การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model

2 ารพัฒนาทักษะารใช้ภาษาอังฤษ โดยใช้ B-SLIM Model องนั เรียนระ...

99 downloads 763 Views 1MB Size
การพัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรียนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556

วิจัยชั้นเรียน ของ อดิศักดิ์ ศรีวรกุล

เสนอต่ องานวิจัย ฝ่ ายวิชาการ โรงเรียนอัสสั มชัญแผนกประถม ปี การศึกษา 2556 1

การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556

บทคัดย่อ ของ อดิศกั ดิ์ ศรี วรกุล

เสนอต่องานวิจยั ฝ่ ายวิชาการ โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม ปี การศึกษา 2556 2

อดิศกั ดิ์ ศรี วรกุล. (2556). การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยน ระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556. งานวิจยั ชั้นเรี ยน การวิจยั ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนชั้น ป. 4/7 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ของ โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 43 คน ดาเนินการทดลองโดยใช้แบบแผนการทดลอง แบบ One Group Pre-test – Post-test Design เครื่ องมือที่ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ แผนจัดการเรี ยนรู ้วิชาภาษาอังกฤษ โดย ใช้ B-SLIM Model ระหว่างวันที่ 20 - 31 มกราคม 2557 จานวน 8 คาบเรี ยน และแบบวัดทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลคือ t-test แบบ Dependent ผลการวิจยั สรุ ปได้ดงั นี้ ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 หลังการสอนสู งขึ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001

3

การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556

วิจยั ชั้นเรี ยน ของ อดิศกั ดิ์ ศรี วรกุล

เสนอต่องานวิจยั ฝ่ ายวิชาการ โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม ปี การศึกษา 2556

4

สารบัญ บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................................... ภูมิหลัง .............................................................................................................................. ความมุ่งหมายของการวิจยั ................................................................................................ ความสาคัญของการวิจยั ................................................................................................... ขอบเขตของการวิจยั ........................................................................................................ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ...................................................................................... การสอนโดยใช้ B-SLIM Model……………………………..…… ........................ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจยั ............................................................................................ นิยามศัพท์เฉพาะ ..................................................................................................... กรอบแนวคิดในการวิจยั .................................................................................................. สมมติฐานของการวิจยั ....................................................................................................

หน้า 1 1 3 3 3 3 3 4 4 4 5

2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ ………………………………… ความสาคัญในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ ....................................................................... แนวคิดหรื อรู ปแบบเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ ........................................................ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนทางภาษา ..................................... เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อการสื่ อสาร.......................... เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับรู ปแบบการสอนตามแบบ B-SLIM Model...................... เอกสารผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ............................................................................................. หลักสู ตรสถานศึกษาตามแนวทางของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม ............................................................ หลักสู ตรสถานศึกษา ..................................................................................................... หลักสู ตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ................ เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ……………………………………………………………

6 6 7 9 10 16 20

5

23 23 27 29

สารบัญ (ต่ อ) บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั ....................................................................................................................... ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง .............................................................................................. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ................................................................................................... การดาเนินการทดลอง ....................................................................................................... การจัดกระทาและวิเคราะห์ขอ้ มูล .....................................................................................

หน้า 33 33 33 35 36

4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ............................................................................................................... 38 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ........................................................................................................ 38 5 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ .................................................................................... ความมุ่งหมายของการวิจยั ................................................................................................. สมมติฐานของการวิจยั ...................................................................................................... วิธีดาเนินการวิจยั .............................................................................................................. การวิเคราะห์ขอ้ มูล ........................................................................................................... สรุ ปผลการวิจยั ................................................................................................................ อภิปรายผลการวิจยั .......................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................

39 39 39 39 39 40 40 41

บรรณานุกรม ................................................................................................................................

