Project Approach

คุณภาพการจัดการเรียนการสอน. 1. การวางแผนการจัดกิจกรรม. 2. ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม . ระยะที่1 ร่วมด้วยช่วยกัน. เทคนิคการตั้งค าถามที่เน้น. กระบวนการคิด...

11 downloads 853 Views 4MB Size
โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2551 การจัดการความรู้โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย Wattana Wittaya Academy Knowledge Management (WKM)

คุณภาพด้านการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project approach) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach)

คุณภาพการจัดการเรียนการสอน 1. การวางแผนการจัดกิจกรรม 2. ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม ระยะที่ 1 ร่วมด้วยช่วยกัน เทคนิคการตั้งคาถามที่เน้น กระบวนการคิด ระยะที่ 2 ลงมือปฏิบัติ ระยะที่ 3 สรุปกิจกรรม 3. การกากับ ติดตาม ตรวจสอบ 4. การขยายเครือข่ายแบบเพื่อนช่วยเพื่อน

วิธีปฏิบัติที่ดี ด้านการจัดการเรียนการสอน แบบโครงการ (Project Approach)

-2โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย การจัดการความรู้ที่ตอบสนองวิสัยทัศน์โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2551 วิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) ระดับปฐมวัย 1. การวางแผนการจัดกิจกรรม 1.1 เลือกหัวข้อโครงการจากเรื่องใกล้ตัว และเด็กร่วมกันเลือกที่น่าสนใจมากที่สุด 1.2 มีความเหมาะสมกับเด็ก 1.3 ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ตารา และสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต 1.4 ครูและเด็กช่วยกันจัดลาดับหัวข้อที่สาคัญที่ต้องการเรียนรู้ 1.5 จัดกิจกรรมได้หลากหลายและเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 2.ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม ระยะที่ 1 ร่วมด้วยช่วยกัน 1. ระดมความคิดของเด็กจากประสบการณ์เพื่อคัดเลือกเรื่องที่น่าสนใจมากที่สุด 2. ใช้คาถามเพื่อค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น ใคร ทาไม ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร เพราะอะไร 2.1 เทคนิคการตั้งคาถามที่เน้นกระบวนการคิด 2.1.1 ครูมีอัธยาศัยไมตรีต่อเด็ก สื่อสารด้วยน้าเสียงนุ่มนวล 2.1.2 ส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กตอบคาถาม โดยให้ความสนใจและให้กาลังแก่เด็ก 2.1.3 ใช้คาถามปลายเปิดกับเด็ก 2.1.4 เปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้สื่อสารกับครู และให้ความสาคัญกับคาถามของเด็กทุกคาถาม 2.1.5 ตั้งคาถามย้อนกลับเพื่อให้เด็กเกิดความคิดในการหาคาตอบ 3. ใช้วิธีการอื่น ๆ ช่วยในการหาคาตอบ เช่น การทดลอง สอบถามเพิ่มเติม ลงมือปฏิบัติจริง เป็นต้น 4. เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมให้มากที่สุด ระยะที่ 2 ลงมือปฏิบัติ 1. ตั้งสมมุติฐานในการเรียนรู้ ทดสอบสมมุติฐานและนากระบวนการ 7 ส เข้ามามีส่วนช่วยในการทากิจกรรม 2. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เด็กต้องการเรียนรู้ หรือสอบถามผู้ปกครอง ครู นักเรียน เป็นต้น 3. จัดทากิจกรรมเพื่อให้ตอบสนองความสนใจและความต้องการการเรียนรู้ของเด็กโดยพิจารณาจากคาถามและข้อสงสัยของเด็ก ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ หมายเหตุ สืบเนื่องจากคณะครู ระดับปฐมวัยเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนอนุบาลนครปฐม จังหวัดนครปฐม ในภาคเรียนที่ 1/2251และได้นาความรู้จากการดูงานมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) 4. ศึกษาจากสื่อจาลอง สื่อของจริง และทดลองทาเองเพื่อสร้างกิจกรรมตามพัฒนาการ 5. ครูให้คาแนะนาปรึกษาแก่เด็กตลอดเวลาการทากิจกรรม ระยะที่ 3 สรุปกิจกรรม 1. สรุปการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กร่วมกันตั้งแต่ระยะที่ 1 – 2 2. ทบทวนกิจกรรมและวางแผนร่วมกันในการจัดรูปแบบการนาเสนอผลงานของเด็ก 3. นาเสนอโครงการจัดนิทรรศการผลงาน 3.1 สื่อวัสดุอุปกรณ์ต้องเป็นสิ่งที่สามารถสื่อสารถึงความเป็นชื่อของโครงการได้อย่างชัดเจน 3.2 นาเสนอผลงานเป็นขั้นตอนจากความรู้ที่เด็กเรียน 3.3 สร้างสรรค์รูปแบบการนาเสนอผลงานโดยครูร่วมกับเด็ก 3.4 จัดพื้นที่การนาเสนอผลงานให้เหมาะสมและสะดวกแก่การเข้าชม 3.5 นาเสนอผลงานด้วยตัวหนังสือขนาดเหมาะสมโดยสามารถสื่อสารให้ผู้ชมเข้าใจง่ายและถูกต้อง

-3-

สรุปวิธีปฏิบัติที่ดีด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project Approach) ที่ได้จากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ที่ฝังลึก (Tacit Knowledge) และความรูภ้ ายนอก (Explicit Knowledge) ของครูผู้สอน

การวางแผนการจัดกิจกรรม

ขั้นตอนการดาเนินการ

การขยายเครือข่ายแบบ เพื่อนช่วย เพื่อน เทคนิคคตัตั้ง้งคคาถาม เทคนิ าถาม ทีเ่ ป็นกระบวนการคิด ที่เน้นกระบวนการคิด

การกากับ ติดตาม ตรวจสอบ

ระยะที่ 1 ร่วมด้วยช่วยกัน

ระยะที่ 2 ลงมือปฏิบัติ

ผ่าน/ไม่ผ่าน

ระยะที่ 3 สรุปกิจกรรม

รายงานผลการดาเนินงาน