระดั บ ได้ ต ระหนั ก และเล็ ง เห็ น ถึ ง ความส าคั ญ ของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนโดยเห็นได้จากการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการจัดทาเอกสาร เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ใ ห้ แ ก่ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและ สถานศึ กษา และเผยแพร่ เอกสารทางวิช าการผ่ านทางเว็ บไซต์ ของหน่ ว ยงาน มี การด าเนินการทดสอบ Pre O-NET เพื่อให้นักเรียนเกิดความคุ้นเคยกับลักษณะของข้อสอบ มีการจัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ ให้แก่ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับการสร้างข้อสอบที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ในรูปแบบเดียวกันกับข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบ O-NET เพื่อนาไปขยายผลให้แก่ครูผู้สอนในการนาไปประยุกต์ ใช้ใ นการเรี ย นการสอนตามหลั กสู ตรในชั้นเรีย น และมี การยกย่อ งเชิด ชูเ กีย รติ ห รื อชมเชยหรือ ให้ รางวั ล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่มีพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างชัดเจน ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ศิลปะ และภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าปีการศึกษาที่ผ่ านมา อาจเนื่องมาจากบุคลากร ไม่เพียงพอทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนครูในบางสาขาวิชาโดยเฉพาะสาขาศิลปะ และภาษาอังกฤษ ส่งผลให้ ครูสอนไม่ตรงตามวิชาเอกกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูจัดการเรียนการสอนไม่ได้เน้นมาตรฐานและตัวชี้วัด การวัดและประเมินผลของครูผู้สอนไม่สอดคล้องกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ นอกจากนี้เนื่องจาก ธรรมชาติ ข องวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ และภาษาอั ง กฤษ นั ก เรี ย นไม่ ช อบและไม่ ใ ห้ ค วามสนใจ อาจท าให้ ผลการประเมินในปีการศึกษา 2557 ระหว่างสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานกั บ ระดั บ ประเทศ ของทั้ง 2 วิชานี้ มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2557 กับปีการศึกษา 2556 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และ วัฒ นธรรม และศิ ล ปะ มี คะแนนเฉลี่ ยสู งกว่ าปี การศึก ษา ที่ ผ่ า น ม า ทั้ ง นี้ อ า จ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ก า ร ที่ ส า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ได้ ป ระกาศจุ ด เน้ น การพั ฒ นาผู้ เ รี ย น ให้ ทุ ก ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และสถานศึกษาทุกแห่ง ได้ดาเนินงานตามกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ 5 กลุ่มสาระหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 เกิดผลให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาทุกแห่งจัดทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย น โดยการน าผลการสอบ O-NET มาวิ เ คราะห์ เ พื่ อ ก าหนดนโยบาย โครงการ/กิ จ กรรม การพั ฒ นาการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ แ ละเพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ทั้ ง นี้ ส่ ง ผลให้ นั ก เรี ย น 63
มีผ ลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และศิลปะ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ในส่วนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา และการงานอาชี พ และเทคโนโลยี มี ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ ากว่ า ปี ก ารศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการบริหารงานด้านบุคลากรในส่วนของการบรรจุแต่งตั้งที่ยังไม่เพียงพอทาให้เกิดปัญหา การขาดแคลนครูในสาขาวิ ชาเฉพาะ กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูไม่ได้เน้นมาตรฐานและตัวชี้วัด เท่าที่ควร การวัดและประเมินผลของครูผู้สอนไม่สอดคล้องกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้ เนื่ อ งจากธรรมชาติ ข องวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ละภาษาอั ง กฤษค่ อ นข้ า งยากนั ก เรี ย นไม่ ช อบ จึงไม่ให้ความสนใจ อาจทาให้ผลการประเมิน ในปีการศึกษา 2557 ระหว่างสั งกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับประเทศของทั้ง 2 วิชานี้มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ 4.2.2 อภิปรำยผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ จากผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากับระดับประเทศ ส าหรั บ ระดั บ ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3 มั ธ ยมศึ กษาปี ที่ 3 และมัธ ยมศึก ษาปีที่ 6 พบว่า มี จานวนส านั กงาน เขตพื้นที่ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าระดับประเทศ ทุ ก วิ ช าเป็ น ส่ ว นใหญ่ (ร้ อ ยละ 40.11, 56.25 และ 67.06 ตามล าดั บ ) ส่ ว นในชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 มีจานวนสานักงานเขตพื้นที่ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูง กว่า หรือเท่ากับระดับ ประเทศบางวิช าเป็น ส่ว นใหญ่ (ร้อยละ 44.02) อภิปรายแยกเป็นระดับ ดังนี้ ระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 ถึ ง แม้ ว่ า ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและสถานศึ ก ษา มีการดาเนิ นงานตามแผนการขับเคลื่ อนการประเมิน ตามจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในปีการศึกษา 2557 ให้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น แต่ผลการประเมินก็ยังสะท้อนให้เห็ นว่าสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาส่ว นใหญ่ยังไม่ สามารถด าเนิ น การตามจุ ด เน้ น ของส านั ก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานได้ แต่ เ มื่ อ พิ จ ารณาจ านวน และร้ อ ยละส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึ ก ษาที่ มี ค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละสู ง กว่ า หรื อ เท่ า กั บ ระดั บประเทศทุก วิช าจานวน เป็ นอัน ดับรองลงมา (ร้อยละ 39.57) ซึ่งก็แสดงให้เห็นว่ายังมีสานักงานเขต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและสถานศึ ก ษาอี ก จ านวนหนึ่ ง ที่ ส ามารถด าเนิ น งานในเรื่ อ งการขั บ เคลื่ อ น 64
ตามจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเรื่องการกาหนดให้นักเรียนชั้ นประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านออกเขียนได้ และคิดเลขเป็น อีกทั้งยังมีบางสานักงานเขตพื้ นที่มีการเตรียมความพร้อมในการประเมินที่ดี โดยสานักงานเขตพื้นที่มีการกาหนดนโยบายยกระดับผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจัง ชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้โรงเรียน จัดทาแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนมีการจัดอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติให้แก่ครูผู้สอน ของสถานศึกษาในส านักงานเขตพื้น ที่การศึกษาเกี่ยวกับการสร้างข้อสอบที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ในรูปแบบเดียวกันกับข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบเพื่อนาไปขยายผลให้แก่ครูผู้สอนในการนาไปประยุกต์ใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรในชั้นเรียน มีการประสานความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ/เอกชน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จั ด ท าป้ า ย Count Down ติ ด ที่ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและโรงเรี ย น มีการประชุมชี้แจงแนวดาเนินการประเมินให้ครูผู้สอนทราบและได้ดาเนินการวางแผนร่วมกัน มีการวิเคราะห์ ผลการสอบเพื่อหาจุดเด่น จุดด้อย และจุดที่ควรพัฒนา สร้างความตระหนัก และเห็นความสาคัญของการสอบ มีการวางแผนการนิเทศอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องมีการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต e-filing, e-mail, face book, line ฯลฯ รวมทั้งยกย่องเชิดชูเกียรติหรือชมเชย หรื อให้ รางวัล แก่สถานศึกษาที่มีพัฒ นาการของผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนอย่างชัดเจน และเป็นแบบอย่างดี แก่หน่วยงานอื่น ๆ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการ ที่ ส านั กง า นค ณะ ก รร มก าร ก าร ศึ ก ษ า ขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศจุดเน้นให้ทุกสานักงาน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและทุ ก สถานศึ ก ษา ด าเนิ น งานยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นวิ ช าหลั ก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 จะสังเกตได้จากที่ ส านั กงา นเ ขตพื้ นที่ ก าร ศึ ก ษ าก า หน ด เป็ น นโยบายและจั ด ท าข้ อ ตกลงร่ ว มมื อ ระหว่ า งส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษากั บ สถานศึกษาที่ร่วมกันยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักทั้ง 5 กลุ่มสาระให้สูงขึ้นอีก ทั้งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนนาระบบประกันคุณภาพภายในมาใช้ในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและดาเนินการตามจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นผลทาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าหรือเท่ากับระดับประเทศเป็นบางวิชา สาหรับในส่วนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนต่ากว่าระดับประเทศบางวิชา ทั้งนี้อาจเนื่ องจากปัญหาการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะตัวครูผู้สอนที่ไม่ ได้สอนตามวิชาเอกและความถนัด อี กทั้งยังได้รับหน้าที่หรือภารกิจนอกเหนือจาก การสอนมากเกินไป เช่น กิจกรรมต่าง ๆ ตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือ การที่องค์กรท้องถิ่นขอความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ จึงเป็นเหตุให้ครูมีเวลาอยู่ในห้องเรียนน้อยลง เป็นผลทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบางวิชาต่ากว่าระดับประเทศ 65
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อาจเนื่องมาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ผู้ปกครอง ไม่ ไ ด้ เ น้ น ให้ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ได้ ต ระหนั ก ถึ งความส าคั ญ ของการสอบ O-NET และนั ก เรี ย น ส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจการสอบ O-NET เพราะการเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนส่วนใหญ่ ไม่ต้ องสอบเข้าเรีย น ตามนโยบายของสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้รับนักเรียนในเขต เข้ า เรี ย น ส่ ว นการเรี ย นต่ อ ในสายอาชี พ ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก ารน าผล O-NET ไปใช้ ใ นการสอบคั ด เลื อ กเข้ า เรี ย น นอกจากนี้ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาขาดการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาครู ด้ า นการจั ด การเรี ย นกา รสอน ขาดการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นความสนใจนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนื่องจากผู้เรียนในระดับชั้นนี้ ซึ่งเป็นวัยที่เป็นช่วงวัยรุ่นตอนต้นอาจจะมีความรับผิดชอบในเรื่องการเรียนได้ดี ไม่ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรียนบางส่วนเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีครูไม่ครบชั้น และสอนไม่ตรงตามวิชาเอกที่เรียนมา นักเรียนบางส่วนเรียนต่อในสายอาชีพจึงมีผลทาให้นักเรียนไม่สนใจ การเรี ย นวิ ช าหลั ก เท่ า ที่ ค วรนอกจากนี้ สถาบั น ทดสอบทางการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (องค์ ก ารมหาชน) ยังมีการดาเนินการจัดสอบเร็วเกินไป ทาให้ครูสอนยังไม่ครบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด จึงส่งผลให้สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาส่วนใหญ่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าระดับประเทศทุกวิชา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อาจเนื่องมาจากได้มีนักเรียนบางกลุ่มที่มีผลการเรียนในระดับดี ได้ผ่าน การคั ดเลื อกเข้าเรี ย นต่ อในระดั บ อุดมศึกษาโดยระบบรับ ตรงเรีย บร้อยแล้ ว ทั้ง นี้ มหาวิท ยาลั ยส่ ว นใหญ่ จะดาเนินการแล้วเสร็จก่อนการสอบ O-NET ดังนั้น นักเรียนกลุ่มดังกล่าวจึงไม่เห็นความสาคัญของผลการสอบ O-NET ไม่ตั้งใจทาข้อสอบหรือขาดสอบ จึงส่งผลให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่วนใหญ่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ต่ากว่าระดับประเทศทุกวิชา 4.2.3 อภิปรำยผลกำรประเมินผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของผู้เรียนจำแนกตำมกลุ่มสถำนศึกษำที่มี บริบทแตกต่ำงกัน 1) กลุ่มโรงเรียนโครงกำรพิเศษ กลุ่มโรงเรียนโครงการพิเศษในการอภิปรายผลการทดสอบครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนดีประจา ตาบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย โรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด โรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ /ศึกษาสงเคราะห์ และโรงเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยมีรายละเอียดการอภิปราย ดังต่อไปนี้ 1.1) กลุ่มโรงเรียนดีประจำตำบล จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า คะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ เมื่ อ พิ จ ารณารายความสามารถ พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ยระดับประเทศทุกด้าน สาหรั บระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่า ระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ และในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า คะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่า ระดับประเทศ เมื่อพิจารณา 66
รายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีเพียงกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีคะแนนเฉลี่ย สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ สาเหตุที่ทาให้ โ รงเรียนดีป ระจาตาบล มีผ ลการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรีย น ในภาพรวมและในรายกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และต่ากว่า ระดับประเทศในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 เนื่องจาก กระบวนการพัฒนาโรงเรียน ดี ป ระจ าต าบล ในช่ ว งเริ่ ม ต้ น ของโครงการได้ มุ่ ง เน้ น การจั ด สรรงบประมาณเพื่ อ พั ฒ นาในด้ า นครุ ภั ณ ฑ์ และสิ่งก่อสร้าง โดยให้ความสาคัญกับการสร้างอาคารสถานที่ สร้างห้องประชุม จัดซื้อคอมพิ วเตอร์ มากกว่า การพัฒ นาบุคลากร และในช่วงเวลาต่อมาสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เน้ นการพัฒนา คุณภาพของโรงเรี ย นดี ป ระจ าตาบลในด้ านคุ ณ ธรรม จริย ธรรม มีการอบรมด้านคุณธรรมให้ กับบุค ลากร รวมทั้งกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้น ฐาน โรงเรียนมีการประเมินคุณภาพ โดยภาคีเครือข่ายจากส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แต่ทั้งนี้ไม่ได้เน้นความรู้ด้านวิชาการ สาหรับ นักเรี ยน ส่งผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2557 ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ ยระดับประเทศ ทุกระดับชั้น ดังนั้นในช่วงปีการศึกษาที่ผ่านมาการพัฒนาโรงเรียนดีประจาตาบลได้เน้น การพัฒนาบุคลากร และวิ ช าการมากขึ้ น จึ ง ส่ ง ผลให้ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 สู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศทุกด้าน 1.2) กลุ่มโรงเรียนในฝัน จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ เมื่ อ พิ จ ารณารายความสามารถ พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า ระดับประเทศด้านภาษา และด้านเหตุผล สาหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่า ระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดั บประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ และในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า คะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่าระดับประเทศ เมื่อพิจารณา รายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาเหตุที่ทาให้โรงเรียนในฝันมีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมสูง กว่าระดับประเทศในระดับชั้ นประถมศึกษาปีที่ 3 และต่ากว่าระดับประเทศในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธ ยมศึ กษาปี ที่ 3 และ 6 ทั้ง นี้ อาจเป็ น เพราะโรงเรีย นในฝั นได้ ผ่ า นการประเมิ น เพื่ อ รับ รองเป็น ต้ นแบบ โรงเรียนในฝันแล้วจึงอาจจะขาดความต่อเนื่องในส่งเสริมสนับสนุนในการบริหารจัดการศึกษา นอกจากนี้ ศึกษานิ เทศก์ที่รั บ ผิ ดชอบโรงเรี ย นในฝั นส่ ว นใหญ่ต้องดูแลโรงเรียนดีประจาตาบลพร้อมในคราวเดียวกัน และช่วงเวลาที่ผ่านมา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เน้นการพัฒนาโรงเรียนดีประจาตาบล มากกว่ า โรงเรี ย นในฝั น จึ ง ส่ ง ผลให้ โ รงเรี ย นในฝั น มี ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ ากว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ส่วนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ เช่นเดียวกับโรงเรียนดีประจาตาบล
67