43

ภาคผนวก ...................................................................................................................................... 46

6

บัญชีตาราง ตาราง

หน้า

1 การเปรี ยบเทียบผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556…………………… ………………. 38

7

บทที่ 1 บทนา ภูมหิ ลัง การเรี ยนภาษาต่างประเทศแตกต่างจากการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น เนื่องจากผูเ้ รี ยนไม่ได้เรี ยน ภาษาเพื่อความรู ้เกี่ยวกับภาษาเท่านั้น แต่เรี ยนภาษาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสาร กับผูอ้ ื่นได้ตามความต้องการในสถานการต่างๆ ทั้งในชี วติ ประจาวันและการงานอาชี พ การที่ผเู ้ รี ยนจะใช้ ภาษาได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่วและเหมาะสมนั้น ขึ้นอยูก่ บั ทักษะการใช้ภาษา การจัดการเรี ยนการสอนที่ดี ผูเ้ รี ยนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาให้มากที่สุดทั้งในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน การจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบนั เน้นการเรี ยนการสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อ การสื่ อสาร ซึ่ งแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารนี้มีจุดมุ่งหมายให้ผเู ้ รี ยนสามารถนาความรู ้ทางภาษาไปใช้ ในการสื่ อความหมายได้ และจากสภาพปั ญหาที่พบในชั้นเรี ยน ผูศ้ ึกษาค้นคว้าพบปัญหาการสอน ภาษาอังกฤษในโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จากการสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนพบว่า ผูเ้ รี ยนจานวน มากเขียนภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง การเลือกใช้คาศัพท์ สานวนไม่เหมาะสมมีองค์ประกอบทางภาษาไม่ สมบูรณ์ การนาเสนอข้อมูลหรื อข้อคิดเห็นด้วยข้อความไม่ตรงประเด็นการสื่ อความที่เป็ นวลี ประโยคเดี่ยวมี โครงสร้างประโยคที่ไม่สมบูรณ์ ผูเ้ รี ยนแสดงความเบื่อหน่ายขาดความกระตือรื อร้นต่อกิจกรรมการเขียน ภาษาอังกฤษ ขาดความสนใจและไม่ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิกิจกรรม ซึ่งการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร มีจุดมุ่งหมายให้ผเู ้ รี ยนสามารถนาความรู ้ทางภาษาไปใช้ในการสื่ อความหมายได้ซ่ ึ งต้องอาศัยองค์ประกอบ หลายประการ กิจกรรมในชั้นเรี ยนถือว่าเป็ นหัวใจของการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร กิจกรรมในชั้นเรี ยนต้อง ช่วยให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกใช้ภาษา ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดแรงจูงใจในการเรี ยน ช่วยให้การเรี ยนภาษาเป็ นไปอย่าง ธรรมชาติ และช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ (สุ มิตรา อังวัฒนกุล. 2535 : 121-122) นอกจากนี้ ผูศ้ ึกษาค้นคว้ายังพบว่า ผูเ้ รี ยนมีขอ้ จากัดในเรื่ องของเวลาสาหรับฝึ กทักษะการเขียน ซึ่งในการเรี ยนการสอน ภาษาอังกฤษ ทักษะการเขียนถือว่าเป็ นทักษะที่ยาก มีความสาคัญที่สุดสาหรับผูเ้ รี ยนผูเ้ รี ยนจะประสบ ผลสาเร็ จในการเรี ยนภาษาอังกฤษได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถในการเขียนของผูเ้ รี ยนซึ่ งหลักการการจัด กิจกรรมการสอนทักษะเขียนกาหนดว่า การสอนทักษะการเขียนควรเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกและเสริ ม รู ปแบบภาษา ที่ผเู้ รี ยนคุน้ เคยแล้วจากการฟังและพูด การควบคุมการเขียนควรลดน้อยลงตามลาดับ และ หลังจากที่ผเู ้ รี ยนได้ฝึกการเขียนตามที่ผสู ้ อนชี้แนะแล้วผูเ้ รี ยนควรมีอิสระเต็มที่ในการเขียน (สุ มิตรา อังวัฒ นกุล. 2537 : 45) 8

เมื่อพิจารณาการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม ณ ปั จจุบนั นี้ผวู ้ จิ ยั ได้ทาการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนเพื่อการสื่ อสาร (Communicative Approach) แบบ 3P ซึ่งผล จากการสอนแบบนี้ก็ดีในระดับหนึ่ง แต่กระนั้น ผูว้ จิ ยั จึงต้องการค้นคว้าหาวิธีการสอนที่หลากหลายรู ปแบบ เพื่อพัฒนาทักษะของนักเรี ยนที่ผวู ้ จิ ยั ได้สอน ผูว้ จิ ยั ได้สนใจในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนตามรู ปแบบ การสอนภาษาที่สองตามแนวการสอนเพื่อการสื่ อสาร (CLT – Communicative Language Teaching) ซึ่งโอ เลนก้า บิลาซ ได้สร้างขึ้นเรี ยกว่า แบบการสอนภาษาที่สองของบิลาซแบบ B-SLIM Model (Bilash’s Second Language Instructional Model) มีการกาหนดขั้นตอนการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ ภาษาของผูเ้ รี ยน แล้วนามาจัดลาดับขั้นตอนของกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เหมาะสม โดยการเน้นให้ปัจจัยตัว ป้ อน (Input) ที่มีความหมายเข้าใจได้ (Comprehension Input) และอยูบ่ นความรู ้เดิมของผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนจะ ประสบความสาเร็ จดังที่คาดหมายได้ ถ้าครู ผสู้ อนเข้าใจวิธีการให้ปัจจัยป้ อน หรื อการพัฒนาความคิดรวบ ยอดอย่างถูกต้อง และเหมาะสมแก่ผเู ้ รี ยน ดังนั้นผูว้ ิจยั จึงสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของ นักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 การเรี ยนภาษาต่างประเทศแตกต่างจากการเรี ยนกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้อื่น เนื่องจากผูเ้ รี ยนไม่ได้เรี ยนภาษาเพื่อความรู ้เกี่ยวกับภาษาเท่านั้น แต่เรี ยนภาษาเพื่อให้ สามารถใช้ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารกับผูอ้ ื่นได้ตามความต้องการในสถานการต่างๆ

ทั้งใน

ชีวติ ประจาวันและการงานอาชีพ การที่ผเู ้ รี ยนจะใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่วและเหมาะสมนั้น ขึ้นอยู่ กับทักษะการใช้ภาษา การจัดการเรี ยนการสอนที่ดี ผูเ้ รี ยนจะต้องมีโอกาสได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาให้มาก ที่สุดทั้งในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน สื่ อสารตามเกณฑ์ของบิลาช (Bilash’s Criteria for Communicative Activities –BCCA) เพื่อประเมิน กิจกรรมที่ผสู ้ อนใช้ในชั้นเรี ยน โดยกิจกรรมนั้นส่ งเสริ มหน้าที่ของภาษา(Function of Language) มีการใช้สื่อ สภาพจริ ง (Authentic Material) เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารทั้งทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างอื่น นอกเหนือจากคาศัพท์ และหลักไวยากรณ์ เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนทุก คนเป็ นทั้งผูพ้ ดู และผูฟ้ ังเป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนคิดแก้ปัญหา เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาใน ชีวติ ประจาวันเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้แสดงความคิดและทัศนคติส่วนตัว เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้ปฏิสัมพันธ์ เมื่อผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิแล้วเกิดการเสี่ ยงภัยต่า (Low Risk) และเกิดความปลอดภัยสู ง (High Security) หมายถึง กิจกรรมนั้นเหมาะสมกับความสามารถของผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิ โดยไม่ผดิ พลาดมากสร้างความมัน่ ใจลดความวิตก กังวล และกิจกรรมนั้นสนุกสนานน่าสนใจ กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนอยากร่ วมกิจกรรม (ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. 2549 : 23-30)