1.3) กลุ่มโรงเรียนมำตรฐำนสำกล จากผลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายความสามารถ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกด้าน สาหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าระดับประเทศ และมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สาเหตุที่ทาให้โรงเรียนมาตรฐานสากลมีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กว่ า ระดั บ ประเทศทุ ก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ แ ละทุ ก ระดั บ ชั้ น เนื่ อ งจากการคั ด เลื อ กโรงเรี ย นเพื่ อ พั ฒ นา และยกระดับเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล นั้น โรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกจะเป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมอยู่ แล้ ว ทั้ ง ด้ า นสถานที่ ตั้ ง อาคารสถานที่ สื่ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ อ านวยความสะดวก โดยเฉพา ะความพร้ อ ม ในด้ า นผู้ เ รี ย น เนื่ อ งจากโรงเรี ย นกลุ่ ม นี้ จะเป็ น โรงเรี ย นยอดนิ ย มต้ อ งใช้ ก ร ะบวนการคั ด เลื อ ก โดยการสอบแข่งขัน จึงส่งผลให้ได้นักเรียนที่มีความพร้อมด้านสติปัญญาเข้าสู่โรงเรียน อีกทั้งผู้บริหาร ครูผู้สอน ได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่อ เพิ่ม สมรรถนะ รวมไปถึง การมี ภ าคี เครื อข่ า ยและโรงเรี ยนร่ ว มพั ฒ นาทั้ง ในประเทศ และต่างประเทศ จึงส่งผลให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.4) กลุ่มโรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย จากผลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวม และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศ ทุกระดับชั้น สาเหตุที่ทาให้ กลุ่ ม โรงเรี ย นจุ ฬาภรณราชวิทยาลั ย มีผ ล การประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ ทั้งในภาพรวม และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในทุกระดับชั้น เนื่องมาจาก การคั ด เลื อ กนั ก เรี ย นของทางโรงเรี ย นใช้ ก ระบวนการคั ด เลื อ ก โดยการสอบแข่ ง ขั น จึ ง ส่ ง ผลให้ ไ ด้ นั ก เรี ย น ที่ มี ค ว ามพร้ อ ม ด้ า นสติ ปั ญ ญาเข้ า สู่ โ รงเรี ย น นอกจากนี้ กลุ่ ม โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณ ราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจา ซึ่งโรงเรียนได้จัดกิจกรรมการสอน เสริมเพิ่มเติมในช่วงหลังเวลาเรียน และในช่วงวันหยุด นอกจากนี้กลุ่ม โรงเรี ย น จุ ฬ าภรณราช วิ ท ยาลั ย มี จุ ด เ น้ น การจั ด การศึ ก ษา ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม จึงทาให้มี ครุภัณฑ์อุปกรณ์ประจาห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ฯ ที่ทันสมัยทาให้ เด็กนักเรียนได้ใช้ในการเรียน การค้นคว้า การทดลอง และฝึกปฏิบัติ ต่างๆ เกิดประสบการณ์ จึงส่งผลให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
68
1.5) กลุ่มโรงเรียนอัตรำกำรแข่งขันสูง จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สู ง กว่ า ระดับประเทศทุกระดับชั้น สาเหตุที่ทาให้ โรงเรียนอัตราแข่งขันสูง มีผลการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน ทุกระดับชั้น และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศ อาจเนื่องมาจากกลุ่มโรงเรียนอัตราแข่งขั นสูง เป็นโรงเรียนที่มีกระบวนการคัดเลือกนักเรียนโดยการสอบแข่งขัน นั่นหมายถึงนักเรียนที่เข้าเรียนส่วนใหญ่ จะเป็นนักเรียนที่มีผลการเรียนดีถึงดีมาก ประกอบกับเป้าหมายการพัฒนาของโรงเรียน คือ เป็ นโรงเรียนที่เน้น การแข่งขันทางวิชาการ เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก เช่น โรงเรียนมหิดล วิทยานุสรณ์ จึงส่งผลให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทุกระดับชั้น 1.6) กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ จากผลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงกว่าระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ 6 กลุ่มสาระฯ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาฯ ศิลปะ และการงานอาชีพฯ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ และในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ากว่าระดับประเทศ เมื่อพิจารณารายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สาเหตุที่ทาให้กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติมีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าระดับ ประเทศเกื อบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ ในระดับชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 6 ต่ ากว่ า ระดั บ ประเทศทุ ก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ เนื่ อ งจากกลุ่ ม โรงเรี ย นเฉ ลิ ม พระเกี ย รติ เ ป็ น โรงเรี ย น ที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารมี เ ป้ า หมายให้ เ ป็ น โรงเรี ย นมั ธ ยมขนาดใหญ่ ประเภทประจ า และไป -กลั บ ซึ่งรับทั้งนักเรียนที่เรียนดี และนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ บริบททั่วไปจะตั้งอยู่ในเขตเมืองซึ่งมีความพร้อม เรื่องสื่อ วัสดุอุปกรณ์ และบุคลากร จึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ย ร้อยละของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่า ระดั บ ประเทศเกื อ บทุ ก กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ส่ ว นในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ ากว่ า ระดับประเทศทุกกลุ่ มสาระการเรียนรู้ เนื่องมาจากโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติเป็นโรงเรียนที่จัดตั้งอยู่ในเมือง แต่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ขยายโอกาสทางการศึ ก ษา โดยจะรั บ นั ก เรี ย นที่ บ้ า นใกล้ แ ละนั ก เรี ย นที่ พั ก อาศั ย อยู่ในสานักงานเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนเกือบทั้งหมด ไม่ได้รับนักเรียนจากการสอบแข่งขัน ทาให้นักเรียน ที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นดี เมื่ อ จบการศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 จะสอบเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ที่ โ รงเรี ย น ที่มีชื่อเสียงอื่น ส่งผลต่อนักเรียนที่เข้าศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มที่ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนปานกลางถึงต่า จึงอาจส่งผลให้ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
69
1.7) กลุ่มโรงเรียนไทยรัฐวิทยำ จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ต่ ากว่ า ระดับประเทศทุกระดับชั้น สาเหตุ ที่ ท าให้ ก ลุ่ ม โรงเรี ย นไทยรั ฐ มี ผ ลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ในภาพรวม และในรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่ากว่าระดับประเทศในทุกระดับชั้น ทั้งนี้อาจเนื่องจากโรงเรียน ไทยรั ฐ วิ ท ยาเป็ น โรงเรี ย นที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ แก้ ปั ญ หาการขาดแคลนสถานศึ ก ษาในชนบท เน้ น การพั ฒ นา อาคารสถานที่ให้ เพี ย งพอกับ จ านวนนั กเรี ย น และพัฒ นาคุณลั กษณะของผู้ เรียน ด้ านความซื่อสั ตย์สุ จริ ต และการเป็ น พลเมื องที่ ดี อีกทั้ งโรงเรี ย นไทยรั ฐ บางส่ ว นยั งเป็ นโรงเรียนขนาดเล็ ก ทาให้ ขาดความพร้อ ม ในด้านอื่น ๆ เช่น ด้านสื่อ อุปกรณ์ และด้านบุคลากร คือ การจัดครูเข้าสอนที่มีจานวนไม่เพียงพอ หรือสอน ไม่ตรงตามวุฒิที่สาเร็จการศึกษา จึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.8) กลุ่มโรงเรียนอนุบำลประจำจังหวัด จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ เมื่ อ พิ จ ารณารายความสามารถ พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศทุกระดับชั้น สาเหตุที่กลุ่มโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดมีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาพรวมและในรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนอนุบาล ประจาจังหวัดส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ และใหญ่พิเศษ มีความพร้อมทั้งในด้านอาคารสถานที่ วัสดุ อุป กรณ์ สื่ อเทคโนโลยี ที่ทัน สมัย และด้านบุ คลากรที่เกี่ยวข้อง เช่น ครูผู้ ส อน และบุคลากรสายสนับสนุน ที่มีความพร้อมทั้งในเรื่องปริมาณ และคุณภาพมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่ มีค วามพร้ อม สนั บ สนุ น และส่ งเสริ ม พัฒ นาผู้ เรี ยนทุ กด้ า นและให้ มี การเรี ยนเสริ มความรู้อ ย่ างสม่ าเสมอ ในช่วงหลังเลิกเรียน จึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทั้งในภาพรวมและรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.9) กลุ่มโรงเรียนอนุบำลประจำอำเภอ/ตำบล จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย รวมสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ เมื่ อ พิ จ ารณารายความสามารถ พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศทุกระดับชั้น สาเหตุที่กลุ่มโรงเรียนอนุบาลอาเภอ/ตาบล มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาพรวมและในรายความสามารถสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดั บ ประเทศทุ ก ระดั บ ชั้ น อาจเนื่ อ งจาก โรงเรียนอนุบาลอาเภอ/ตาบล ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง มีความพร้อมในเรื่องของอาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยี โดยได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดซึ่งเป็นเครือข่าย กัน ประกอบกับครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาร่ว มกับโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด จึงทาให้ มีความพร้ อมในการจั ดการเรี ย นรู้ ให้ กับผู้ เรี ย น จึงส่งผลให้ คะแนนเฉลี่ ย ทั้งในภาพรวมและรายกลุ่ มสาระ การเรียนรู้สูงกว่าระดับประเทศ
70
1.10) กลุ่มโรงเรียนในเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกิจ จังหวัดชำยแดนภำคใต้ จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ต่ ากว่ า ระดับ ประเทศทุกระดับชั้น ที่เป็ นเช่น นี้เพราะความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทางภาษา และทางศาสนา ซึ่งมีความแตกต่างกันมาก ประกอบกับเหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาให้สถานศึกษา ต้ อ งหยุ ด เรี ย นบ่ อ ย นั ก เรี ย นขาดความต่ อ เนื่ อ งในการเรี ย นรู้ อี ก ทั้ ง ครู แ ละบุ ค ลา กรทางการศึ ก ษา ขาดขวั ญ และก าลั ง ใจในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ พราะมี ค วามหวาดกลั ว ต่ อ ความปลอดภั ย ในชี วิ ต ของตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษา จึงทาให้คะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ และทุกระดับชั้น 1.11) กลุ่มโรงเรียนศึกษำสงเครำะห์ จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และ 6 พบว่ า มี ค ะแนนเฉลี่ ย ในภาพรวม และรายกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ต่ ากว่ า ระดับประเทศทุกระดับชั้น ที่เป็นเช่นนี้เพราะโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เป็นโรงเรียนที่สังกัดสานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ เน้นการจัดการศึกษาแก่เด็กด้อยโอกาส ซึ่งประกอบไปด้วย เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือเด็กกาพร้า เด็กที่อยู่ในชนกลุ่มน้อย เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ หรือโรคติดต่อร้ายแรงที่สังคมรังเกียจ เด็กเร่ร่อน และเด็กที่ถูกทาร้ายทารุณ เป็นต้น ซึ่งนักเรียนเหล่านี้ส่วนใหญ่ มีพื้นฐานครอบครัวที่ขาดความพร้อมในหลาย ๆ ด้าน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในครอบครั ว จึงทาให้นักเรียนกลุ่มนี้ ไม่ ไ ด้ ค าดหวั ง ความส าเร็ จ ทางการศึ ก ษา แต่ ค าดหวั ง ที่ จ ะออกมาประกอบอาชี พ เพื่ อ หา เลี้ ย งตนเอง และครอบครัวมากกว่าจึงส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า 2) กลุ่มสถำนศึกษำที่มีขนำดของสถำนศึกษำแตกต่ำงกัน กลุ่ ม สถานศึ ก ษาที่ มี ข นาดของสถานศึ ก ษาแตกต่ า งกั น ได้ แ ก่ โรงเรี ย นที่ มี ข นาดเล็ ก (จ านวนนั ก เรี ย นไม่ เ กิ น 120 คน) โรงเรี ย นที่ มี ข นาดกลาง (จ านวนนัก เรี ย นอยู่ ร ะหว่า ง 121 - 300 คน) โรงเรี ย นที่ มีข นาดใหญ่ (มีจ านวนนั กเรี ยนอยู่ ระหว่า ง 301 - 500 คน) และโรงเรี ยนที่มีข นาดใหญ่พิ เศษ (มีจานวนนักเรียนตั้งแต่ 501 คนขึ้นไป) โดยมีรายละเอียดดังนี้ จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษา ที่มีขนาดต่างกัน จะเห็นได้ว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียน ขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ตามลาดับ ทั้งนี้เนื่องจากว่า โรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ พิเศษ โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีที่ตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ เช่น โรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอ อนุบาลประจาจังหวัด เป็นต้น ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมในทุกด้าน ทั้งด้านปัจจัยนาเข้า ซึ่ งประกอบด้วยนักเรียนที่ส่วนใหญ่ เป็นนักเรียนที่เรียนดี มาจากครอบครัวที่ พร้อมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้โรงเรียนยังได้รับปัจจัย เอื้อต่าง ๆ จากภายนอก เช่น การสนับสนุนจากองค์กรเอกชน หน่วยงานอื่น ๆ ส่วนด้านกระบวนการมีการ บริหารจัดการที่เป็นระบบ เนื่องจากมีบุคลากรครูเพียงพอกับความต้องการ ครูไ ด้ทาหน้าที่ในการสอนอย่าง เต็มที่ ครูสอนตรงตามความรู้ความสามารถและตรงตามสาขาที่เรียนจบมา มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ อีกทั้งยังมีการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาการตามหน่วยงานที่จัด จึ งส่ งผลให้ มี ผ ลสั มฤทธิ์ทางการเรี ย นสู งที่สุ ด ส าหรับโรงเรียนขนาดเล็ กที่มีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละรองลงมา ทั้ง นี้ เ นื่ อ งจากในปี การศึ ก ษาที่ผ่ านมากระทรวงศึก ษาธิ การได้จั ด ทาโครงการขยายผลการศึก ษาทางไกล 71
ผ่านดาวเทียม (DLTV) ไปยังโรงเรียนขนาดเล็กทั่วประเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กที่ครู สอนไม่ ค รบชั้ น และช่ ว ยยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นส าหรั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ซึ่ ง คุ ณ ครู ที่ ส อน จากโรงเรียนต้นทางเป็นครูที่มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนเป็นอย่างดี แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ และใบกิจกรรมที่ใช้ในแต่ละหน่วยก็ผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ จึงส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อม ๆ กับโรงเรียนต้นทาง ได้เรียนครบทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้จากครูผู้สอนที่เชี่ยวชาญ พร้ อมทั้งได้ทาใบกิจกรรมที่มีคุณภาพ จึงส่งผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ในภาพรวมสู ง กว่ า ระดั บ ประเทศ ส าหรั บ โรงเรี ย นขนาดกลางที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ต่ ากว่ า โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพราะว่ า โรงเรี ย นขนาดกล างส่ ว นใหญ่ จ ะประสบปั ญ หาบุ ค ลากรมี จ านวนไม่ เ พี ย งพอ ประกอบกับนักเรียนมีจานวนมาก จึงทาให้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เต็ม ตามศักยภาพเป็นไปได้ค่อนข้างยาก ส่วนโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีผลสัมฤทธิ์ต่าที่สุด ทั้งนี้เป็นเพราะว่าโรงเรียน ดังกล่าวมีจานวนนักเรียนต่อชั้นเรียนมีจานวนมาก ในขณะที่ครูมีจานวนน้อย การดูแลและส่งเสริมนักเรียน เป็น รายบุคคลอย่างเต็มตามศักยภาพค่อนข้างยาก จึงส่ งผลให้ นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมเป็นรายบุคคล ได้อย่างทั่วถึง จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของสถานศึกษา ที่มีขนาดต่างกัน โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิเศษมีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละสู งสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลาง ตามลาดับ ทั้งนี้เนื่องจากว่าโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่พิเศษ ส่วนใหญ่ เป็นโรงเรียนประจาจังหวัด ซึ่งมีความพร้อมหลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านอาคารสถานที่ ด้านสื่อเทคโนโลยี ด้านวัสดุ อุป กรณ์ ด้านนั กเรี ย นที่ส่ ว นใหญ่มาจากครอบครัว ที่มีความพร้อม และสนับสนุนให้ นักเรียนได้เรียนเสริม เพิ่ ม เติ ม จากการเรี ย นในห้ อ งเรี ย น พร้ อ มทั้ ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ปั จ จั ย เอื้ อ ต่ า ง ๆ จากภายนอก เช่น การสนั บสนุ นจากองค์กรเอกชน หน่ ว ยงานอื่น มีการบริห ารจัดการที่เป็นระบบ เนื่องจากมีบุคลากร ในการขับ เคลื่ อนเพีย งพอ ครู ไ ด้ทาหน้าที่ในการสอนอย่างเต็มที่ จึงส่ งผลให้ โ รงเรียนมีคะแนนเฉลี่ ยสู งสุ ด ส่วนโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีผลสัมฤทธิ์รองลงมา ทั้งนี้เป็นเพราะว่าโรงเรียนขนาดใหญ่มีความพร้อมในการจัด การศึกษา และงบประมาณสนับสนุนในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 อย่างเพียงพอ ครูได้ทาหน้าที่ในการสอน อย่างเต็มที่ ทาให้ผลผลิตมีคุณภาพ สาหรับโรงเรียนขนาดเล็กที่จัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ที่ มีผ ลสั มฤทธิ์ ในระดับ รองลงมา ทั้ง นี้ เป็ นเพราะว่ าโรงเรี ยนเริ่ มมี การขยายผลการศึก ษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) อย่ างทั่วถึงทุกโรงเรี ยน ซึ่งโรงเรียนที่เคยใช้การสอนทางไกลผ่านดาวเทียมแต่วัสดุ อุปกรณ์ชารุด ก็ได้รับการซ่อมแซมให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ จึงส่งผลให้นักเรียนแต่ล ะคน ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ สาหรับโรงเรียนขนาดกลางที่จัดการเรียนการสอนระดับ ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ต่ ากว่ า โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพราะว่ า โรงเรี ย นขนาดกลาง มั ก ประสบปั ญ หาบุ ค ลากรที่ มี จ านวนไม่ เ พี ย งพอ ประกอบกั บ นั ก เรี ย นมี จ านวนมาก จึ ง ท าให้ รู ป แบบ การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เต็มตามศักยภาพเป็นไปได้ค่อนข้างยาก จากผลการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษาที่มีขนาด ต่างกัน โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาด กลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก ตามลาดับ ทั้งนี้เนื่องจากว่า โรงเรียนที่มีขนาดใหญ่พิเศษ ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียน ประจ าจังหวัด ซึ่งมีความพร้อมหลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านอาคารสถานที่ ด้านสื่อเทคโนโลยี ด้านวัส ดุอุปกรณ์ นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ ม าจากครอบครั ว ที่ มี ค วามพร้ อ ม และสนั บ สนุ น ให้ นั ก เรี ยนได้ เ รี ย นเสริ ม เพิ่ ม เติ ม จากการเรีย นในห้องเรีย น พร้อมทั้งได้รับ การสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่าง ๆ จากภายนอก เช่น การสนับสนุน 72