9

จากรู ปแบบกิจกรรมการเรี ยนภาษาเพื่อการสื่ อสารตามแนวคิดของบิลาช ผูส้ อนต้องวางแผนในการ เลือก และการจัดกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับหลักสู ตร และความสนใจของผูเ้ รี ยน การป้ อนข้อมูล ความรู ้ใหม่ ๆ ของผูส้ อนต้องอยูบ่ นฐานความรู ้เดิมของผูเ้ รี ยน การใช้สื่อของจริ งมีการสาธิต การนาเสนอ ตัวอย่าง มีการอธิ บายหรื อขยายความเพิ่มเติม เป็ นสิ่ งที่ผสู ้ อนต้องกระทา การเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้ฝึก ทักษะการสื่ อสารโดยการฝึ กซ้ า ๆ ทาบ่อย ๆ เรี ยนรู ้จากสิ่ งที่ง่ายไปยาก เพื่อลดเงื่อนไขทางด้านจิตใจของ ผูเ้ รี ยน ซึ่ งการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนด้วยB-SLIM Model (Bilash’s Second Language Instructional Model) สามารถทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดแรงจูงใจ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนภาษา ผูศ้ ึกษาค้นคว้ามีความสนใจที่พฒั นาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยน ระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 เพื่อสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรี ยนรู ้มีเป้ าหมาย เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของผูเ้ รี ยนอย่างแท้จริ ง ซึ่ งผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ จะเป็ น แนวทางในการพัฒนาการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ ให้มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้นต่อไป ความมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 ความสาคัญของการวิจัย ผลการวิจยั ครั้งนี้ จะเป็ นประโยชน์และเป็ นแนวทางในการจัดกระบวนการเรี ยนรู้วชิ าภาษาอังกฤษที่ มีประสิ ทธิภาพเพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ให้แก่นกั เรี ยนโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม และ สามารถนาภาษาไปใช้ในชีวติ ประจาวันอย่างคล่องแคล่วขึ้น ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 508 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั เป็ นนักเรี ยนชั้น ป. 4/7 จานวน 43 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบ เจาะจง 2. รู ปแบบการสอนตามแบบ B-SLIM Model วิธีสอนแบบ B-SLIM เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการสอนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สองเพื่อมุ่งเน้นการ สื่ อสารโดยอาศัยหลักการและแนวคิดทฤษฎีพฒั นาการเชาวน์ปัญญาของพีอาเจต์(Piaget) ทฤษฎีพฒั นาการ เชาวน์ปัญญาของวิก็อทสกี้ (Vygotsky) และทฤษฎี การเรี ยนรู้โดยการค้นพบของบรู นเนอร์ (Discovery Aproach) ซึ่ง Olenka Bilash เป็ นผูอ้ อกแบบวิธีการสอน (B-SlimOverview.) 10

3. ตัวแปรทีใ่ ช้ ในการวิจัย ตัวแปรอิสระ แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ B-SLIM Model ตัวแปรตาม ทักษะภาษาอังกฤษ 4. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่มีการกระทาให้เกิดขึ้นหรื อมีการวางแผนกาหนดทิศทาง ไว้ล่วงหน้า โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ตอ้ งเป็ นไปในทิศทางที่ดีข้ ึน 2. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถในการนาภาษาอังกฤษมาใช้ ได้แก่ การพูด การอ่าน การเขียน และการฟัง ซึ่ งแบ่งความสามารถของทักษะเป็ น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 บุคคลสามารถใช้ภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะเพือ่ สื่ อสารเข้าใจได้ในเบื้องต้น ระดับที่ 2 บุคคลสามารถทาความเข้าใจสาระสาคัญของเนื้อหาต่างๆ ได้ ระดับที่ 3 บุคคลสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อติดต่อสัมพันธ์ได้อย่างถูกหลักไวยากรณ์ ระดับที่ 4 บุคคลสามารถเข้าใจสานวนในรู ปแบบต่างๆ ประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ระดับที่ 5 บุคคลมีความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างลึกซึ้ งในเชิงเนื้อหาใกล้เคียงกับเจ้าของ ภาษา สามารถประยุกต์โวหารทุกรู ปแบบได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้องและสละสลวย ตลอดจนเชี่ยวชาญศัพท์ เฉพาะทางในสาขาวิชาของตนอย่างลึกซึ้ ง 3. B-SLIM Model หมายถึง การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ โดยการนาเอาเทคนิคการสอน เขียนที่เรี ยกว่า แบบ (Form) ซึ่ งเป็ นเทคนิคการเขียนที่เน้นกิจกรรมการเขียนจากสิ่ งที่ง่ายไปหาสิ่ งที่ยากขึ้น เพื่อลดเงื่อนไขทางด้านจิตใจ (Affective Filter) เทคนิค Form ประกอบไปด้วย 4 ส่ วน (Quadrant) ดังนี้ 3.1 ส่ วน เอ (Quadrant A) เรี ยกว่าส่ วน “ศัพท์นอ้ ยกฎน้อย” เริ่ มจากการฝึ กการเขียน ในสิ่ งที่ใช้ คาศัพท์และกฎเกณฑ์นอ้ ย เช่น คาขวัญ บัตรอวยพร ฯลฯ 3.2 ส่ วน บี (Quadrant B) เรี ยกว่าส่ วน “ศัพท์มากกฎน้อย” จานวนคาศัพท์มากแต่กฎเกณฑ์ไม่ ซับซ้อน เช่น บันทึกสั้น ๆ บันทึกประจาวัน จดหมายส่ วนตัว ฯลฯ 3.3 ส่ วน ซี (Quadrant C) เรี ยกว่าส่ วน “กฎมากคาศัพท์นอ้ ย” คือการเขียนที่ตอ้ งใช้กฎเกณฑ์มาก แต่ ใช้คาศัพท์นอ้ ย เช่น บัตรเชิญ แบบฟอร์ม ชีวประวัติ ฯลฯ 3.4 ส่ วน ดี (Quadrant D) เรี ยกว่าส่ วน “คาศัพท์มากกฎเกณฑ์มาก” การเขียนในขั้นนี้ยากขึ้นเพราะสิ่ ง ที่เขียนนั้นประกอบไปด้วยทั้งกฎเกณฑ์และคาศัพท์เป็ นจานวนมาก กรอบแนวคิดในการวิจัย ในการวิจยั ครั้งนี้ได้กาหนดแนวคิดดังนี้ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยใช้ B-SLIM Model

ทักษะภาษาอังกฤษ 11

สมมติฐานของการวิจัย ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 หลังการสอนสู งขึ้น

12

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั นามาเสนอตามลาดับดังนี้ 1. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ 2. การจัดการเรี ยนการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร 3. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับรู ปแบบการสอนตามแบบ B-SLIM Model 4. เอกสารผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน 5. หลักสู ตรสถานศึกษาตามแนวทางของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม 6. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ 1.1 ความสาคัญในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ความสาคัญของภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในชีวติ ของคนไทย และคนทัว่ โลกไป แล้ว มนุษยชาติทุกวันนี้สื่อสารกันด้วยภาษาอังกฤษ ไม่วา่ จะเป็ นการติดต่อสื่ อสารกันโดยตรง การใช้ อินเตอร์เน็ต การดูทีวี การดูภาพยนตร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หนังสื อคู่มือทางด้านวิชาการต่างๆ ฯลฯ บัณฑิตที่สาเร็ จการศึกษาออกมาในปัจจุบนั ถ้ามีความรู ้ภาษาอังกฤษทั้งพูดและเขียนเสริ มเข้าไปด้วยอีก โอกาสที่จะหางานก็จะไม่จากัดแค่ในประเทศไทย เท่านั้น ถ้าท่านเป็ นคนหนึ่งที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ ท่านคงจะไม่ปฏิเสธได้ถึงสิ ทธิ พิเศษที่ท่านมีเหนื อคนอื่นที่ไม่สามารถสื่ อสารภาษาอังกฤษได้ ด้วยเทคโนโลยี ด้านคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ทาให้โลกของเราแคบลงไปถนัดตา ทุกวันนี้ท่านสามารถรับรู ้ข่าวสาร หรื อติดต่อกับเพื่อนต่างชาติได้ภายในเสี้ ยววินาที ท่านจะไม่เข้าถึงสิ ทธิ พิเศษเหล่านี้เลย ถ้าท่านไม่รู้ ภาษาอังกฤษ ระบบการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรี ยนของไทยหลายท่านอาจจะบอกว่า ประเทศไทย เราก็ให้ความสาคัญกับการเรี ยนภาษาอังกฤษมาตั้งนานแล้ว แต่ทาไมคนไทยถึงพูดภาษาอังกฤษสู ้คน ฟิ ลิปปิ นส์ไม่ได้เลย นัน่ ก็เพราะว่าหลักสู ตรภาษาอังกฤษของกระทรวงศึกษาธิ การของเรายังไม่ได้เน้นการพูด ภาษาอังกฤษ จะเน้นแต่หลักไวยากรณ์ คาแปล และการอ่านเพื่อความเข้าใจและให้สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ เป็ นส่ วนใหญ่ สิ่ งที่จะต้องปรับปรุ งอย่างมากในระบบการเรี ยนภาษาอังกฤษของไทยเราคือ การเน้นการพูด ออกเสี ยง ไม่วา่ จะเป็ นการออกเสี ยงพยัญชนะแต่ละตัว การเน้นเสี ยงหนักเบา ซึ่ งจะต้องมีสื่อช่วยสอนที่เป็ น 13