จากองค์กรเอกชน หน่วยงานอื่น มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบ เนื่องจากมีบุคลากรในการขับเคลื่อนเพียงพอ ครู ได้ ทาหน้ าที่ ในการสอนอย่ า งเต็ม ที่ จึง ส่ ง ผลให้ โ รงเรี ยนมีค ะแนนเฉลี่ ย สู ง สุ ด ส่ ว นโรงเรี ยนขนาดใหญ่ ที่มีผลสัมฤทธิ์รองลงมา ทั้งนี้เป็นเพราะว่าโรงเรียนขนาดใหญ่มีความพร้อมในการจัดการศึกษา และงบประมาณ สนั บ สนุ น ในระดับ ประถมศึกษาปี ที่ 6 อย่างเพียงพอ ครูได้ทาหน้าที่ในการสอนอย่ างเต็มที่ ทาให้ ผ ลผลิ ต มีคุณภาพ ส าหรั บ โรงเรี ย นขนาดกลางและขนาดเล็ กมี คะแนนเฉลี่ ยไม่แตกต่างกั นมากนัก ทั้ งนี้เนื่องจาก โรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยม ประจาตาบล ซึ่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลการเรียนดีจากโรงเรียนเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะเข้าไปศึกษา ต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนประจาอาเภอหรือประจาจังหวัด นักเรียนในโรงเรียนขนาดกลาง และเล็กส่วนใหญ่จะมีเวลาเรียนไม่เต็มที่ เพราะต้องช่วยเหลืองานผู้ปกครอง อีกทั้งยังไม่มีเป้าหมายในการเรียน ต่อในระดับที่สูงขึ้น ส่วนใหญ่คาดหวังว่าจบออกมาจะประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว นอกจากนี้ บุคลากรครู ยังมีไม่เพีย งพอกับ จานวนนักเรียน หรือไม่ครบตามกลุ่ มสาระที่เปิดสอน สื่อการเรียนการสอน ไม่ทันสมัยและไม่เพียงพอ งบสนับสนุนในการบริหารจัดการค่อนข้างน้อย จึงเป็นผลทาให้ผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับ ต่าสุด จากผลการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ของสถานศึ ก ษา ที่มีขนาดต่างกัน โรงเรี ย นขนาดใหญ่ พิเศษมีคะแนนเฉลี่ ยร้อยละสู งสุ ด รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรี ย นขนาดกลาง และโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ตามลาดับ จะเห็นได้ว่า คะแนนผลสั มฤทธิ์ของการประเมิน ในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 มี ร ะดั บ ลดหลั่ น ลงไปตามขนาดของโรงเรี ย น ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากว่ า ศั ก ยภาพ ของสถานศึกษามีผลค่อนข้างมากเพราะผู้เรียนที่ศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นั้น ต่างก็มีเป้าหมาย เดียวกันคือ การศึกษาต่อในระดับชั้นปริญญาตรี ปัจจัยด้านเป้าหมายความสาเร็จจึงไม่แตกต่างกันมากนัก อย่ างไรก็ต ามโดยศัก ยภาพส่ ว นตัว ของผู้ เ รียนประกอบกับศักยภาพในการบริห ารจั ดการของสถานศึกษา ย่ อ มส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ กล่ า วคื อ โรงเรี ย นที่ มี ข นาดใหญ่ พิ เ ศษ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น โรงเรี ย นประจ าจั ง หวั ด เป็ น โรงเรี ย นยอดนิ ย ม มี ก ารแข่ ง ขั น ในการสอบเข้ า เรี ย นต่ อสู ง ท าให้ ไ ด้ นัก เรี ย นที่ เ ข้ า มาเรี ย นส่ ว นใหญ่ เป็นเด็กที่เรียนเก่ง อีกทั้งนักเรียนเหล่านี้ยังไปเรียนพิเศษ เพื่อเสริมความรู้จากการเรียนในห้องเรียน ไปเรียน กวดวิชา ในสถาบันที่มีชื่อเสีย ง ส่วนด้านงบประมาณได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากผู้ปกครอง องค์กร ภาครั ฐ/เอกชน และหน่ว ยงานอื่น ๆ มีกระบวนการบริหารจัดการที่เป็นระบบ เนื่องจากมีบุคลากรในการ ขับเคลื่อนเพียงพอ ครูได้ ทาหน้าที่ในการสอนอย่างเต็มที่ ครูสอนตรงตามความรู้ความสามารถและตรงตาม สาขาที่เรียนมา จึงทาให้ระบบการบริหารจัดการมีความเข้มแข็งและส่งผลไปยังผลผลิต โรงเรียนขนาดใหญ่มี ระบบการบริห ารจั ดการที่เอื้อพอ ๆ กับโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ แต่ในส่ ว นของผู้เรียนมักจะเป็นกลุ่มที่มี ศักยภาพรองลงมาเป็นส่วนมาก เช่นเดียวกันกับโรงเรียนขนาดกลางและโรงเรียนขนาดเล็ก
73
บทที่ 5 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย จากสารสนเทศที่ได้จากการอภิปรายผลการประเมินคุณภาพในแต่ละระดับ ชั้นประกอบกับบริบท การด าเนิ น งานของส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และสถานศึ กษาเกี่ ย วกับ การพั ฒ นาคุณ ภาพผู้ เรี ยน ทาให้ ได้ ข้อ เสนอแนะเชิ งนโยบายส าหรั บการพัฒ นา คุณภาพผู้เรียนในปีการศึกษา 2558 ดังต่อไปนี้ 5.1 ข้อเสนอแนะสำหรับสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 1. วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET ในปีการศึกษาที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2556) เพื่อทาการคัดเลือก มาตรฐานและตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน นาเรียนผู้บริหารระดับสูงและสานักงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และกาหนดจุดเน้นในการพัฒนา รวมทั้งวางแผนเพื่อจัดทาแผนงานและโครงการ ให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ 2. แบ่งเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาจากผลการทดสอบ O-NET ออกเป็นกลุ่มคุณภาพ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดีมาก กลุ่มดี กลุ่มพอใช้ และกลุ่มต้องปรับปรุงเพื่อทาการยกระดับ ดังต่อไปนี้ 2.1 จั บ คู่ เ ขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาในกลุ่ ม ดี ม ากกั บ กลุ่ ม ต้ อ งปรั บ ปรุ ง ที่ อ ยู่ ใ นภู มิ ภ าคเดี ย วกั น และมี เขตจังหวัดติดกัน เป็ น “เขตคู่พัฒนา” โดยเขตพื้นที่การศึกษาในกลุ่มดีมากจะคอยเป็นพี่เลี้ ยงชี้แนะ (Coaching) ถ่ายทอดประสบการณ์ในการยกระดับคุณภาพของตนเองให้แก่ 2.2 เขตพื้นที่การศึกษาที่อยู่กลุ่มปรับปรุง กาหนดแผนงานในการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วย วิธีการที่ห ลากหลายภายใต้การชี้แ นะของเขตพื้นที่การศึกษาที่เป็นคู่พั ฒ นา เช่น การวิเคราะห์ มาตรฐาน และสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน การจัดค่ายอบรมวิชาการ การสอนเสริมภายในโรงเรียน การจัดทีม พี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือโรงเรียน (Roving Team) เป็นต้น 3. ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเร่ ง ด าเนิ น การโครงการที่ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามจุดเน้นที่กาหนดไว้ รวมทั้งสนับสนุน งบประมาณให้แก่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในการยกระดับคุณภาพ 4. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทาข้อสอบ Pre O-NET ให้แก่เขตพื้นที่การศึกษา ใช้ทาการทดสอบนักเรียนในระดับชั้นที่ทาการทดสอบ O-NET เพื่อเป็นสร้างความคุ้นเคยเกี่ยวกับข้อสอบให้แก่ ผู้เรียน รวมทั้งนาผลการทดสอบ Pre O-NET มาจัดทาแผนพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ ผู้เรียนมีศักยภาพเพียงพอที่จะทาการทดสอบ 5. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่งร่วมกับ ตรวจเยี่ ย มสนามสอบ O-NET ในปี ก ารศึ ก ษา 2557 ทุ ก แห่ ง เพื่ อ ให้ ก ารทดสอบมี ค วามเป็ น มาตรฐาน และบริสุทธิ์ยุติธรรม 6. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดอันดับผลการทดสอบ O-NET ของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อมอบโล่รางวัลเพื่อ เป็นการให้ขวัญและกาลังใจในการความมุ่งมั่น และตั้งใจในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
5.2 ข้อเสนอแนะสำหรับสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1) ให้ความสาคัญกับการทดสอบทางการศึกษา ระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) และการทดสอบ ระดับชาติ (NT) โดยกาหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา โดยการกระตุ้นให้โรงเรียนมีการเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในวิชาหลักอย่างน้อยร้อยละ 3 หรือผ่านเกณฑ์ ขั้นต่าที่ควรจะทาได้ (ขีดจากัดล่าง) 2) สร้ า งความตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ใ น ก า ร ส อ บ NT, O-NET, PISA แ ล ะ TIMSS ให้ แก่ ผู้บริ หารและครู ผู้ สอนในสถานศึกษา รวมถึงการนาผล การสอบ NT, O-NET, PISA และ TIMSS มาใช้ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ในการจั ดการเรี ยนการสอนและการบริ หาร จัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีความรู้ และทักษะเกี่ยวกับการสร้าง ข้อสอบที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ในรูปแบบเดียวกันกับข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบ NT, O-NET, PISA และ TIMSS เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนตามหลักสูตรในชั้นเรียน 4) นารูปแบบของข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบ NT, O-NET, PISA และ TIMSS ไปใช้ในการทดสอบ ในระดับ เขตพื้น ที่การศึ กษา (Local Assessment System : LAS) ส าหรับนักเรีย นระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 และ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 5 เพื่อให้เด็กเกิดความคุ้นเคยกับรูปแบบของข้อสอบ
76
5) จัดให้มีการทดสอบ Pre NT และPre O-NET ในระดับชั้นที่จะต้องทาการสอบ NT และ O-NET ในปีการศึกษานั้น ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดความคุ้นเคยกับลักษณะของข้อสอบและรูปแบบการบริหารจัดการสอบ ที่เสมือนจริง 6) จั ดทาหลั กสู ตรการพัฒ นาครูผู้ ส อนเกี่ยวกับการสร้างข้อสอบที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ในรูปแบบเดียวกันกับข้ อสอบที่ใช้ในการทดสอบ NT, O-NET, PISA และ TIMSS เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษา นาไปอบรมและพัฒนาครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7) จั ด ท าโครงการวิ จั ย เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด โดยดูจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) และการทดสอบระดับชาติ (NT) ในปีการศึกษา ที่ผ่านมาเป็นข้อมูลเส้นฐาน (Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ในปีการศึกษาต่อไป 8) ส่ งเสริ มและพัฒ นาครู ด้านการจัดการเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นความสนใจนักเรียนในระดั บ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อเป็นการลดอัตราการออกกลางคันและศึกษาต่ออย่างมีคุณภาพ 9) จัดทาป้าย Count Down นับถอยหลังสู่ความสาเร็จติดที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 10) สร้างเครือข่ายการนิเทศการศึกษา เพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นอย่ า งเป็ น ระบบและต่อเนื่ อง โดยความร่ ว มมื อระหว่า ง ผู้ อ านวยการส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และนิ เ ทศการศึ ก ษาของเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และประธานศูนย์/กลุ่มเครือข่าย 11) จัดกิจกรรมเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ หรื อ ชมเชยหรื อ ให้ ร างวั ล แก่ ส ถานศึ ก ษาที่ มี พั ฒ นาการของผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น อย่างชัดเจน และเป็นแบบอย่างดีแก่หน่วยงาน อื่น ๆ 12) จัดทาเอกสารวิเคราะห์ ความสอดคล้ อง เชื่อมโยงกันระหว่างมาตรฐานตัวชี้วัดตามหลั กสู ตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ทธศักราช 2551 กับความสามารถด้ านภาษา ความสามารถด้านค านวณ และความสามารถ ด้านเหตุผลในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาเพื่อเผยแพร่ไปยังสถานศึกษาในสังกัดและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
77
5.3 ข้อเสนอแนะสำหรับสถำนศึกษำ 1) สร้ างความตระหนั กถึงความส าคัญในการสอบ NT, O-NET ให้ แก่ครูผู้ สอนและนักเรียนทุกคน ในระดับชั้นที่เข้าสอบ 2) ส่ งเสริ มสนั บสนุ นให้ ครู ผู้ สอนทุ กคนในสถานศึ กษาประยุ กต์ รูปแบบข้ อสอบของ O-NET, PISA และ TIMSS ไปใช้ในการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนในสถานศึกษาวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติ เพื่อวินิจฉัยมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุ งและพัฒนาอย่างเร่งด่วน และนามาใช้ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา 4) จั ด ท าโ ครง การย กระดั บ คุ ณ ภ า พผลสั ม ฤทธิ์ ท า งการ เรี ย นข องนั ก เรี ย นใ นสั ง กั ด โดยดูจ ากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับ ชาติ ขั้นพื้น ฐาน (O-NET) ในปีการศึกษาที่ผ่ านมาเป็นข้อมู ล เส้นฐาน (Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป 5) จัดกิจกรรมเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติหรือชมเชยหรือให้รางวัลแก่ครูผู้สอนในกลุ่มสาระที่มีพัฒนาการ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างชัดเจน และเป็นแบบอย่างดีแก่บุคลากรคนอื่น ๆ 6) ติดตามความเคลื่อนไหวของ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และสานัก ทดสอบทางการศึกษา สพฐ. เพื่อจัดประชุมชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้องนาไปปฏิบัติอย่างถูกต้อง ทันเวลา 7) จั ด ท าแบบทดสอบ Pre O-NET ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 และ Pre NT ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 สร้ า งข้ อ สอบเสมื อ นจริ ง ตามรู ป แบบของสถาบั น ทดสอบทางการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) และสานักทดสอบทางการศึกษา 8) นาแบบทดสอบ Pre O-NET และ Pre NT ข้อสอบเสมือนจริง ที่ได้ไปใช้ทดสอบนักเรียนก่อน การสอบจริง เพื่อทดสอบความรู้ สร้างความคุ้นเคย ทาให้นักเรียนมีประสบการณ์ในการสอบ 9) วิเคราะห์ข้อมูลและสะท้อนผล เร่งพัฒนาผู้ เรียนก่อนการสอบจริง นาข้อบกพร่องในการสอบ มาปรับปรุงให้นักเรียนสามารถทาข้อสอบได้อย่างเต็มตามศักยภาพ 10) ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐ/เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อระดมทรัพยากร ในการสนับสนุนการจัดการศึกษา 11) จัดทาป้าย Count Down นับถอยหลังสู่ความสาเร็จติดที่สถานศึกษา 12) สร้างเครือข่ายชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งประเทศไทย เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยความร่วมมือของสานักงานทดสอบทางการศึกษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานและชุ ม นุ ม นั ก วั ด และประเมิ น ผลการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน แห่งประเทศไทย
78
ภำคผนวก ก มาตรฐานที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จากผลการทดสอบ NT และ O-NET ปีการศึกษา 2557
ตัวชี้วดั ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของแต่ละควำมสำมำรถ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (ในภำพรวมของสังกัด) จำกผลกำรทดสอบ NTชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2557 การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2557 เป็ น การประเมิ น ความสามารถที่ ต กผลึ ก (Crystallization) จากการเรี ย นรู้ ต ามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 3 ด้าน คือ ด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning abilities) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีตัวชีวัดที่ควรปรับปรุง เร่งด่วนแต่ละด้าน ดังต่อไปนี้ 1.ควำมสำมำรถด้ำนภำษำ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ตัวชี้วัด
1.บอกความหมายของคาและประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 54.25 2.บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 50.33* 3.ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 46.00* 4.บอกเล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง ดู อ่าน อย่างง่าย ๆ 60.20 5.คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 46.50* 6.สื่อสารความรู้ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 52.57 รวม 50.74 หมำยเหตุ * คือ ตั ว ชี้วั ด ที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง เร่ ง ด่ ว น เนื่ อ งจากมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้อ ยละต่ ากว่ าคะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศ ตัวชี้วัดที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยรำยตัวชี้วัดกับคะแนนเฉลี่ย รวมด้ำนภำษำระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ (เรียงจากตัวชี้วัดที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) 1. ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 2. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง ดู อ่าน 3. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์