มัลติมีเดีย คือ มีท้ งั ภาพ เสี ยง และตัวหนังสื อ ให้ดว้ ย แทนระบบเก่าที่มีแต่ตวั หนังสื อเท่านั้น ทาให้การออก เสี ยงตามคาอ่านที่เขียนในตาราหรื อพจนานุกรมที่ผิดๆ เช่นคาว่า cat ในพจนานุกรมอังกฤษไทยจะเขียนคา อ่านเป็ น แค้ท ซึ่ งแปลมาจากคาอ่านพจนานุกรมอังกฤษเป็ นอังกฤษ ทาให้คนไทยเข้าใจว่า ไม่ตอ้ งออกเสี ยง ตัว t ที่อยูต่ อนท้ายด้วย น่าจะเขียนคาอ่านเป็ น แค่ท-ถึ (ออกเสี ยง ถึ เบาๆ) แต่ถา้ เราจัดทาสื่ อการเรี ยนการสอน แบบมัลติมีเดีย เด็กก็จะได้ยนิ ทั้งเสี ยงที่ถูกต้อง ได้เห็นภาพ และตัวหนังสื อด้วย ซึ่ งทาได้ไม่ยาก และต้นทุนก็ ไม่มาก การเรี ยนของเด็กก็จะมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น 1.2 แนวคิดหรือรู ปแบบเกีย่ วกับการสอนภาษาอังกฤษ จากแนวคิดที่วา่ การเรี ยนรู ้ภาษาที่สอง มี 2 ลักษณะ คือ การเรี ยนแบบการรู ้ภาษา (Acquisition) และ แบบการเรี ยนภาษา (Learning) ทาให้เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาที่ต่างกันออกไป ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาตามแบบการเรี ยนรู ้ภาษา สตีเฟน คราเซน (Stephen Krashen) และเทรซี เทอร์ เรล (Tracy Terrel) (อ้างถึงใน Particia A.Richard – Amato, 1986 : 83) ได้เสนอแนวคิดทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Natural Approach) ขึ้น ซึ่ งมีลกั ษณะสาคัญ คือ แนวการสอนแบบธรรมชาติ เป็ นวิธีการสอนที่เลียนแบบการเรี ยนภาษาแม่ของเด็ก ต้องจัดประสบการณ์ที่จะสอนให้เด็กได้พบและคุน้ เคยกับภาษาที่ตนเรี ยนมากที่สุด เน้นภาษาพูดเป็ นหลัก สาคัญ ให้ผเู ้ รี ยนเคยชินกับแบบของภาษาพูดมากกว่าทักษะอื่นๆ ให้ผเู ้ รี ยนได้พบปะคลุกคลีกบั เจ้าของภาษา โดยตรง ถือหลักไม่พดู ภาษาของผูเ้ รี ยนในห้องเรี ยนแต่จะใช้วธิ ี การออกท่าทาง กริ ยา และวิธีพดู ซ้ า และวิธี แลกเปลี่ยนคาถาม คาตอบ เพื่อให้ถอ้ ยคาของครู เป็ นที่เข้าใจ และใช้เลียนแบบได้ ครู จึงเป็ นฝ่ ายทาการพูดเสี ย เป็ นส่ วนใหญ่ วิธีน้ ีใช้ได้ผลดีกบั เด็กเล็กๆ แนวการสอนแบบธรรมชาติ โดยสรุ ป มีจุดเน้นอยูท่ ี่การสื่ อสารในสถานการณ์ที่แท้จริ ง (Real Communication) ครู ผสู ้ อนจะต้องให้ขอ้ มูลทางภาษาที่ผเู ้ รี ยนสามารถเข้าใจและอยูใ่ นความสนใจของผูเ้ รี ยน และต้องจัดหากิจกรรมต่างๆ ที่จะอานวยประโยชน์ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ภาษาและสามารถใช้ภาษาได้อย่าง อัตโนมัติ 2. แนวคิดทางการสอนตามแบบการเรี ยนภาษา กระบวนการเรี ยนรู ้ภาษาตามแบบการเรี ยนภาษาอย่างเป็ นทางการโดยผ่านการเรี ยนการสอนใน ห้องเรี ยน โดยอาศัยแนวคิดทางจิตวิทยา ภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยา เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนการ สอนภาษาดังนี้ 2.1 กลุ่มที่เน้นพฤติกรรม หรื อการสร้างสมนิสัย ได้แนวคิดจากทฤษฎีการเรี ยนรู้แบบการกระตุน้ และการตอบสนอง และแนวคิดจากทฤษฎี ภาษาศาสตร์ กลุ่มโครงสร้าง กลุ่มนี้มีความเชื่อว่าภาษาเป็ นเรื่ องของนิสัย หรื อความเคยชิน การเรี ยนภาษา คือ การเลียนเสี ยง หรื อการเลียนแบบการสอนภาษา จึงมุ่งที่จะสร้างนิสัย ให้พดู ภาษาใหม่ได้อย่างคล่องแคล่ว โดยไม่ตอ้ งคิดเน้นเนื้อหาที่จะพูดเท่านั้น การสอนจึงเน้นการเลียนแบบ หรื อพูดซ้ าๆ เพื่อจดจาในสมอง 14

บทเรี ยนจะจัดเตรี ยมจากผลการเปรี ยบเทียบภาษาของตนกับภาษาที่จะเรี ยนในด้านระบบเสี ยงและรู ป ประโยค ส่ วนใดมีความแตกต่างกันจะต้องฝึ กให้มาก วิธีสอนตามแนวคิดนี้ ได้แก่ วิธีสอนแบบฟังพูด (Audio Lingual Method) 2.2 กลุ่มที่เน้นความรู ้ความเข้าใจ กลุ่มนี้มีแนวคิดเกี่ยวกับภาษาตรงข้ามกับกลุ่มแรก เชื่ อว่าการเรี ยนการใช้ภาษาเป็ นกระบวนการ อิสระที่ไม่ผกู พันกับสิ่ งที่เคยเรี ยนมาแล้ว การฝึ กอย่างหนึ่งก็ใช้ได้เฉพาะสิ่ งที่ฝึกเท่านั้น จะไปถ่ายทอดกับ เหตุการณ์อย่างอื่นไม่ได้ การเรี ยนภาษาของมนุษย์เกิดจากสัญชาตญาณ เด็กสามารถใช้ภาษาและเข้าใจภาษาที่ ไม่เคยได้ยนิ มาก่อนได้ เพราะมีกลไกในสมองที่วเิ คราะห์ขอ้ มูลและสร้างกฎเกณฑ์ข้ ึน ไม่ใช่การจาแบบ ผูใ้ หญ่ แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาแบบนี้ ได้รับอิทธิ พลจากแนวคิดทางจิตวิทยาแบบความคิดความ เข้าใจ และทฤษฏีภาษาศาสตร์ กลุ่มไวยากรณ์ปริ วรรตการสอนตามแนวคิดนี้ เชื่อว่าการที่คนเราสามารถพูด ภาษาใดภาษาหนึ่งได้คล่องแคล่วนั้น ความสามารถที่จะเข้าใจภาษานั้นๆ มีอยูแ่ ล้วในตัวเอง การสอนภาษาจึง มุ่งให้เข้าใจกระบวนการทั้งหมดของภาษา เน้นความสาคัญของวายกยสัมพันธ์มากกว่าการเรี ยงคา และไม่ สนใจเรื่ องเสี ยงมากนัก วิธีการสอนตามแนวคิดนี้ ได้แก่ วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (Grammar Translation Method) วิธีสอนแบบตรง (Direct Method) และวิธีสอนตามทฤษฏี การเรี ยนรู้แบบความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Code Learning Theory) 2.3 กลุ่มที่เน้นการสื่ อสาร กลุ่มนี้มีแนวคิดทางด้านจิตวิทยาตามกลุ่มความคิดความเข้าใจ และกลุ่มภาษาศาสตร์ สังคม หลักการ สาคัญของแนวคิดของกลุ่มนี้ คือ  การเรี ยนภาษาย่อมมีเป้ าหมาย  ความสามารถในการใช้ประโยค และความคิดอย่างต่อเนื่ องทั้งหมดในขณะสื่ อสารมีความสาคัญ กว่าส่ วนประกอบย่อยๆ ในประโยค  กระบวนการของการสื่ อสาร มีความสาคัญเท่ากับรู ปแบบภาษา  การเรี ยนภาษาเน้นการปฏิบตั ิ  ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์มิใช่เป็ นอุปสรรคที่สาคัญที่สุดของการสื่ อสาร วิธีการสอนตามแนวคิดของกลุ่มนี้คือ วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Communicative Approach) 2.4 กลุ่มมานุษยวิทยา กลุ่มนี้ยดึ แนวความคิดทางมานุษยวิทยา ซึ่งมีหลักการสาคัญ คือ จุดประสงค์ของการเรี ยนรู้ภาษา มิใช่เพียงแต่จะสื่ อสารกับผูค้ นเท่านั้น แต่เพื่อที่จะพัฒนาศักยภาพภายในตัวของตนเอง และถือว่าภาษาเป็ น เครื่ องมือของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction) 15