80
2.ควำมสำมำรถด้ำนคำนวณ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ตัวชี้วัด
1.จานวนและการดาเนินการ 40.50* 2.การวัด 41.23* 3.เรขาคณิต 43.00 4.พีชคณิต 47.75 5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 43.00 รวม 42.17 หมำยเหตุ * คือ ตั ว ชี้วั ด ที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง เร่ ง ด่ ว น เนื่ อ งจากมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้อ ยละต่ ากว่ าคะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศ ตัวชี้วัดที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยรำยตัวชี้วัดกับคะแนนเฉลี่ย รวมด้ำนคำนวณระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ (เรียงจากตัวชี้วัดที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) 1. จานวนและการดาเนินการ 2. การวัด 3.ควำมสำมำรถด้ำนเหตุผล คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ตัวชี้วัด
1.มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูล สถานการณ์หรือสารสนเทศ 55.20 2.วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศ 52.56 3.สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ออกแบบ วางแผน 46.38* 4.ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหา 44.77* รวม 48.60 หมำยเหตุ * คือ ตั ว ชี้วั ด ที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง เร่ ง ด่ ว น เนื่ อ งจากมี ค ะแนนเฉลี่ ย ร้อ ยละต่ ากว่ าคะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศ ตัวชี้วัดที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยรำยตัวชี้วัดกับคะแนนเฉลี่ย รวมด้ำนเหตุระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ (เรียงจากตัวชี้วัดที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) 1. ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหา 2. สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ออกแบบวางแผน
81
มำตรฐำนที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของแต่ละกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (ในภำพรวมของสังกัด) จำกผลกำรทดสอบ O-NET ปีกำรศึกษำ 2556 การทดสอบทางการศึก ษาระดั บ ชาติ ขั้น พื้ นฐาน (O-NET) ปี การศึ กษา 2556 ยึ ดหลั กสู ตร แกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 เป็ น กรอบในการประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น โดยมีรายละเอียดคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐาน รวมทั้งมาตรฐานที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 45.97* 38.46* 58.84
มำตรฐำน
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ 33.99* 34.88* และเขี ยนเรื่ องราวในรู ปแบบต่ าง ๆ เขี ย นรายงานข้ อ มู ล สารสนเทศและรายงานการศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า ง มี ประสิทธิภาพ ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดง 57.06 27.89* ความรู้ ความคิด และความรู้ สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมี วิจารณญาณและสร้างสรรค์ ท 4.1 เข้ า ใจธรรมชาติ ข องภาษาและหลั ก ภาษาไทย การ 44.28* 36.61* เปลี่ ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทาง ภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ 40.49* 31.65* วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตจริง หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
82
52.12
56.47 38.53* 44.13*
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลั กภาษาไทย การเปลี่ ยนแปลงของภาษาและพลั งของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึ ก ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลั กภาษาไทย การเปลี่ ยนแปลงของภาษาและพลั งของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลั กภาษาไทย การเปลี่ ยนแปลงของภาษาและพลั งของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
83
2. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 29.38* 19.41*
มำตรฐำน
ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน ในชีวิตจริง ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนิ นการของจ านวนและความ 36.91* 23.90* สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการด าเนิ น การต่ า ง ๆ และสามารถใช้ การดาเนินการในการแก้ปัญหา ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา 45.18* 21.72* ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ 54.62 27.14* ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดวัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ 28.03* ต้องการวัด ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 34.80* 41.24* ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 36.61* 18.66* ค 3.2 ใช้ ก ารนึ ก ภาพ (visualization) ใช้ เ หตุ ผ ลเกี่ ย วกั บ ปริ ภู มิ 60.58 35.20* (spatial reasoning) และใช้ แ บบจ าลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์ แบบรู ป (pattern) ความสั มพันธ์ และ 18.28* 50.21 ฟังก์ชัน ค 4.2 ใช้นิ พจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ 37.86* 40.54* (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจน แปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 27.30* 43.78* ค 5.2 ใช้ วิ ธี ก ารทางสถิ ติ แ ละความรู้ เ กี่ ย วกั บ ความน่ า จะเป็ น ใน 25.28* 45.84* การคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร 7.49* การสื่ อ ความหมายทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละการน าเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
84
10.09* 19.06* 10.76* 26.29* 32.26* 26.75* 21.82* 20.87* 15.14* -
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และ การนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดวัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ค 3.2 ใช้ ก ารนึ ก ภาพ (visualization) ใช้ เ หตุ ผ ลเกี่ ย วกั บ ปริ ภู มิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 85
ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดวัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
86
3. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ว 1.1
ว 1.2
ว 2.1
ว 2.2 ว 3.1 ว 3.2 ว 4.1 ว 4.2 ว 5.1
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ มำตรฐำน รำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ 47.08* 32.43* 43.97* ของระบบต่ า ง ๆ ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ท างานสั ม พั นธ์ กั น มี ก ระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต เข้ า ใจกระบวนการและความส าคั ญ ของการถ่ า ยทอดลั ก ษณะ 47.05* 57.04 54.88 ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพที่ มี ผ ลกระทบต่ อ มนุ ษ ย์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต 47.30* 41.36* 38.52* ความสั มพั นธ์ ระหว่ างสิ่ งมี ชี วิ ตต่ าง ๆ ในระบบนิ เวศ มี กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจความสาคัญของทรั พยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 41.14* 25.25* ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ประเทศ และโลกน าความรู้ ไ ปใช้ ในในการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง 32.62* 35.33* 26.48* และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการเปลี่ ย นแปลงสถานะของสาร 41.22* 36.52* 31.63* การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ 37.80* 51.10 26.32* มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ 43.08* 41.18* 17.87* สืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาไปใช้ ประโยชน์ เข้าใจความสั มพั นธ์ระหว่ างพลั งงานกั บการดารงชี วิต การเปลี่ ยนรู ป 45.06* 30.03* 31.79* พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อ ชีวิตและสิ่ งแวดล้ อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่ เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 87
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ รำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6
มำตรฐำน
ว 6.1 เข้ า ใจกระบวนการต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนผิ ว โลกและภายในโลก 32.74* 29.92* ความสั ม พั น ธ์ ข องกระบวนการต่ า ง ๆ ที่ มี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ แ ละน าความรู้ ไ ปใช้ ประโยชน์ ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ 32.22* 49.84* ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา 37.55* 38.55* ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
88
31.35*
30.86*
33.14*
34.77*
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ว 7.1 เข้าใจวิวัฒ นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็ กซีและเอกภพการปฏิสั มพันธ์ภ ายในระบบสุ ริยะ และผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 6.1 เข้ าใจกระบวนการต่ าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นบนผิ วโลกและภายในโลก ความสั มพั นธ์ ของกระบวนการต่ าง ๆ ที่มีผ ลต่อการเปลี่ ย นแปลงภูมิอากาศ ภู มิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 8.1 ใช้ กระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปั ญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ว 3.2 เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการเปลี่ ย นแปลงสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 4.2 เข้าใจลั กษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 1.2 เข้ าใจกระบวนการและความส าคั ญของการถ่ ายทอดลั กษณะทางพั นธุ กรรม วิ วั ฒ นาการ ของสิ่ งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้ อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 1.1 เข้ าใจหน่ วยพื้ นฐานของสิ่ งมี ชี วิ ต ความสั มพั นธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ ของระบบต่ าง ๆ ของสิ่ งมี ชี วิ ตที่ ท างานสั มพั นธ์ กั น มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และน าความรู้ ไปใช้ ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 89
ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่ งมี ชี วิ ตต่ าง ๆ ในระบบนิ เ วศ มี กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ว 6.1 เข้ าใจกระบวนการต่ าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นบนผิ วโลกและภายในโลก ความสั มพั นธ์ ของกระบวนการต่ าง ๆ ที่มีผ ลต่อการเปลี่ ย นแปลงภูมิอากาศ ภูมิป ระเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 1.1 เข้ าใจหน่ วยพื้ นฐานของสิ่ งมี ชี วิ ต ความสั มพั นธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ ของระบบต่ าง ๆ ของสิ่ งมี ชี วิ ตที่ ท างานสั มพั นธ์ กั น มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และน าความรู้ ไปใช้ ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 3.2 เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการเปลี่ ย นแปลงสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้ กระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปั ญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ว 4.2 เข้าใจลั กษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์ ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่ งมี ชี วิ ตต่ าง ๆ ในระบบนิ เ วศ มี กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 7.1 เข้าใจวิวัฒ นาการของระบบสุ ริ ยะ กาแล็ กซีและเอกภพการปฏิสั มพันธ์ภ ายในระบบสุ ริยะ และผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
90
มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์ ว 2.2 เข้ า ใจความส าคั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ นระดั บ ท้ อ งถิ่ น ประเทศ และโลกนาความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 7.1 เข้าใจวิวัฒ นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็ กซีและเอกภพการปฏิสั มพันธ์ภ ายในระบบสุ ริยะ และผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เ รียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 6.1 เข้ าใจกระบวนการต่ าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นบนผิ วโลกและภายในโลก ความสั มพั นธ์ ของกระบวนการต่ าง ๆ ที่มีผ ลต่อการเปลี่ ย นแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 3.2 เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการเปลี่ ย นแปลงสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีก ระบวนการสื บเสาะหาความรู้และจิ ตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว 8.1 ใช้ กระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปั ญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่ งมี ชี วิ ตต่ าง ๆ ในระบบนิ เ วศ มี กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ และจิ ตวิ ทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
91
ว 1.1 เข้ าใจหน่ วยพื้ นฐานของสิ่ งมี ชี วิ ต ความสั มพั นธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ ของระบบต่ าง ๆ ของสิ่ งมี ชี วิ ตที่ ท างานสั มพั นธ์ กั น มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และน าความรู้ ไปใช้ ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต 4. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม มำตรฐำน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ ต นนั บ ถื อและศาสนาอื่ น มี ศรั ทธาที่ ถู ก ต้ อ ง ยึ ด มั่ น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ส 1.2 เข้ า ใจตระหนั ก และปฏิ บั ติ ตนเป็ น ศาสนิ กชนที่ ดี และธ ารงรั ก ษา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรั กษาประเพณี และวั ฒ นธรรมไทย ด ารงชี วิ ตอยู่ ร่ ว มกั น ในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข ส 2.2 เข้ าใจระบบการเมื องการปกครองในสั งคมปั จจุ บั น ยึ ดมั่ น ศรั ทธา และธ ารงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู่ จ ากั ด ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและคุ้ ม ค่ า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมี ดุลยภาพ ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิ ธี การทางประวั ติ ศาสตร์ มาวิ เคราะห์ เหตุ การณ์ ต่ าง ๆ อย่างเป็นระบบ ส 4.2 เข้ า ใจพั ฒ นาการของมนุ ษ ยชาติ จ ากอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ในด้ า น ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนัก ถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี ผลต่ อ กั น และกั น ในระบบของธรรมชาติ ใช้ แ ผนที่ แ ละเครื่ อ งมื อ ทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ 92
คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 45.70* 44.02* 36.04* 63.80
68.94
33.25*
43.83*
57.35
32.72*
49.35*
45.82*
44.88*
66.19
39.14*
54.21
40.63*
35.08*
33.21*
56.78
76.40
35.36*
43.42*
33.56*
34.81*
38.01*
39.61*
38.23*
51.30
51.30
43.54*
คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 54.28 52.98 32.23*
มำตรฐำน
ส 5.2 เข้ าใจปฏิ สั มพั น ธ์ ร ะหว่ างมนุ ษย์ กั บสภาพแวดล้ อมทางกายภาพ ที่ ก่ อให้ เกิ ดการสร้ างสรรค์ วั ฒ นธรรม มี จิ ตส านึ ก และมี ส่ ว นร่ ว ม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือ กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ส 2.1 เข้าใจและปฏิบั ติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลั กธรรมของพระพุ ทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถื อ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือ กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่จากัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย 93
ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลั กธรรมของพระพุ ทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถื อ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบั ติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบัน ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ส 1.2 เข้าใจตระหนักและปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีและธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ส 4.1 เข้ าใจความหมาย ความส าคั ญ ของเวลาและยุ ค สมั ยทางประวั ติ ศ าสตร์ สามารถใช้ วิ ธี ก าร ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลั กธรรมของพระพุ ท ธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถื อ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจและธารงความเป็นไทย ส 5.1 เข้าใจลั กษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
94
5. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 30.07* 24.26* 29.51*
มำตรฐำน
ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล 31.70* 29.84* ข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมี ประสิทธิภาพ ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็น 36.89* 27.30* ในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ 39.18* 30.57* เจ้าของภาษาและนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ 32.94* 26.22* วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระ 31.55* การเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหา ความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา 31.87* ชุมชน และสังคม ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ 33.97* การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
27.00* 21.91* 11.35* 25.24* 22.71* 43.49*
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัดกับ คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ต 3.1 ใช้ ภ าษาต่า งประเทศในการเชื่อ มโยงความรู้ กับ กลุ่ มสาระการเรีย นรู้ อื่น และเป็ นพื้ นฐาน ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม 95
ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษา และวัฒนธรรมไทยและนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ต 4.2 ใช้ ภ าษาต่ า งประเทศเป็ น เครื่ อ งมื อ พื้ น ฐานในการศึ ก ษาต่ อ การประกอบอาชี พ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสม กับกาลเทศะ มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษา และวัฒนธรรมไทยและนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสม กับกาลเทศะ มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษา และวัฒนธรรมไทยและนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสม กับกาลเทศะ ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ต 3.1 ใช้ ภ าษาต่า งประเทศในการเชื่อ มโยงความรู้ กับ กลุ่ มสาระการเรีย นรู้ อื่น และเป็ นพื้ นฐาน ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ต 4.2 ใช้ ภ าษาต่ า งประเทศเป็ น เครื่ อ งมื อ พื้ น ฐานในการศึ ก ษาต่ อ การประกอบอาชี พ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 96
6. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ มำตรฐำน
คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 56.08 67.35 46.44*
พ 1.1 เข้ า ใจธรรมชาติ ข องการเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาการ ของมนุษย์ พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมี 49.42* 73.91 ทักษะในการดาเนินชีวิต พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่น 55.64 59.41 เกม และกีฬา พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติ 39.22* 66.88 เป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มี น้ าใจนั ก กี ฬ า มี จิ ต วิ ญ ญาณในการแข่ ง ขั น และชื่ น ชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารง 54.63 51.14 สุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ สุขภาพ พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 44.55* 45.62* อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติดและความรุนแรง หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
59.12 61.45 46.65*
49.14* 52.45
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ย งปัจจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุ ขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดาเนินชีวิต มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ย งปัจจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุ ขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง 97
มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้าง เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ 7. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 29.89* 54.50 42.06*
มำตรฐำน
ศ 1.1 สร้ า งสรรค์ งานทั ศนศิ ล ป์ ต ามจิ น ตนาการ และความคิ ด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ศ 1.2 เข้าใจความสั มพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ 40.05* 27.70* วัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดก ทาง วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ 41.12* 50.34 วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ต่ อ ด น ต รี อ ย่ า ง อิ ส ร ะ ชื่ น ช ม แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ชีวิตประจาวัน ศ 2.2 เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งดนตรี ประวั ติ ศ าสตร์ และ 40.85* 46.23* วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ศ 3.1 เข้ า ใจ และแสดงออกทางนาฏศิ ล ป์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ 62.24 30.53* วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ศ 3.2 เข้ าใจความสั มพั นธ์ ระหว่ างนาฏศิ ลป์ ประวั ติ ศาสตร์ และ 52.80 16.36* วัฒนธรรมเห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล บูรณาการ ศ.1.2, ศ.2.2 และ ศ.3.2 55.87 หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
98
29.94* 28.92*
23.53* 38.11* 40.80*
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิ ล ป์ ถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก ความคิ ด ต่ อ งานศิ ล ปะอย่ า งอิ ส ระ ชื่ น ชมและประยุ ก ต์ ใ ช้ ในชีวิตประจาวัน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ศ 2.2 เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งดนตรี ประวั ติ ศ าสตร์ และวั ฒ นธรรม เห็ น คุ ณ ค่ า ของดนตรี ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ร ะหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒ นธรรมเห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ศ 2.2 เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งดนตรี ประวั ติ ศ าสตร์ และวั ฒ นธรรม เห็ น คุ ณ ค่ า ขอ งดนตรี ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ศ 2.2 เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งดนตรี ประวั ติ ศ าสตร์ และวั ฒ นธรรม เห็ น คุ ณ ค่ า ของดนตรี ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 99
ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ร ะหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒ นธรรมเห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจิ นตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 8. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี คะแนนเฉลี่ยร้อยละรำยระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 60.20 48.84* 57.33
มำตรฐำน
ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการ ท างาน ทั ก ษะการจั ด การ ทั ก ษะกระบวนการแก้ ปั ญ หา ทั ก ษะการท างานร่ ว มกั น และทั ก ษะการแสวงหาความรู้ มี คุ ณ ธรรม และลั ก ษณะนิ สั ย ในการท างาน มี จิ ต ส านึ ก ในการใช้ พ ลั ง งาน ทรั พ ยากร และสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ การดารงชีวิตและครอบครัว ง 2.1 เข้ า ใจเทคโนโลยี แ ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบ 52.08 39.77* และสร้ า งสิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ หรื อ วิ ธี ก าร ตามกระบวนการ เทคโนโลยี อย่ า งมี ความคิ ดสร้ างสรรค์ เลื อ กใช้ เทคโนโลยี ในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สั งคมสิ่ งแวดล้อมและมีส่ วนร่ว ม ในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 32.42* 34.93* ในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทาง 66.73 54.69 ในงานอาชีพ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ หมำยเหตุ * คือ มำตรฐำนที่ต้องปรับปรุง เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ากว่า 50
100
39.97*
25.33*
72.61
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ที่ควรปรับปรุงเร่งด่วน โดยพิจำรณำจำกผลต่ำงของคะแนนเฉลี่ยระดับสังกัด กับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ มีดังต่อไปนี้ ประถมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ง 3.1 เข้าใจ เห็ นคุณค่าการใช้กระบวนการเทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม มัธยมศึกษำปีที่ 3 (เรียงจากมาตรฐานที่มผี ลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ง 3.1 เข้ าใจ เห็ น คุณค่ าการใช้ก ระบวนการเทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื บค้ นข้อมู ล การเรี ยนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่ างมีความคิดสร้างสรรค์ เลื อกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ง 1.1 เข้ า ใจการท างาน มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ มี ทั ก ษะกระบวนการท างาน ทั ก ษะการจั ด การ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะ นิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว มัธยมศึกษำปีที่ 6 (เรียงจากมาตรฐานที่มีผลต่างมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด) ง 3.1 เข้ าใจ เห็ น คุณค่ าการใช้ก ระบวนการเทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื บค้ นข้อมู ล การเรี ยนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่ างมีความคิ ดสร้างสรรค์ เลื อกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
101
ภำคผนวก ข (1) คะแนนเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ของการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) จาแนกตามสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพป.กระบี่ สพป.กรุงเทพมหานคร สพป.กาญจนบุรี เขต 1 สพป.กาญจนบุรี เขต 2 สพป.กาญจนบุรี เขต 3 สพป.กาญจนบุรี เขต 4 สพป.กาฬสินธุ์ เขต 1 สพป.กาฬสินธุ์ เขต 2 สพป.กาฬสินธุ์ เขต 3 สพป.กาแพงเพชร เขต 1 สพป.กาแพงเพชร เขต 2 สพป.ขอนแก่น เขต 1 สพป.ขอนแก่น เขต 2 สพป.ขอนแก่น เขต 3 สพป.ขอนแก่น เขต 4 สพป.ขอนแก่น เขต 5 สพป.จันทบุรี เขต 1 สพป.จันทบุรี เขต 2 สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 1 สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 สพป.ชลบุรี เขต 1 สพป.ชลบุรี เขต 2 สพป.ชลบุรี เขต 3 สพป.ชัยนาท สพป.ชัยภูมิ เขต 1 สพป.ชัยภูมิ เขต 2 สพป.ชัยภูมิ เขต 3 สพป.ชุมพร เขต 1 สพป.ชุมพร เขต 2 สพป.เชียงราย เขต 1 สพป.เชียงราย เขต 2 สพป.เชียงราย เขต 3 สพป.เชียงราย เขต 4 สพป.เชียงใหม่ เขต 1
จานวน โรงเรียน 218 38 143 102 91 92 176 171 194 205 190 159 206 190 178 254 90 112 143 155 82 112 81 182 245 263 194 119 127 107 163 154 151 92
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 4,651 52.57 43.11 50.74 48.82 3,259 58.86 47.29 57.43 54.52 2,526 45.97 37.51 45.23 42.90 1,899 49.37 41.09 47.14 45.87 2,374 44.37 35.63 42.00 40.67 1,672 51.14 44.63 49.89 48.55 2,464 49.37 39.86 46.60 45.27 2,058 52.23 43.17 48.83 48.08 2,800 50.69 42.57 47.14 46.80 3,577 50.14 41.89 47.40 46.47 2,396 47.46 39.46 44.74 43.89 2,493 51.09 43.20 48.11 47.47 1,918 52.03 41.20 47.69 46.98 1,831 49.17 41.51 46.89 45.86 2,043 53.20 44.66 48.40 48.75 3,288 51.26 43.46 47.83 47.51 1,960 57.83 49.80 56.23 54.61 1,940 50.49 40.77 49.14 46.80 3,458 55.86 47.26 54.09 52.40 2,928 48.29 39.94 47.80 45.35 2,667 52.57 43.03 52.26 49.29 2,550 51.71 41.51 52.14 48.46 3,724 46.20 36.77 45.63 42.87 2,462 49.54 38.94 46.03 44.84 3,318 57.97 50.74 56.00 54.90 3,773 51.26 48.71 51.43 50.46 2,563 45.03 36.80 42.71 41.50 2,317 55.54 48.63 54.89 53.02 2,199 51.49 41.51 50.74 47.90 1,948 52.74 43.91 50.34 49.00 2,259 47.54 40.40 45.11 44.35 3,181 47.49 41.97 45.26 44.90 1,898 51.09 45.14 48.97 48.40 2,049 55.69 45.34 53.37 51.47 104
ที่ 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพป.เชียงใหม่ เขต 2 สพป.เชียงใหม่ เขต 3 สพป.เชียงใหม่ เขต 4 สพป.เชียงใหม่ เขต 5 สพป.เชียงใหม่ เขต 6 สพป.ตรัง เขต 1 สพป.ตรัง เขต 2 สพป.ตราด สพป.ตาก เขต 1 สพป.ตาก เขต 2 สพป.นครนายก สพป.นครปฐม เขต 1 สพป.นครปฐม เขต 2 สพป.นครพนม เขต 1 สพป.นครพนม เขต 2 สพป.นครราชสีมา เขต 1 สพป.นครราชสีมา เขต 2 สพป.นครราชสีมา เขต 3 สพป.นครราชสีมา เขต 4 สพป.นครราชสีมา เขต 5 สพป.นครราชสีมา เขต 6 สพป.นครราชสีมา เขต 7 สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 สพป.นครศรีธรรมราช เขต 2 สพป.นครศรีธรรมราช เขต 3 สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4 สพป.นครสวรรค์ เขต 1 สพป.นครสวรรค์ เขต 2 สพป.นครสวรรค์ เขต 3 สพป.นนทบุรี เขต 1 สพป.นนทบุรี เขต 2 สพป.นราธิวาส เขต 1 สพป.นราธิวาส เขต 2 สพป.นราธิวาส เขต 3
จานวน โรงเรียน 155 163 98 101 104 137 142 113 108 143 133 124 122 258 190 144 176 184 182 218 179 222 124 201 247 142 164 151 200 33 64 152 120 77
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 2,284 51.80 43.03 48.40 47.74 3,692 44.23 36.49 41.77 40.83 1,473 54.86 44.29 51.66 50.28 1,548 41.06 33.20 38.37 37.53 1,347 46.37 35.97 41.17 41.17 2,536 54.34 46.69 53.86 51.63 2,563 51.49 41.51 49.20 47.40 2,349 51.51 42.23 49.43 47.72 1,623 49.83 41.31 45.43 45.52 4,486 41.43 35.09 39.26 38.59 2,224 48.29 39.06 47.86 45.06 3,695 54.57 46.89 53.09 51.50 3,076 53.17 44.20 51.77 49.72 3,933 50.11 42.77 49.80 47.56 3,127 46.54 38.46 43.89 42.97 4,168 54.26 44.49 52.66 50.47 2,606 49.57 40.29 48.06 45.96 2,573 48.14 38.49 45.69 44.10 2,852 47.46 38.09 45.91 43.82 2,732 48.03 39.94 46.03 44.66 2,027 46.80 40.37 45.40 44.19 3,382 50.66 41.40 47.49 46.52 2,268 56.63 45.40 54.40 52.13 3,559 50.17 41.31 49.11 46.88 3,322 50.77 42.43 49.17 47.46 2,829 54.69 44.31 52.49 50.50 2,232 51.80 43.91 50.66 48.79 2,038 46.43 37.69 45.06 43.06 2,385 48.86 40.71 47.51 45.70 1,987 54.77 41.74 52.89 49.80 2,374 51.83 39.66 50.37 47.29 3,633 46.43 41.51 44.43 44.11 3,410 50.40 45.06 46.66 47.36 2,088 34.17 28.91 31.60 31.57 105
ที่ 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพป.น่าน เขต 1 สพป.น่าน เขต 2 สพป.บึงกาฬ สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 สพป.บุรีรัมย์ เขต 3 สพป.บุรีรัมย์ เขต 4 สพป.ปทุมธานี เขต 1 สพป.ปทุมธานี เขต 2 สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 สพป.ปราจีนบุรี เขต 1 สพป.ปราจีนบุรี เขต 2 สพป.ปัตตานี เขต 1 สพป.ปัตตานี เขต 2 สพป.ปัตตานี เขต 3 สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 สพป.พะเยา เขต 1 สพป.พะเยา เขต 2 สพป.พังงา สพป.พัทลุง เขต 1 สพป.พัทลุง เขต 2 สพป.พิจิตร เขต 1 สพป.พิจิตร เขต 2 สพป.พิษณุโลก เขต 1 สพป.พิษณุโลก เขต 2 สพป.พิษณุโลก เขต 3 สพป.เพชรบุรี เขต 1 สพป.เพชรบุรี เขต 2 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3 สพป.แพร่ เขต 1
จานวน โรงเรียน 182 146 216 202 230 218 191 103 67 123 96 125 113 140 115 67 187 163 98 137 158 123 117 158 149 124 134 169 98 126 152 155 196 104
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 1,951 53.51 43.80 49.06 48.79 1,627 53.86 46.03 50.03 49.97 4,422 43.54 35.86 41.86 40.42 3,241 50.49 41.86 46.74 46.36 4,096 50.71 42.97 46.34 46.67 4,325 47.20 39.34 45.29 43.93 2,855 49.89 41.00 46.49 45.78 3,936 49.09 37.49 47.86 44.81 2,615 50.86 40.80 50.23 47.30 2,505 55.80 47.89 53.57 52.41 1,653 49.40 41.14 47.91 46.15 1,912 47.74 38.94 46.80 44.50 1,360 47.74 38.11 45.60 43.82 3,509 33.46 30.03 32.86 32.11 1,990 40.46 35.31 38.74 38.17 1,225 40.83 36.69 38.09 38.54 3,617 50.23 40.09 48.09 46.12 2,590 48.14 37.94 46.66 44.25 1,059 53.20 46.11 50.71 50.01 1,624 52.46 43.63 48.74 48.28 2,524 51.03 42.20 50.00 47.74 1,799 56.63 49.09 55.40 53.70 2,022 58.63 49.20 56.23 54.68 2,055 51.31 45.66 49.77 48.91 1,796 47.23 37.23 44.91 43.12 2,290 50.54 40.17 48.26 46.32 1,727 52.29 42.46 49.57 48.10 2,000 49.57 42.49 46.91 46.31 1,590 57.00 49.69 57.29 54.66 1,774 52.77 47.46 51.80 50.68 2,115 54.26 45.37 51.83 50.49 1,947 51.86 47.03 50.29 49.72 2,936 48.20 40.54 46.11 44.95 1,311 54.77 44.97 52.43 50.72 106
ที่ 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพป.แพร่ เขต 2 สพป.ภูเก็ต สพป.มหาสารคาม เขต 1 สพป.มหาสารคาม เขต 2 สพป.มหาสารคาม เขต 3 สพป.มุกดาหาร สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 1 สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 2 สพป.ยโสธร เขต 1 สพป.ยโสธร เขต 2 สพป.ยะลา เขต 1 สพป.ยะลา เขต 2 สพป.ยะลา เขต 3 สพป.ร้อยเอ็ด เขต 1 สพป.ร้อยเอ็ด เขต 2 สพป.ร้อยเอ็ด เขต 3 สพป.ระนอง สพป.ระยอง เขต 1 สพป.ระยอง เขต 2 สพป.ราชบุรี เขต 1 สพป.ราชบุรี เขต 2 สพป.ลพบุรี เขต 1 สพป.ลพบุรี เขต 2 สพป.ลาปาง เขต 1 สพป.ลาปาง เขต 2 สพป.ลาปาง เขต 3 สพป.ลาพูน เขต 1 สพป.ลาพูน เขต 2 สพป.เลย เขต 1 สพป.เลย เขต 2 สพป.เลย เขต 3 สพป.ศรีสะเกษ เขต 1 สพป.ศรีสะเกษ เขต 2 สพป.ศรีสะเกษ เขต 3
จานวน โรงเรียน 122 48 189 219 147 241 128 177 191 184 113 69 36 229 330 214 86 115 88 181 149 173 142 114 137 93 132 89 161 161 106 258 181 199
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 924 53.17 42.43 51.63 49.08 1,845 50.40 40.69 49.17 46.75 2,460 50.11 40.51 46.46 45.69 2,795 55.74 46.74 52.69 51.72 1,717 47.34 39.66 45.40 44.13 3,107 43.20 34.94 40.46 39.54 1,543 47.91 40.63 46.06 44.87 1,721 39.94 36.54 40.00 38.83 2,125 63.86 57.97 64.20 62.02 2,071 56.54 46.31 50.46 51.10 2,760 43.63 36.46 41.51 40.53 1,963 33.97 31.29 35.06 33.43 1,006 37.89 32.51 36.46 35.63 2,994 60.03 52.86 56.51 56.47 4,143 61.51 56.71 60.51 59.58 3,034 51.94 43.63 50.40 48.66 1,698 48.60 39.69 48.91 45.73 4,760 53.29 42.91 51.69 49.29 1,917 55.71 46.20 54.06 51.99 3,762 50.80 42.11 48.94 47.29 2,587 48.97 39.63 47.03 45.22 2,340 50.43 39.14 47.86 45.80 2,074 46.00 36.60 44.89 42.50 1,848 52.71 41.03 48.86 47.53 1,268 50.49 41.37 48.29 46.70 746 49.89 41.77 46.23 45.96 1,255 52.69 43.77 51.40 49.29 941 49.91 42.69 47.00 46.54 2,410 54.51 46.91 51.23 50.88 2,002 53.46 46.11 50.89 50.16 862 59.57 50.80 53.00 54.45 3,662 54.09 45.57 51.69 50.45 1,916 54.34 43.09 50.34 49.26 2,833 45.80 35.23 42.77 41.27 107
ที่ 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สพป.สกลนคร เขต 1 สพป.สกลนคร เขต 2 สพป.สกลนคร เขต 3 สพป.สงขลา เขต 1 สพป.สงขลา เขต 2 สพป.สงขลา เขต 3 สพป.สตูล สพป.สมุทรปราการ เขต 1 สพป.สมุทรปราการ เขต 2 สพป.สมุทรสงคราม สพป.สมุทรสาคร สพป.สระแก้ว เขต 1 สพป.สระแก้ว เขต 2 สพป.สระบุรี เขต 1 สพป.สระบุรี เขต 2 สพป.สิงห์บุรี สพป.สุโขทัย เขต 1 สพป.สุโขทัย เขต 2 สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 สพป.สุพรรณบุรี เขต 2 สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 2 สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 3 สพป.สุรินทร์ เขต 1 สพป.สุรินทร์ เขต 2 สพป.สุรินทร์ เขต 3 สพป.หนองคาย เขต 1 สพป.หนองคาย เขต 2 สพป.หนองบัวลาภู เขต 1 สพป.หนองบัวลาภู เขต 2 สพป.อ่างทอง สพป.อานาจเจริญ
จานวน โรงเรียน 212 176 255 180 143 132 205 163 72 71 74 104 152 127 127 141 116 129 170 142 136 126 123 191 157 295 222 239 158 104 214 103 149 253
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 3,381 48.34 37.57 45.23 43.71 3,879 50.77 41.54 49.63 47.31 4,027 48.57 38.17 45.26 43.99 3,393 58.34 52.51 55.09 55.31 2,834 54.23 42.17 51.51 49.30 2,290 53.31 44.26 52.46 50.01 4,495 43.23 33.94 40.37 39.18 2,730 49.29 41.66 47.23 46.06 4,238 50.66 38.60 49.63 46.30 3,244 52.60 40.71 51.49 48.26 1,218 55.14 45.71 52.71 51.18 4,239 51.17 40.20 49.80 47.06 2,934 52.26 42.46 50.26 48.32 2,090 48.00 38.89 45.37 44.09 2,182 50.60 41.09 48.40 46.70 2,321 52.71 42.54 51.14 48.80 1,593 53.66 44.91 52.23 50.28 2,124 49.31 42.31 46.03 45.89 2,056 52.20 41.34 50.31 47.95 2,420 57.66 47.46 54.43 53.18 2,456 51.00 42.91 49.14 47.70 2,200 53.94 43.60 52.23 49.92 2,337 53.80 42.03 52.26 49.36 2,669 53.03 43.43 52.51 49.65 2,420 53.26 43.49 52.17 49.64 5,432 54.29 45.66 51.31 50.42 2,923 51.77 43.60 48.20 47.86 4,930 52.23 43.06 48.57 47.95 2,338 54.77 46.09 52.20 51.01 1,597 49.17 41.11 45.09 45.12 2,649 52.57 46.40 51.17 50.05 1,872 48.17 38.63 45.77 44.19 2,308 54.49 43.34 51.11 49.65 3,426 45.03 34.77 41.74 40.52 108
ที่ 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187
จานวน โรงเรียน สพป.อุดรธานี เขต 1 230 สพป.อุดรธานี เขต 2 199 สพป.อุดรธานี เขต 3 214 สพป.อุดรธานี เขต 4 160 สพป.อุตรดิตถ์ เขต 1 172 สพป.อุตรดิตถ์ เขต 2 97 สพป.อุทัยธานี เขต 1 86 สพป.อุทัยธานี เขต 2 126 สพป.อุบลราชธานี เขต 1 247 สพป.อุบลราชธานี เขต 2 213 สพป.อุบลราชธานี เขต 3 213 สพป.อุบลราชธานี เขต 4 146 สพป.อุบลราชธานี เขต 5 255 สพม.เขต 4 (สพป.ปทุมธานี เขต 1) 1 สพม.เขต 17 (สพป.ตราด) 1 สพม.เขต 18 (สพป.ชลบุรี เขต 3) 1 สพม.เขต 25 (สพป.ขอนแก่น เขต 1) 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
จานวน คะแนนเฉลี่ยร้อยละตามความสามารถ นักเรียน ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล รวม 4,056 53.89 45.23 51.29 50.13 2,419 62.77 59.80 61.77 61.45 3,421 53.43 47.31 50.97 50.57 2,597 58.14 52.20 55.14 55.16 2,063 51.34 42.06 48.31 47.24 899 47.34 38.77 46.29 44.13 951 46.86 36.11 45.69 42.88 1,982 52.80 47.51 52.34 50.89 4,041 51.63 41.31 48.69 47.21 3,093 48.80 38.77 45.31 44.30 3,721 54.77 47.57 52.94 51.76 1,927 49.43 41.17 47.57 46.07 5,196 45.94 37.20 43.54 42.23 54 54.23 37.20 52.06 47.83 26 47.69 49.23 51.09 49.34 50 48.06 38.91 53.77 46.91 4 33.57 27.14 38.57 33.10
109
ภำคผนวก ข (2) คะแนนเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ของการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) จาแนกตามสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
รวม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
กระบี่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี เขต 1 กาญจนบุรี เขต 2 กาญจนบุรี เขต 3 กาญจนบุรี เขต 4 กาฬสินธุ์ เขต 1 กาฬสินธุ์ เขต 2 กาฬสินธุ์ เขต 3 กาแพงเพชร เขต 1 กาแพงเพชร เขต 2 ขอนแก่น เขต 1 ขอนแก่น เขต 2 ขอนแก่น เขต 3 ขอนแก่น เขต 4 ขอนแก่น เขต 5 จันทบุรี เขต 1 จันทบุรี เขต 2 ฉะเชิงเทรา เขต 1 ฉะเชิงเทรา เขต 2 ชลบุรี เขต 1 ชลบุรี เขต 2 ชลบุรี เขต 3 ชัยนาท ชัยภูมิ เขต 1 ชัยภูมิ เขต 2 ชัยภูมิ เขต 3 ชุมพร เขต 1 ชุมพร เขต 2 เชียงราย เขต 1 เชียงราย เขต 2 เชียงราย เขต 3 เชียงราย เขต 4 เชียงใหม่ เขต 1 เชียงใหม่ เขต 2 เชียงใหม่ เขต 3 เชียงใหม่ เขต 4
44.06 50.12 43.27 43.66 41.73 44.29 41.15 41.11 42.86 43.95 45.05 44.17 43.92 41.73 42.94 43.07 48.56 44.74 46.17 42.13 46.37 45.17 43.30 43.00 44.69 42.33 43.26 46.89 45.49 47.41 45.06 42.86 44.76 46.91 45.60 41.69 45.68
50.95 60.33 50.83 50.42 49.00 51.28 47.63 46.65 48.60 50.97 53.12 51.37 50.30 47.55 48.55 48.83 56.53 53.55 53.36 50.20 54.26 53.25 51.77 50.80 50.32 47.89 49.93 55.63 53.85 55.65 52.09 49.37 50.86 54.54 53.50 47.98 54.10
54.74 62.59 55.11 56.64 53.45 57.93 51.20 51.80 52.86 55.85 57.26 55.43 55.86 53.19 53.28 53.22 61.49 58.13 56.46 53.74 58.74 58.82 55.45 52.79 53.88 51.97 58.39 61.01 59.85 59.35 56.67 51.91 55.51 58.23 57.25 51.67 58.39
44.02 53.88 43.45 43.90 41.19 45.42 40.95 40.43 42.03 44.39 44.94 44.62 43.23 41.22 42.58 42.46 51.07 45.34 46.98 42.37 47.27 46.36 43.48 43.34 44.51 41.49 43.81 48.82 46.59 48.99 45.47 42.15 44.74 48.02 45.96 41.18 46.88
36.06 48.95 35.85 36.34 32.86 37.05 32.00 32.52 34.00 37.80 37.17 36.49 34.72 33.05 34.95 34.46 47.10 37.44 40.51 34.90 39.96 38.67 34.40 36.13 38.74 33.49 37.08 42.54 37.87 41.90 38.45 34.48 37.72 41.12 38.64 33.79 38.54
41.01 48.79 40.10 40.46 37.98 42.83 37.90 36.87 39.32 41.32 41.28 41.00 39.75 38.28 39.31 39.66 47.16 41.25 44.08 39.26 42.44 42.93 39.58 40.19 40.41 38.49 39.65 45.42 43.12 45.94 43.02 39.60 43.02 43.95 43.54 38.78 43.99
112
47.82 58.64 48.16 48.58 45.74 49.27 46.37 46.05 47.37 48.69 50.03 50.20 48.88 45.78 48.25 47.61 56.83 50.99 51.67 46.50 52.02 50.98 48.31 48.01 49.31 45.94 48.66 54.23 52.23 54.04 50.35 46.29 48.79 53.28 51.18 44.63 51.96
32.86 47.72 30.57 30.69 27.84 34.94 29.44 27.63 28.99 32.80 31.04 33.78 28.89 28.22 30.70 30.25 41.72 31.45 37.13 30.22 37.39 34.70 30.64 32.62 34.51 30.19 29.77 36.37 33.06 39.18 32.27 30.36 32.68 37.91 32.28 28.73 35.52
44.64 53.92 43.72 44.40 40.89 45.80 41.88 40.78 42.25 43.70 44.57 44.53 43.53 41.99 42.64 42.55 49.13 45.16 46.49 42.03 46.97 46.39 44.38 43.19 44.23 41.62 43.75 48.44 47.25 48.48 45.81 42.33 44.58 48.19 45.71 42.16 46.86
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
รวม
38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
เชียงใหม่ เขต 5 เชียงใหม่ เขต 6 ตรัง เขต 1 ตรัง เขต 2 ตราด ตาก เขต 1 ตาก เขต 2 นครนายก นครปฐม เขต 1 นครปฐม เขต 2 นครพนม เขต 1 นครพนม เขต 2 นครราชสีมา เขต 1 นครราชสีมา เขต 2 นครราชสีมา เขต 3 นครราชสีมา เขต 4 นครราชสีมา เขต 5 นครราชสีมา เขต 6 นครราชสีมา เขต 7 นครศรีธรรมราช เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 2 นครศรีธรรมราช เขต 3 นครศรีธรรมราช เขต 4 นครสวรรค์ เขต 1 นครสวรรค์ เขต 2 นครสวรรค์ เขต 3 นนทบุรี เขต 1 นนทบุรี เขต 2 นราธิวาส เขต 1 นราธิวาส เขต 2 นราธิวาส เขต 3 น่าน เขต 1 น่าน เขต 2 บึงกาฬ บุรีรัมย์ เขต 1 บุรีรัมย์ เขต 2
40.22 41.16 46.23 44.75 45.84 43.91 39.58 44.97 46.53 46.95 44.64 43.04 46.84 44.76 43.03 43.63 43.05 44.72 44.81 48.02 43.89 44.46 46.04 45.93 41.53 43.94 47.58 45.85 41.45 38.20 32.84 47.05 47.77 41.77 42.24 43.50
45.63 46.34 54.00 51.41 53.39 51.84 45.49 52.31 55.15 55.00 45.25 46.24 55.42 53.24 50.91 52.30 50.46 50.24 52.68 55.98 50.96 51.55 52.93 51.42 49.37 49.75 57.36 54.94 44.84 42.88 35.30 53.66 54.29 48.00 48.50 50.44
50.67 50.48 59.77 58.17 57.54 56.10 50.46 57.03 59.16 59.56 47.72 51.15 60.03 59.23 55.83 57.29 55.72 56.79 58.57 60.79 56.46 56.63 58.88 54.33 54.17 53.93 60.08 58.14 46.30 45.41 35.17 59.59 59.83 52.75 53.89 56.85
39.97 40.12 47.06 44.81 46.27 43.94 39.20 45.13 48.53 47.88 43.77 41.74 49.23 45.39 43.55 44.02 43.05 44.34 45.43 49.10 43.97 44.72 46.53 46.28 41.93 43.79 49.21 46.60 43.27 38.62 32.27 48.26 48.70 41.00 41.80 43.76
31.69 32.23 40.26 36.95 40.12 35.23 30.54 37.95 43.64 39.76 40.59 34.27 42.09 38.43 35.23 35.09 34.31 37.71 36.54 42.05 35.62 36.71 39.14 41.68 32.95 37.33 39.65 37.27 41.14 32.55 28.07 41.05 42.50 32.08 32.99 35.93
37.90 37.79 43.20 41.26 42.72 41.63 36.52 41.14 44.54 44.19 42.95 38.61 45.59 40.54 40.89 40.19 39.34 41.23 41.93 45.09 41.08 41.57 42.62 43.82 38.72 40.17 44.86 42.85 41.51 37.07 32.26 44.84 46.43 37.94 38.00 39.89
44.01 44.49 51.80 49.72 51.37 48.11 42.55 50.01 53.26 53.35 49.57 46.62 54.78 50.91 48.08 48.82 48.03 49.28 50.80 54.63 48.87 50.56 51.93 51.64 46.78 49.24 55.10 52.03 45.50 40.39 33.97 54.01 54.07 45.29 46.81 48.97
113
28.90 28.29 33.79 31.27 33.26 31.12 28.53 33.47 38.26 36.45 39.49 32.77 40.64 30.73 30.35 29.90 29.68 30.90 31.75 36.72 30.13 30.78 33.93 37.49 29.45 32.99 39.24 34.13 42.87 34.79 29.26 37.77 36.37 28.93 29.69 30.74
40.70 40.17 47.42 44.93 45.90 43.60 39.92 44.15 47.66 47.77 39.98 41.18 48.47 45.31 44.06 44.93 43.84 43.87 46.36 49.48 44.73 45.46 46.73 43.95 42.48 42.98 49.84 47.58 42.52 37.66 31.32 48.07 48.36 41.24 42.26 43.73
ที่ 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109
เขตพื้นที่กำรศึกษำ บุรีรัมย์ เขต 3 บุรีรัมย์ เขต 4 ปทุมธานี เขต 1 ปทุมธานี เขต 2
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
43.73 42.50 43.56 44.85 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 46.74 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 43.83 ปราจีนบุรี เขต 1 45.01 ปราจีนบุรี เขต 2 43.50 ปัตตานี เขต 1 34.85 ปัตตานี เขต 2 35.28 ปัตตานี เขต 3 41.63 พระนครศรีอยุธยา เขต 1 43.63 พระนครศรีอยุธยา เขต 2 43.46 พะเยา เขต 1 47.79 พะเยา เขต 2 46.70 พังงา 45.16 พัทลุง เขต 1 50.07 พัทลุง เขต 2 48.56 พิจิตร เขต 1 41.07 พิจิตร เขต 2 42.33 พิษณุโลก เขต 1 46.26 พิษณุโลก เขต 2 43.81 พิษณุโลก เขต 3 43.75 เพชรบุรี เขต 1 46.53 เพชรบุรี เขต 2 44.68 เพชรบูรณ์ เขต 1 44.15 เพชรบูรณ์ เขต 2 41.79 เพชรบูรณ์ เขต 3 41.82 แพร่ เขต 1 47.79 แพร่ เขต 2 47.43 ภูเก็ต 44.65 มหาสารคาม เขต 1 44.21 มหาสารคาม เขต 2 42.95 มหาสารคาม เขต 3 43.44 มุกดาหาร 40.59 แม่ฮ่องสอน เขต 1 42.45
34.88 34.47 34.04 36.32 45.32 37.89 38.60 34.68 27.55 27.15 36.96 36.35 34.30 43.82 40.90 37.33 47.05 42.65 31.82 34.24 41.76 36.78 36.52 43.76 38.45 37.38 34.85 33.54 42.94 39.87 35.44 36.00 36.03 34.03 31.73 33.14
40.55 39.36 40.26 41.45 45.82 40.84 41.40 39.83 31.80 31.66 40.78 40.67 39.77 45.96 45.31 41.43 47.96 45.64 37.07 39.62 43.24 40.15 40.32 45.95 42.15 40.00 38.24 37.90 46.81 45.31 40.07 40.24 39.74 39.18 37.12 39.38
114
49.17 47.66 48.90 49.89 53.04 48.59 50.73 47.67 36.23 36.86 42.52 48.76 48.45 54.18 52.01 50.61 56.94 54.32 44.67 47.16 52.26 48.69 48.87 53.34 49.54 49.00 45.31 45.41 55.82 53.03 48.03 49.74 49.18 48.49 44.75 46.31
30.40 29.82 31.37 32.24 36.54 32.27 32.59 29.66 28.34 27.26 41.87 32.57 30.32 38.78 35.55 34.03 39.57 34.37 30.82 32.12 35.86 30.65 30.55 39.54 32.07 33.95 29.44 30.68 40.60 33.81 34.43 31.01 29.71 29.05 28.55 28.83
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
รวม
50.62 49.05 52.39 54.40 55.60 51.91 52.77 50.66 39.38 40.31 42.91 52.52 51.84 56.05 53.28 52.87 56.75 55.83 48.02 49.59 53.83 51.18 51.05 55.48 51.40 51.61 47.00 47.34 55.31 54.93 52.55 51.00 50.49 49.85 46.66 48.52
57.41 54.94 55.29 57.66 60.61 56.89 57.55 55.57 40.47 41.40 42.59 55.73 56.14 60.12 58.29 57.23 63.80 61.79 50.27 52.87 58.70 56.17 56.06 59.46 57.06 54.82 51.44 50.39 61.16 61.10 54.56 57.18 56.33 55.21 51.50 54.52
43.86 42.57 43.82 45.31 49.03 44.47 45.52 43.15 34.09 34.31 41.07 44.33 43.54 49.51 47.42 45.60 51.69 48.97 40.51 42.48 47.32 43.79 43.86 48.92 45.07 44.23 41.07 40.91 50.03 47.90 44.54 44.28 43.51 42.87 40.21 41.91
44.10 42.76 44.76 45.67 48.54 43.50 45.48 43.66 34.12 34.59 39.30 44.43 44.07 49.38 47.29 46.16 51.40 48.60 40.31 41.90 46.66 42.86 43.74 47.32 45.20 42.95 40.49 40.16 49.81 47.68 46.62 44.83 43.64 43.68 40.75 42.11
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
รวม
110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145
แม่ฮ่องสอน เขต 2 ยโสธร เขต 1 ยโสธร เขต 2 ยะลา เขต 1 ยะลา เขต 2 ยะลา เขต 3 ร้อยเอ็ด เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 2 ร้อยเอ็ด เขต 3 ระนอง ระยอง เขต 1 ระยอง เขต 2 ราชบุรี เขต 1 ราชบุรี เขต 2 ลพบุรี เขต 1 ลพบุรี เขต 2 ลาปาง เขต 1 ลาปาง เขต 2 ลาปาง เขต 3 ลาพูน เขต 1 ลาพูน เขต 2 เลย เขต 1 เลย เขต 2 เลย เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 ศรีสะเกษ เขต 2 ศรีสะเกษ เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 4 สกลนคร เขต 1 สกลนคร เขต 2 สกลนคร เขต 3 สงขลา เขต 1 สงขลา เขต 2 สงขลา เขต 3 สตูล สมุทรปราการ เขต 1
38.76 45.52 45.15 37.32 34.89 36.30 49.97 48.81 41.52 44.67 45.72 47.42 42.61 44.07 44.82 41.96 46.24 46.19 47.15 47.13 45.64 41.40 41.97 44.18 43.97 45.23 43.20 43.14 43.15 43.93 50.82 46.25 46.97 42.06 43.62 44.43
43.97 49.68 50.16 42.38 37.59 42.75 54.71 53.34 47.78 52.84 54.07 56.50 51.13 52.47 53.22 48.88 54.00 52.67 52.78 54.34 52.60 48.02 47.47 49.50 50.34 51.25 49.02 49.34 49.99 49.88 51.71 53.95 54.16 49.18 50.05 53.33
47.69 52.60 53.94 43.40 39.92 44.16 57.14 56.33 51.79 56.62 58.26 62.71 55.14 58.22 57.70 53.24 57.97 58.99 58.62 59.77 57.39 51.80 52.06 55.63 55.79 56.91 55.31 54.76 55.05 54.67 53.61 58.31 60.45 52.77 54.39 56.64
38.73 43.78 44.80 37.15 33.97 35.92 49.98 49.02 41.32 44.64 46.81 49.31 43.75 45.21 45.45 41.22 47.57 46.29 47.05 48.35 46.01 41.40 40.80 43.91 44.48 44.45 42.52 42.63 42.97 43.84 49.21 47.17 47.37 41.83 42.90 45.04
31.21 35.65 38.20 30.83 28.10 28.14 44.52 44.80 32.85 35.42 38.71 42.30 36.03 37.36 37.74 31.97 41.83 38.74 41.61 41.62 39.53 34.24 32.02 37.85 35.92 35.38 32.69 33.20 33.67 35.38 46.76 40.30 39.86 34.23 34.59 36.65
35.80 40.81 41.95 34.93 30.89 33.31 47.37 47.22 38.46 41.27 43.05 45.44 40.15 41.83 41.25 37.91 43.62 43.70 43.82 45.53 44.01 38.16 37.65 41.52 41.25 40.71 38.73 39.30 39.45 41.39 47.29 43.58 44.12 38.26 39.70 40.83
42.58 49.20 49.54 39.73 35.33 38.86 54.62 54.56 46.44 49.53 52.09 55.08 48.25 49.98 50.82 45.55 52.38 51.29 52.25 53.16 50.25 45.48 44.89 48.48 50.37 50.88 48.09 48.41 48.70 49.13 52.63 51.72 53.00 45.99 47.54 50.11
115
31.01 33.68 34.84 32.11 31.53 28.01 42.14 40.07 29.03 31.94 35.78 35.68 31.95 32.66 32.93 28.49 37.17 33.00 32.87 37.43 32.36 30.64 28.64 30.68 32.89 29.87 29.04 29.40 30.18 32.09 44.22 36.16 33.43 30.08 30.59 32.02
38.83 43.08 44.63 36.53 33.47 35.79 49.34 47.06 42.65 44.83 46.78 49.33 44.73 45.08 45.15 41.72 47.31 45.77 47.26 47.80 46.31 41.47 41.67 43.47 45.31 45.35 44.04 43.51 43.60 44.21 46.63 47.05 46.98 42.08 42.71 46.30
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
กำร งำน
รวม
146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181
สมุทรปราการ เขต 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระแก้ว เขต 1 สระแก้ว เขต 2 สระบุรี เขต 1 สระบุรี เขต 2 สิงห์บุรี สุโขทัย เขต 1 สุโขทัย เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 1 สุพรรณบุรี เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 3 สุราษฎร์ธานี เขต 1 สุราษฎร์ธานี เขต 2 สุราษฎร์ธานี เขต 3 สุรินทร์ เขต 1 สุรินทร์ เขต 2 สุรินทร์ เขต 3 หนองคาย เขต 1 หนองคาย เขต 2 หนองบัวลาภู เขต 1 หนองบัวลาภู เขต 2 อ่างทอง อานาจเจริญ อุดรธานี เขต 1 อุดรธานี เขต 2 อุดรธานี เขต 3 อุดรธานี เขต 4 อุตรดิตถ์ เขต 1 อุตรดิตถ์ เขต 2 อุทัยธานี เขต 1 อุทัยธานี เขต 2 อุบลราชธานี เขต 1 อุบลราชธานี เขต 2 อุบลราชธานี เขต 3
45.79 46.64 46.25 43.44 42.42 43.98 44.10 45.55 44.69 46.53 46.42 43.79 44.31 45.98 46.05 44.41 46.85 45.21 42.61 43.86 41.21 43.65 40.39 44.30 43.34 43.23 48.24 44.56 47.83 44.83 43.23 44.82 45.70 44.45 41.99 44.10
54.86 55.36 53.56 51.10 50.42 51.68 52.18 54.65 52.56 54.01 55.19 51.23 52.25 54.47 55.58 51.32 54.23 51.99 49.91 50.72 47.77 49.20 46.06 52.10 49.35 49.51 52.03 49.44 48.65 52.68 49.47 51.35 52.20 50.21 46.92 47.51
59.20 59.90 58.40 55.67 54.92 55.19 57.40 58.46 57.33 60.08 60.56 56.98 56.70 59.28 61.25 57.23 60.86 59.36 55.12 57.12 54.00 55.15 48.55 57.11 55.39 53.18 55.00 54.05 51.30 57.28 52.07 57.11 56.84 54.77 51.79 51.40
46.36 48.71 46.38 43.37 42.29 44.56 44.55 46.94 45.72 47.09 48.24 44.40 44.99 46.31 46.94 44.39 47.94 45.29 42.56 43.75 40.93 43.29 39.72 45.10 43.11 42.88 47.99 43.74 46.08 45.53 42.36 44.35 46.64 44.90 41.34 43.81
36.55 41.87 38.21 34.53 33.75 35.40 36.79 39.79 41.17 39.30 41.01 36.94 37.41 37.43 38.07 37.14 40.53 36.08 32.61 34.21 31.75 36.18 32.93 38.15 36.23 34.82 44.24 34.92 44.30 37.98 35.67 34.85 40.88 38.00 34.11 37.96
41.87 45.50 43.02 40.07 38.55 40.55 40.40 43.55 42.11 43.88 45.06 41.42 42.35 41.70 42.60 40.34 43.94 41.75 39.05 40.14 37.79 40.45 37.61 41.43 39.05 38.97 44.91 40.70 43.86 42.17 39.83 40.90 44.13 41.73 38.41 40.73
116
51.94 53.20 50.85 48.30 47.32 50.14 49.35 52.02 49.67 52.41 53.72 49.17 50.42 51.99 52.80 49.50 53.52 51.13 47.61 48.61 44.47 48.19 44.28 49.51 47.86 47.75 51.37 47.74 49.31 50.32 46.40 49.63 50.29 51.13 46.83 48.72
33.67 38.64 33.57 30.17 27.81 34.19 31.19 35.70 33.52 34.29 34.74 31.56 32.80 32.77 31.45 30.64 35.82 30.85 29.56 31.19 29.03 30.94 28.04 33.21 30.03 32.80 40.31 35.29 39.73 33.64 29.55 31.64 35.95 35.02 29.38 37.16
46.98 48.59 47.18 43.70 43.15 45.37 45.01 45.79 44.72 46.22 49.25 44.10 43.64 46.88 47.70 44.56 47.75 45.92 43.99 44.17 41.45 42.57 39.91 45.02 43.63 42.77 47.82 43.24 43.64 45.37 42.64 44.50 47.15 43.88 41.32 42.92
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
182 อุบลราชธานี เขต 4 183 อุบลราชธานี เขต 5 184 สพม. เขต 6
ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ
สุข ศิลปะ ศึกษำ
42.72 34.04 38.95 47.28 40.20 29.94 35.98 43.27 44.76 35.20 45.79 51.80
45.32 40.07 50.17 41.42 45.36 39.55 50.14 39.05 54.73 46.48 59.02 46.56
117
32.80 27.93 34.72
กำร งำน
รวม
ภำคผนวก ข (3) คะแนนเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ของการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (O-NET) จาแนกตามสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา * (*ไม่รวมโรงเรียนสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ)
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33
กระบี่ กาญจนบุรี เขต 1 กาญจนบุรี เขต 2 กาญจนบุรี เขต 3 กาญจนบุรี เขต 4 กาฬสินธุ์ เขต 1 กาฬสินธุ์ เขต 2 กาฬสินธุ์ เขต 3 กาแพงเพชร เขต 1 กาแพงเพชร เขต 2 ขอนแก่น เขต 1 ขอนแก่น เขต 2 ขอนแก่น เขต 3 ขอนแก่น เขต 4 ขอนแก่น เขต 5 จันทบุรี เขต 1 จันทบุรี เขต 2 ฉะเชิงเทรา เขต 1 ฉะเชิงเทรา เขต 2 ชลบุรี เขต 1 ชลบุรี เขต 2 ชลบุรี เขต 3 ชัยนาท ชัยภูมิ เขต 1 ชัยภูมิ เขต 2 ชัยภูมิ เขต 3 ชุมพร เขต 1 ชุมพร เขต 2 เชียงราย เขต 1 เชียงราย เขต 2 เชียงราย เขต 3 เชียงราย เขต 4 เชียงใหม่ เขต 1
36.67 33.46 33.81 33.58 35.26 32.13 32.90 32.78 33.66 34.10 34.12 33.35 32.65 36.95 31.85 34.82 34.74 34.85 32.27 32.81 34.31 32.83 31.36 33.49 31.90 33.59 36.02 34.86 34.18 34.92 32.65 34.24 34.88
31.19 25.83 25.59 26.99 30.55 25.83 25.95 25.30 25.96 27.11 25.57 25.60 26.23 27.47 26.72 27.77 27.32 30.55 25.26 25.71 26.28 25.17 25.54 27.51 25.49 26.04 28.19 26.84 25.51 28.03 25.43 26.76 26.90
36.78 34.37 36.02 36.17 38.85 33.27 33.10 33.83 35.52 36.28 35.02 33.81 32.70 39.63 34.52 37.76 36.93 39.63 33.30 35.34 36.11 35.29 34.87 34.87 34.40 34.97 38.68 36.32 35.80 37.77 34.87 36.96 37.12
47.51 44.64 45.83 45.34 46.53 41.58 43.32 43.99 44.84 45.34 44.62 43.62 41.79 47.26 44.08 46.72 46.94 47.35 43.50 44.41 45.45 44.04 42.95 43.33 42.15 44.05 48.48 45.71 45.42 46.29 43.91 44.38 46.00
120
28.34 24.86 25.31 25.88 28.36 26.63 25.36 25.76 24.85 25.55 25.25 25.39 26.97 29.26 25.96 25.50 25.16 27.29 25.47 25.13 25.46 24.96 25.21 27.07 26.10 25.60 25.90 24.74 25.59 25.65 25.93 26.47 26.15
สุข ศึกษำ 57.57 56.05 57.31 56.12 57.82 51.76 54.85 55.29 57.37 57.78 56.65 55.30 52.86 58.16 54.86 59.89 60.25 57.17 55.60 56.55 56.50 57.00 53.80 53.73 52.52 56.40 60.31 58.90 56.84 58.81 53.81 55.78 58.77
ศิลปะ 43.69 39.78 40.23 40.55 41.65 36.76 37.98 39.72 40.38 40.04 39.82 37.40 37.67 45.17 39.11 43.32 42.92 41.88 39.47 41.26 40.21 40.75 38.25 39.82 37.47 39.90 43.69 41.63 39.28 39.76 37.55 38.41 41.42
กำร งำน 44.61 43.40 44.51 43.40 45.57 38.70 41.73 41.60 43.97 44.46 42.79 43.15 39.23 46.48 41.41 44.63 45.92 44.85 41.60 43.82 44.49 43.32 40.58 42.40 39.05 43.98 47.41 45.64 42.59 44.57 40.95 42.41 44.17
รวม 40.79 37.80 38.58 38.50 40.57 35.83 36.90 37.28 38.32 38.83 37.98 37.20 36.26 41.30 37.31 40.05 40.02 40.45 37.06 38.13 38.60 37.92 36.57 37.78 36.14 38.07 41.09 39.33 38.15 39.48 36.89 38.18 39.43
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67
เชียงใหม่ เขต 2 เชียงใหม่ เขต 3 เชียงใหม่ เขต 4 เชียงใหม่ เขต 5 เชียงใหม่ เขต 6 ตรัง เขต 1 ตรัง เขต 2 ตราด ตาก เขต 1 ตาก เขต 2 นครนายก นครปฐม เขต 1 นครปฐม เขต 2 นครพนม เขต 1 นครพนม เขต 2 นครราชสีมา เขต 1 นครราชสีมา เขต 2 นครราชสีมา เขต 3 นครราชสีมา เขต 4 นครราชสีมา เขต 5 นครราชสีมา เขต 6 นครราชสีมา เขต 7
35.39 34.25 35.02 32.30 31.35 36.16 33.87 35.15 32.71 32.23 33.61 35.62 35.52 34.18 31.84 33.10 33.57 32.43 33.89 33.53 33.73 33.95 33.52 34.00 33.51 34.77 32.64 32.44 32.67 35.83 33.09 34.42 31.44 27.29
27.09 27.00 27.08 25.76 24.68 28.27 26.11 27.76 25.29 25.60 27.22 27.34 28.95 33.37 28.89 25.52 24.95 25.32 26.10 26.27 25.55 26.99 25.60 25.80 25.89 26.28 30.32 25.03 26.44 28.25 24.68 35.21 27.91 24.10
37.30 36.81 38.05 35.11 32.57 38.66 35.13 37.34 34.91 34.48 35.16 37.63 38.19 35.70 35.83 34.20 34.69 34.22 35.26 34.70 35.85 36.40 35.74 35.66 34.89 36.03 37.77 34.22 34.15 37.67 33.22 38.28 30.41 27.84
46.61 45.80 46.70 43.32 41.14 46.09 45.48 46.14 44.14 43.89 44.97 47.04 48.15 42.32 44.48 42.93 44.38 43.21 45.41 44.56 45.09 45.10 46.41 45.28 44.89 45.90 45.38 43.64 43.46 46.03 42.95 46.69 41.96 34.14
นครศรีธรรมราช เขต 1 นครศรีธรรมราช เขต 2 นครศรีธรรมราช เขต 3 นครศรีธรรมราช เขต 4
นครสวรรค์ เขต 1 นครสวรรค์ เขต 2 นครสวรรค์ เขต 3 นนทบุรี เขต 1 นนทบุรี เขต 2 นราธิวาส เขต 1 นราธิวาส เขต 2 นราธิวาส เขต 3
121
25.60 26.03 26.03 27.91 25.84 25.91 25.19 24.75 25.42 26.13 25.10 25.45 26.35 30.85 27.26 25.03 25.45 25.58 25.56 25.61 25.96 26.30 24.88 25.22 25.40 25.25 29.30 24.88 26.86 26.43 25.14 34.27 27.95 25.24
สุข ศึกษำ 58.37 56.70 58.78 54.51 51.60 56.01 56.89 59.02 55.66 53.03 56.74 59.54 59.47 50.73 52.63 55.91 56.91 56.37 58.82 57.98 57.39 56.75 57.63 57.60 56.40 58.37 58.04 55.77 56.29 59.37 55.81 45.60 49.22 37.58
ศิลปะ 40.55 39.97 41.63 37.01 35.10 42.19 42.34 42.31 39.06 37.77 39.59 43.05 43.17 36.99 38.51 39.82 40.25 39.63 41.29 40.32 40.15 40.27 41.66 40.94 39.14 40.48 42.87 39.61 38.44 44.72 41.14 37.60 38.84 31.10
กำร งำน 45.41 43.52 45.15 41.88 38.19 45.98 43.63 44.92 41.35 40.90 43.08 46.34 46.68 40.27 41.26 43.24 44.08 43.12 45.49 44.79 42.97 44.43 45.51 44.47 42.23 45.01 46.42 42.80 41.98 44.96 42.75 36.76 34.42 30.34
รวม 39.54 38.76 39.81 37.23 35.06 39.91 38.58 39.67 37.32 36.75 38.18 40.25 40.81 38.05 37.59 37.47 38.04 37.49 38.98 38.47 38.34 38.77 38.87 38.62 37.79 39.01 40.34 37.30 37.54 40.41 37.35 38.60 35.27 29.70
ที่ 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
น่าน เขต 1 น่าน เขต 2 บึงกาฬ บุรีรัมย์ เขต 1 บุรีรัมย์ เขต 2 บุรีรัมย์ เขต 3 บุรีรัมย์ เขต 4 ปทุมธานี เขต 1 ปทุมธานี เขต 2
35.19 35.43 30.07 32.36 33.74 33.50 32.42 32.49 32.63 35.19 33.81 33.22 32.63 29.40 28.97 32.21 32.17 33.00 36.04 35.90 33.69 33.87 34.73 34.18 33.07 33.74 34.01 34.49 33.82 34.26 33.49 33.28 34.07 35.79
26.38 26.53 26.91 24.41 25.69 24.67 25.01 25.26 25.26 28.78 26.80 25.63 25.55 23.58 22.25 34.20 25.06 25.42 27.09 27.66 25.97 26.835 26.86 27.31 27.51 26.42 26.20 27.19 27.10 26.67 26.70 27.44 27.74 26.57
37.20 36.63 35.83 33.14 34.48 34.76 33.42 34.28 34.25 38.78 35.49 35.19 35.25 30.59 31.58 37.83 33.77 33.99 39.11 39.50 36.06 35.11 35.49 36.31 35.59 35.74 35.62 35.90 35.57 36.65 34.74 34.43 35.79 38.78 122
45.82 46.63 44.04 42.69 43.77 44.41 42.51 43.88 43.11 47.28 46.11 44.65 45.28 36.03 38.70 45.15 42.83 43.95 48.18 47.80 46.32 46.75 47.48 44.41 43.80 45.83 45.36 46.24 46.06 45.50 45.37 44.52 43.84 47.22
ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 1 ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 2
ปราจีนบุรี เขต 1 ปราจีนบุรี เขต 2 ปัตตานี เขต 1 ปัตตานี เขต 2 ปัตตานี เขต 3 พระนครศรีอยุธยา เขต 1 พระนครศรีอยุธยา เขต 2
พะเยา เขต 1 พะเยา เขต 2 พังงา พัทลุง เขต 1 พัทลุง เขต 2 พิจิตร เขต 1 พิจิตร เขต 2 พิษณุโลก เขต 1 พิษณุโลก เขต 2 พิษณุโลก เขต 3 เพชรบุรี เขต 1 เพชรบุรี เขต 2 เพชรบูรณ์ เขต 1 เพชรบูรณ์ เขต 2 เพชรบูรณ์ เขต 3 แพร่ เขต 1
25.30 26.39 27.65 25.38 25.73 25.56 26.03 25.02 25.09 25.27 24.64 25.35 25.08 25.80 27.43 36.68 24.96 24.86 26.07 26.32 25.51 25.93 25.52 27.60 26.60 25.29 25.17 25.93 24.88 24.10 25.88 26.25 26.90 25.37
สุข ศึกษำ 57.29 58.21 54.16 53.76 55.81 56.40 53.03 56.50 57.03 60.01 57.12 55.36 56.89 41.24 43.50 51.40 54.99 56.53 60.19 60.05 56.38 57.10 58.98 54.71 54.68 57.84 57.36 57.93 55.39 57.00 55.42 54.04 54.65 59.48
ศิลปะ 38.70 40.27 39.52 38.39 39.39 39.61 38.32 40.43 41.57 43.43 40.36 39.94 40.13 32.52 33.75 39.83 39.31 40.08 40.77 41.11 40.50 40.97 41.04 39.22 39.11 41.20 41.39 40.65 38.85 41.48 39.34 40.33 40.39 40.92
กำร งำน 43.97 44.85 41.44 41.67 42.76 43.62 41.19 42.44 42.15 47.16 44.47 43.37 43.94 32.37 33.83 40.17 40.97 43.22 44.90 45.79 43.43 45.44 45.68 40.64 41.62 44.74 43.58 44.25 44.60 46.33 41.60 41.36 41.98 46.06
รวม 38.73 39.37 37.45 36.47 37.67 37.82 36.49 37.54 37.64 40.74 38.60 37.84 38.09 31.44 32.50 39.68 36.76 37.63 40.29 40.51 38.48 39.00 39.47 38.05 37.75 38.85 38.59 39.07 38.28 39.00 37.82 37.71 38.17 40.02
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135
แพร่ เขต 2 ภูเก็ต เขต 1 มหาสารคาม เขต 1 มหาสารคาม เขต 2 มหาสารคาม เขต 3 มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน เขต 1 แม่ฮ่องสอน เขต 2 ยโสธร เขต 1 ยโสธร เขต 2 ยะลา เขต 1 ยะลา เขต 2 ยะลา เขต 3 ร้อยเอ็ด เขต 1 ร้อยเอ็ด เขต 2 ร้อยเอ็ด เขต 3 ระนอง ระยอง เขต 1 ระยอง เขต 2 ราชบุรี เขต 1 ราชบุรี เขต 2 ลพบุรี เขต 1 ลพบุรี เขต 2 ลาปาง เขต 1 ลาปาง เขต 2 ลาปาง เขต 3 ลาพูน เขต 1 ลาพูน เขต 2 เลย เขต 1 เลย เขต 2 เลย เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 ศรีสะเกษ เขต 2 ศรีสะเกษ เขต 3
35.57 33.37 33.07 33.38 32.25 31.82 33.42 34.50 36.11 35.13 30.17 30.29 32.04 35.44 35.91 34.39 33.68 33.15 31.63 33.02 33.06 33.57 31.79 34.59 34.94 35.22 34.79 34.49 32.24 31.58 38.95 33.09 32.97 32.41
28.09 25.59 27.11 26.74 26.04 24.64 27.46 28.29 29.47 29.32 30.34 23.03 25.44 30.72 32.22 29.60 25.64 25.72 28.93 25.88 26.40 26.25 24.70 27.41 26.98 27.04 26.59 26.05 25.00 25.72 31.11 26.48 25.19 25.05
38.80 34.44 33.46 35.36 33.34 33.06 36.23 38.71 39.15 37.80 35.16 34.31 32.53 37.21 38.39 37.82 34.54 35.25 37.57 34.48 36.10 35.33 33.03 36.63 37.80 37.81 36.96 37.50 32.67 33.50 45.38 34.95 34.67 33.91
48.11 45.81 41.91 43.89 43.11 42.07 46.40 46.87 46.22 46.66 43.47 42.15 44.22 46.08 46.98 46.15 44.34 45.28 47.93 44.62 45.38 44.81 43.69 46.40 46.04 47.83 46.10 46.89 40.96 42.64 52.48 44.56 44.80 44.35 123
25.71 24.92 25.19 25.70 25.02 25.37 26.29 32.21 28.06 28.06 27.76 26.99 25.65 29.17 28.28 27.14 25.05 25.70 26.54 25.27 24.97 25.36 25.32 25.28 25.49 26.86 26.71 24.41 25.42 26.00 34.08 26.50 25.55 25.45
สุข ศึกษำ 60.75 57.69 53.08 55.16 54.04 53.33 57.38 54.71 55.52 56.24 49.33 45.21 53.67 57.05 56.18 56.71 55.21 57.06 60.17 55.94 57.66 56.82 55.28 58.23 57.54 58.44 59.41 60.79 52.06 53.47 62.68 55.23 56.79 55.01
ศิลปะ 42.03 41.43 37.92 38.67 37.93 38.37 37.83 39.74 40.83 41.06 37.53 35.30 38.83 43.19 40.58 41.46 40.06 41.39 42.06 40.88 40.47 41.12 39.64 40.89 40.16 41.53 41.63 40.24 37.75 38.46 48.76 39.18 39.40 39.16
กำร งำน 46.94 43.43 40.62 42.31 40.35 40.10 44.64 41.77 44.77 43.54 36.60 38.07 40.02 43.53 44.11 43.55 42.43 44.31 48.36 43.51 44.45 43.26 42.25 44.29 44.96 45.82 45.87 44.71 40.10 40.70 54.17 42.40 43.70 42.45
รวม 40.75 38.33 36.55 37.65 36.51 36.10 38.71 39.60 40.02 39.73 36.30 34.42 36.55 40.30 40.33 39.60 37.62 38.48 40.40 37.95 38.56 38.32 36.96 39.22 39.24 40.07 39.76 39.39 35.78 36.51 45.95 37.80 37.88 37.22
ที่ 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
ศรีสะเกษ เขต 4 สกลนคร เขต 1 สกลนคร เขต 2 สกลนคร เขต 3 สงขลา เขต 1 สงขลา เขต 2 สงขลา เขต 3 สตูล
32.92 33.53 34.33 37.13 31.14 33.98 33.03 31.73 33.43 33.78 32.71 33.77 32.75 32.58 32.35 33.75 33.69 33.67 32.90 33.69 33.01 33.35 34.25 33.90 34.00 34.11 33.44 32.52 33.28 33.49 34.94 31.65 34.25 32.30
24.75 25.04 28.74 36.20 24.02 26.22 25.11 24.83 26.03 26.21 26.08 25.85 25.18 25.10 25.52 25.81 26.28 26.13 25.95 26.43 25.55 25.72 26.18 25.71 26.34 26.02 25.69 25.21 25.63 25.74 27.22 28.23 25.80 25.82
34.08 34.32 36.32 42.11 32.78 35.90 33.81 32.55 34.43 35.03 36.07 36.09 35.15 33.68 31.98 34.91 37.02 34.19 34.84 34.95 35.39 35.33 36.87 36.05 36.85 34.99 35.44 34.92 34.89 35.74 35.33 35.47 34.57 34.24 124
43.28 44.10 45.15 48.15 44.42 45.98 45.12 43.46 43.22 46.52 45.13 45.92 44.68 44.53 42.32 45.88 45.68 43.61 45.53 44.73 46.33 44.46 46.60 45.53 45.86 44.80 45.20 43.34 43.79 42.78 44.38 42.16 43.70 42.85
สมุทรปราการ เขต 1 สมุทรปราการ เขต 2
สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระแก้ว เขต 1 สระแก้ว เขต 2 สระบุรี เขต 1 สระบุรี เขต 2 สิงห์บุรี สุโขทัย เขต 1 สุโขทัย เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 1 สุพรรณบุรี เขต 2 สุพรรณบุรี เขต 3 สุราษฎร์ธานี เขต 1 สุราษฎร์ธานี เขต 2 สุราษฎร์ธานี เขต 3 สุรินทร์ เขต 1 สุรินทร์ เขต 2 สุรินทร์ เขต 3 หนองคาย เขต 1 หนองคาย เขต 2 หนองบัวลาภู เขต 1 หนองบัวลาภู เขต 2 อ่างทอง อานาจเจริญ
25.44 25.62 26.87 33.15 25.40 25.38 26.02 25.51 25.13 24.96 24.85 24.98 25.47 25.37 24.52 26.36 25.95 26.11 25.53 25.29 25.58 25.64 25.49 25.16 25.96 25.21 25.63 25.79 24.93 26.50 27.42 27.71 25.56 25.61
สุข ศึกษำ 55.25 54.46 55.99 57.21 52.56 57.76 53.37 52.69 56.07 58.76 56.91 57.67 56.47 55.20 54.13 57.61 56.91 55.42 56.33 58.11 57.01 57.89 59.58 60.13 59.80 56.60 56.75 55.69 56.04 54.68 55.37 54.09 56.72 53.61
ศิลปะ 38.72 39.87 40.65 44.76 39.32 41.42 38.59 37.68 41.77 42.08 41.69 41.97 40.97 39.83 39.23 41.44 41.33 39.70 39.80 40.59 40.84 40.08 42.83 42.64 40.94 40.51 40.47 40.26 39.14 38.76 38.31 39.15 40.26 38.54
กำร งำน 42.20 42.29 42.01 46.60 39.96 44.60 43.37 39.39 42.42 44.32 44.36 44.50 43.79 42.27 40.19 43.48 44.84 43.11 44.19 44.74 44.37 43.19 44.97 45.44 45.18 44.51 44.78 43.77 44.11 40.87 41.93 40.49 43.90 40.73
รวม 37.08 37.40 38.76 43.16 36.20 38.91 37.30 35.98 37.81 38.96 38.48 38.84 38.06 37.32 36.28 38.66 38.96 37.74 38.13 38.57 38.51 38.21 39.60 39.32 39.37 38.34 38.43 37.69 37.73 37.32 38.11 37.37 38.10 36.71
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203
อุดรธานี เขต 1 อุดรธานี เขต 2 อุดรธานี เขต 3 อุดรธานี เขต 4 อุตรดิตถ์ เขต 1 อุตรดิตถ์ เขต 2 อุทัยธานี เขต 1 อุทัยธานี เขต 2 อุบลราชธานี เขต 1 อุบลราชธานี เขต 2 อุบลราชธานี เขต 3 อุบลราชธานี เขต 4 อุบลราชธานี เขต 5 สพม. เขต 1 สพม. เขต 2 สพม. เขต 3 สพม. เขต 4 สพม. เขต 5 สพม. เขต 6 สพม. เขต 7 สพม. เขต 8 สพม. เขต 9 สพม. เขต 10 สพม. เขต 11 สพม. เขต 12 สพม. เขต 13 สพม. เขต 14 สพม. เขต 15 สพม. เขต 16 สพม. เขต 17 สพม. เขต 18 สพม. เขต 19 สพม. เขต 20 สพม. เขต 21
33.69 38.40 35.39 37.99 33.12 33.50 33.49 35.75 33.09 32.23 34.98 35.46 31.04 38.21 38.13 36.70 35.72 35.06 36.20 35.09 35.43 36.35 36.45 37.22 36.86 36.00 37.77 33.98 37.51 36.81 36.72 34.72 35.02 34.85
28.25 37.90 29.33 35.43 25.47 25.45 24.86 40.11 24.97 24.65 29.63 29.60 24.32 35.64 34.83 31.40 31.38 29.06 30.44 28.85 30.46 30.88 31.50 31.33 31.35 29.91 32.98 29.34 32.66 32.19 32.14 27.76 28.70 28.32
35.88 43.58 38.63 43.20 33.94 35.64 33.43 43.46 34.02 33.93 37.40 36.68 32.47 43.67 43.58 41.38 40.05 38.44 40.07 38.15 39.05 40.50 40.99 41.31 40.99 39.08 42.33 38.04 42.34 41.58 41.17 37.39 38.35 38.13
44.19 49.07 46.45 47.60 43.11 43.90 43.14 52.54 43.92 42.91 46.76 44.63 41.22 50.09 50.38 48.71 47.62 46.35 47.93 46.55 47.34 48.46 48.34 49.08 49.61 48.03 49.74 45.79 50.36 49.11 48.49 45.77 45.96 45.34 125
27.31 34.30 28.59 33.07 25.11 25.18 25.18 31.93 25.59 26.23 30.66 29.34 25.60 31.27 30.57 28.40 27.53 26.05 27.27 26.39 26.58 26.85 26.91 27.36 27.17 26.50 28.88 26.98 27.70 27.68 27.92 25.98 26.75 26.59
สุข ศึกษำ 55.81 58.45 55.52 56.56 55.88 55.87 56.02 61.07 53.85 52.91 53.94 53.07 51.63 63.86 64.33 62.49 61.34 60.45 61.39 59.99 60.90 62.19 62.53 63.36 62.67 61.36 63.07 55.71 62.72 62.34 62.48 58.83 59.00 58.38
ศิลปะ 39.38 44.69 40.98 41.38 39.36 39.60 37.67 45.15 38.02 38.03 40.00 37.53 36.98 47.99 48.05 46.90 45.26 43.74 45.33 42.99 44.68 45.04 45.53 45.87 45.15 44.12 47.20 41.91 46.20 45.24 45.60 42.63 42.92 41.30
กำร งำน 41.10 46.88 45.24 44.25 42.56 41.98 43.08 49.72 42.40 41.53 41.66 40.81 39.51 47.82 48.47 47.45 46.64 45.82 47.03 45.78 46.65 47.90 47.84 48.97 49.09 46.91 48.67 43.32 48.84 48.27 47.74 45.41 45.22 44.95
รวม 38.20 44.16 40.02 42.44 37.32 37.64 37.11 44.97 36.98 36.55 39.38 38.39 35.35 44.82 44.79 42.93 41.94 40.62 41.96 40.47 41.39 42.27 42.51 43.06 42.86 41.49 43.83 39.38 43.54 42.90 42.78 39.81 40.24 39.73
ที่ 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216 217 218 219 220 221 222 223 224
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
สพม. เขต 22 สพม. เขต 23 สพม. เขต 24 สพม. เขต 25 สพม. เขต 26 สพม. เขต 27 สพม. เขต 28 สพม. เขต 29 สพม. เขต 30 สพม. เขต 31 สพม. เขต 32 สพม. เขต 33 สพม. เขต 34 สพม. เขต 35 สพม. เขต 36 สพม. เขต 37 สพม. เขต 38 สพม. เขต 39 สพม. เขต 40 สพม. เขต 41 สพม. เขต 42
33.73 35.01 34.14 35.17 35.24 35.81 35.53 35.21 34.53 35.63 35.01 35.50 36.88 37.91 37.05 38.21 35.78 35.90 34.74 34.64 35.22
27.61 28.21 27.02 29.05 28.64 30.08 28.40 28.47 28.12 29.74 28.42 28.90 30.45 33.02 32.08 33.94 29.87 31.48 28.32 28.68 30.18
36.66 37.88 36.55 38.51 38.55 38.58 38.71 37.73 37.68 39.26 37.87 38.26 40.42 42.81 42.13 44.25 39.61 40.19 37.41 38.57 39.35
44.90 46.51 44.84 46.18 46.76 46.48 47.19 46.51 45.45 47.36 46.29 46.90 48.34 49.94 48.93 50.52 47.54 47.57 45.98 46.32 47.46
126
26.32 26.01 25.90 26.60 26.18 27.34 26.09 26.38 26.01 26.92 26.25 26.49 27.17 27.60 27.79 28.44 26.64 27.87 26.34 26.19 27.15
สุข ศึกษำ 56.86 58.54 57.46 59.44 59.35 59.19 60.84 59.31 58.84 61.03 59.30 60.33 62.20 63.46 62.93 64.78 61.68 61.22 58.80 59.71 60.93
ศิลปะ 41.14 42.98 41.79 42.56 42.48 43.05 43.27 42.29 41.82 44.09 42.91 43.15 44.03 45.99 44.32 45.80 43.39 44.44 42.50 42.53 43.96
กำร งำน 43.93 44.92 43.90 45.47 46.29 45.72 47.81 46.09 45.26 46.79 46.42 47.50 47.13 49.72 48.14 50.03 46.98 46.98 44.57 45.83 47.09
รวม 38.89 40.01 38.95 40.37 40.44 40.78 40.98 40.25 39.71 41.35 40.31 40.88 42.08 43.81 42.92 44.50 41.44 41.96 39.83 40.31 41.42
ภำคผนวก ข (4) คะแนนเฉลี่ยร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ของการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) จาแนกตามสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา* (*ไม่รวมโรงเรียนสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ)
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สุข สังคม อังกฤษ ศิลปะ ศึกษำ
กาญจนบุรี เขต 3 กาญจนบุรี เขต 4 ชัยภูมิ เขต 3 เชียงราย เขต 3 เชียงใหม่ เขต 2 เชียงใหม่ เขต 3 เชียงใหม่ เขต 5 เชียงใหม่ เขต 6 ตรัง เขต 2 ตาก เขต 2 นครราชสีมา เขต 3 นครราชสีมา เขต 5 นครราชสีมา เขต 7 นครสวรรค์ เขต 2 นนทบุรี เขต 1 บึงกาฬ ปทุมธานี เขต 2
54.70 46.50 44.63 41.08 37.64 41.94 42.69 31.37 42.12 40.27 43.24 44.44 40.78 40.29 56.50 44.41 43.48 53.07 38.14 43.00 42.60 37.72 40.54 37.21 48.25 39.88 45.17 36.50 42.51 39.34 38.38 44.95 41.34
17.05 16.00 17.06 15.65 15.18 15.76 16.56 15.38 16.54 15.15 14.79 16.23 14.22 15.21 19.17 14.77 16.50 21.65 16.48 15.68 16.67 15.59 15.98 14.29 14.17 16.71 16.67 14.17 17.41 15.31 15.21 16.14 15.16
31.93 27.60 29.46 28.18 25.79 29.88 30.50 26.68 29.92 28.92 29.88 29.30 27.34 26.33 33.31 29.14 28.40 33.86 28.09 28.00 27.75 28.45 29.35 29.43 30.14 27.12 28.11 27.67 29.74 26.69 27.32 31.64 28.50
36.91 32.50 31.48 30.88 28.50 33.21 30.38 27.42 31.00 32.53 31.56 33.23 30.06 30.83 38.75 33.05 33.10 36.16 30.82 30.00 31.50 30.39 31.42 29.86 35.47 30.38 32.44 28.67 32.57 30.00 28.84 33.00 31.06
ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 1 ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 2
พังงา พิจตร เขต 1 พิษณุโลก เขต 3 เพชรบูรณ์ เขต 2 เพชรบูรณ์ เขต 3 ภูเก็ต แม่ฮ่องสอน เขต 2 ลพบุรี เขต 2 ศรีสะเกษ เขต 1 ศรีสะเกษ เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 4 สกลนคร เขต 1 สกลนคร เขต 2 สกลนคร เขต 3
128
21.93 18.60 17.80 17.83 17.79 17.85 22.88 17.26 18.23 16.45 16.27 17.49 16.69 18.50 25.62 16.36 18.36 21.88 18.09 17.00 17.00 20.16 17.67 15.86 20.13 17.32 18.22 19.33 18.66 17.22 17.31 15.82 17.69
52.72 50.38 48.41 44.10 45.27 42.95 49.53 36.74 46.73 43.30 47.81 47.35 44.92 41.77 53.78 44.94 48.22 54.59 45.74 41.36 43.49 39.47 46.12 43.48 48.25 41.43 52.36 42.50 46.01 45.23 43.39 49.55 45.47
35.06 32.70 33.86 29.89 29.57 34.06 27.75 27.12 30.38 30.23 33.08 31.88 29.93 31.25 35.43 31.09 33.01 38.22 34.59 32.82 32.83 29.37 31.26 29.21 33.80 29.36 30.22 30.67 30.80 31.06 29.71 29.27 31.91
กำร งำน
รวม
51.06 46.80 44.90 42.28 37.43 43.70 43.00 33.09 42.92 39.12 44.71 45.32 39.84 41.83 52.35 45.45 44.60 51.84 42.55 42.91 43.58 33.79 41.84 39.57 43.73 38.89 43.33 40.67 42.63 38.81 38.89 49.45 40.69
37.67 33.89 33.45 31.24 29.65 32.42 32.91 26.88 32.23 30.75 32.67 33.16 30.47 30.75 39.36 32.40 33.21 38.91 31.81 31.35 31.93 29.37 31.77 29.86 34.24 30.14 33.32 30.02 32.54 30.46 29.88 33.73 31.48
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66
สมุทรปราการ เขต 1 สมุทรสาคร สุราษฎร์ธานี เขต 2 สุรินทร์ เขต 1 สุรินทร์เขต 3 อุดรธานี เขต 1 อุดรธานี เขต 4 อุตรดิตถ์ เขต 1 อุบลราชธานี เขต 1 อุบลราชธานี เขต 5 สพม. เขต 1 สพม. เขต 2 สพม. เขต 3 สพม. เขต 4 สพม. เขต 5 สพม. เขต 6 สพม. เขต 7 สพม. เขต 8 สพม. เขต 9 สพม. เขต 10 สพม. เขต 11 สพม. เขต 12 สพม. เขต 13 สพม. เขต 14 สพม. เขต 15 สพม. เขต 16 สพม. เขต 17 สพม. เขต 18 สพม. เขต 19 สพม. เขต 20 สพม. เขต 21 สพม. เขต 22 สพม. เขต 23
43.09 52.86 43.81 41.49 42.41 51.82 39.21 44.69 44.64 45.00 58.13 56.40 53.58 51.91 50.65 52.19 48.34 50.92 52.36 53.42 52.43 54.09 52.05 54.87 47.11 55.85 52.21 55.01 48.08 50.23 47.14 47.57 48.99
14.38 20.38 14.87 14.53 16.18 20.40 13.96 17.93 16.39 14.94 31.44 27.33 23.04 22.95 21.24 22.24 19.37 21.48 21.85 22.98 20.82 21.88 21.47 24.49 19.33 24.35 22.31 24.70 18.56 20.29 18.52 18.99 19.01
28.44 33.51 30.04 30.19 29.20 31.93 25.75 30.69 30.64 28.63 37.13 35.38 33.49 33.15 31.99 32.85 31.39 32.26 32.97 33.46 32.55 33.12 32.65 34.13 31.10 34.48 33.21 34.86 30.67 31.81 30.73 31.09 31.15
32.13 37.00 33.95 31.33 31.67 35.24 29.04 34.14 30.89 31.30 41.85 40.43 38.60 37.53 36.22 37.66 35.33 36.63 37.75 37.60 36.54 37.73 36.46 38.12 34.20 39.32 37.21 38.60 34.41 35.56 33.20 33.82 35.01
129
22.19 20.85 17.70 18.88 17.63 20.59 17.50 18.40 17.22 18.21 32.83 29.54 25.43 23.87 22.11 23.95 20.80 22.09 23.06 23.61 22.56 22.66 22.21 26.47 21.13 24.74 23.18 25.37 20.28 22.23 20.03 20.44 20.20
สุข ศึกษำ 44.92 54.25 46.29 43.23 46.13 53.89 41.82 52.54 47.41 52.27 56.91 56.37 54.30 53.19 51.39 53.61 50.87 51.83 52.29 53.64 53.43 53.87 52.67 54.57 47.37 54.86 53.62 55.28 51.02 52.19 49.81 50.28 51.29
ศิลปะ 34.00 34.49 33.00 31.65 31.76 32.96 29.92 33.94 31.93 33.42 38.83 38.00 36.60 35.65 35.06 36.26 34.02 34.89 35.95 35.93 34.94 35.05 34.06 35.59 31.85 35.86 35.14 36.31 33.59 33.97 32.23 32.59 32.84
กำร งำน 43.88 50.64 45.71 40.88 43.06 49.44 38.83 45.54 43.14 44.79 54.18 53.73 52.50 51.09 49.70 51.39 48.64 49.89 51.26 51.03 50.86 50.89 49.16 51.04 43.24 50.64 50.96 52.67 47.17 47.95 45.68 45.78 46.96
รวม 32.88 38.00 33.17 31.52 32.26 37.03 29.50 34.73 32.78 33.57 43.91 42.15 39.69 38.67 37.30 38.77 36.10 37.50 38.44 38.96 38.02 38.66 37.59 39.91 34.42 40.01 38.48 40.35 35.47 36.78 34.67 35.07 35.68
ที่
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
ไทย
คณิต
วิทย์
สังคม อังกฤษ
67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85
สพม. เขต 24 สพม. เขต 25 สพม. เขต 26 สพม. เขต 27 สพม. เขต 28 สพม. เขต 29 สพม. เขต 30 สพม. เขต 31 สพม. เขต 32 สพม. เขต 33 สพม. เขต 34 สพม. เขต 35 สพม. เขต 36 สพม. เขต 37 สพม. เขต 38 สพม. เขต 39 สพม. เขต 40 สพม. เขต 41 สพม. เขต 42
46.59 50.21 49.56 48.40 49.64 49.23 47.68 50.41 48.42 49.14 51.01 52.99 51.44 53.94 49.46 51.12 47.18 48.58 51.05
17.75 19.98 18.42 19.38 18.53 19.21 18.63 19.81 18.52 18.93 20.99 23.55 21.57 23.53 19.73 21.95 18.80 19.06 21.71
30.24 31.71 30.52 30.64 30.92 31.23 30.99 32.29 31.00 31.28 33.12 34.49 32.95 34.85 31.61 32.85 30.26 31.50 32.81
33.53 35.73 34.89 34.87 35.33 35.12 34.03 36.44 35.05 35.57 37.28 38.23 37.30 39.60 35.56 36.33 34.46 34.38 36.66
130
19.19 21.44 19.71 19.82 20.41 21.04 20.16 22.00 20.21 20.90 22.86 24.25 22.79 23.79 20.78 23.31 20.21 20.68 22.58
สุข ศึกษำ 48.93 51.45 50.60 49.92 51.18 50.65 49.97 52.17 50.04 50.55 51.83 53.86 53.38 54.70 51.47 52.59 49.75 50.24 52.29
ศิลปะ 32.38 33.97 33.60 33.52 33.76 33.00 32.93 34.80 33.50 34.18 34.16 35.40 34.56 35.83 34.31 34.73 33.32 33.97 35.39
กำร งำน 45.11 47.98 47.86 46.94 48.35 47.08 47.11 49.49 47.63 48.26 48.87 51.99 50.26 51.99 48.72 50.38 47.48 48.68 50.09
รวม 34.22 36.56 35.65 35.44 36.02 35.82 35.19 37.18 35.55 36.10 37.52 39.35 38.03 39.78 36.46 37.91 35.18 35.89 37.82
คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษำ 1. ดร.กมล รอดคล้าย 2. นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดกรอบควำมคิดรำยงำน 1. นายกนก อินทรพฤกษ์ 2. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป
ผู้อานวยการสานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ผู้อานวยการกลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สทศ. สพฐ.
คณะทำงำนเขียนรำยงำน 1. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 2. นายเลิศลักษณ์ สุขแก้ว 3. ดร.รุ่งนภา แสนอานวยผล 4. ว่าที่พันตรีเทพนา เครือคา 5. นางสาวนันทนา จันทร์ฝั้น 6.นายสุขวิทย์ ปู้ทอง 7. ดร.มยุรีย์ แพร่หลาย 8. ดร.วัชรพงษ์ แพร่หลาย 9. ดร.ธีระวัฒน์ สุขีสาร 10. ดร.รณชิต พฤษกรรม 11. นางสาวรุ่งทิวา งามตา
ผู้อานวยการกลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 ผู้อานวยการโรงเรียนวัดท่ากลุ่ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ผู้อานวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ อ่างทอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 รองผู้อานวยการโรงเรียนสตรีอ่างทอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ครู โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ครู โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 นักวิชาการศึกษา สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
12. นางสาวอรอุมา ศิริสุวรรณ์ 13. นายวิทยา บัวภารังษี 14. นายประพล ฐานเจริญ 15. นายประจักษ์ คชกูล คณะทำงำนวิเครำะห์ข้อมูล 1. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 2. ดร.รุ่งนภา แสนอานวยผล 3. ว่าที่พันตรีเทพนา เครือคา 4. ดร.รณชิต พฤษกรรม 5. นางสาวรุ่งทิวา งามตา 6. นางสาวอรอุมา ศิริสุวรรณ์ 7. นายวิทยา บัวภารังษี 8. นายประพล ฐานเจริญ 9. นายภาณุพล สินศุข 10. นายประจักษ์ คชกูล
เจ้าพนักงานธุรการ สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานจ้างเหมาบริการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ผู้อานวยการกลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ครู โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 นักวิชาการศึกษา สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เจ้าพนักงานธุรการ สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานราชการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานจ้างเหมาบริการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
132
ผู้รับผิดชอบโครงกำร 1. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 2. นางณัฐพร พรกุณา 3. นางสาวสุภาภรณ์ เจริญศิริโสภาคย์ 4. นางสาวศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 5. นางสาววิจิตรา ศรีคาภา 6. นางสาวพัชรี ปันเด คณะบรรณำธิกำรกิจ 1. นายกนก อินทรพฤกษ์ 2. ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 3. นางณัฐพร พรกุณา 4. นางสาวศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 5. นางสาววิจิตรา ศรีคาภา คณะออกแบบปกและจัดแบบรูปเล่ม 1. นายสุขวิทย์ ปู้ทอง 2. นางสาวสุภาภรณ์ เจริญศิริโสภาคย์
ผู้อานวยการกลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานจ้างเหมาบริการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานจ้างเหมาบริการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ผู้อานวยการสานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ผู้อานวยการกลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พนักงานจ้างเหมาบริการ สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ผู้อานวยการโรงเรียนวัดท่ากุ่ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 นักวิชาการศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
133