วิธีสอนตามแนวคิดนี้ ได้แก่ วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (Community Language Learning) วิธีการ สอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response) และวิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia) จากการศึกษา สรุ ปได้วา่ การเรี ยนรู ้ภาษาที่สอง มี 2 ลักษณะ คือ การเรี ยนแบบการรู ้ภาษา (Acquisition) และแบบการเรี ยนภาษา (Learning) 1.2 เอกสารที่เกีย่ วข้ องกับการวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนทางภาษา ผูว้ จิ ยั ได้คน้ คว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนทางภาษา ซึ่งได้พบแนวคิด เกี่ยวกับการวัดผลสัมฤทธิ์ ไว้หลายๆ ด้าน ก่อนอื่นขอแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ “ความหมายของการวัดผล สัมฤทธิ์” ดังนี้ พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530 : 29) ได้ให้ความหมายของคาว่า “ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ในที่น้ ี หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Academic Achievement ) หมายถึง คุณลักษณะรวมถึงความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็ นผลมาจากการเรี ยนการสอน คือมวลประสบการณ์ท้ งั ปวงที่บุคคลได้รับจาก การเรี ยนการสอน ทาให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพสมอง จุดมุ่งหมายของการวัดผลสัมฤทธิ์ จึงเป็ นการตรวจสอบระดับความสามารถของสมรรถภาพสมอง ของบุคคล ว่า เรี ยนแล้วรู ้อะไรบ้าง และมีความสามารถใดมากน้อยเท่าไร จานง พรายแย้มแข (2533 : 42) กล่าวว่า การวางแผนการสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน นั้นจะต้องคานึงสิ่ งสาคัญเหล่านี้ คือ 1. จะออกสอบเรื่ องอะไร หรื อหน่วยอะไร และจะออกอย่างละกี่ขอ้ 2. ข้อสอบที่จะออกนั้นจะวัดสมรรถภาพด้านใด หรื อระดับพฤติกรรมสู งต่าขนาดไหน และอย่างละ เท่าไร นอกจากนี้ผวู ้ ิจยั ได้ทาการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางภาษา เช่น พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530 : 239) กล่าวว่า วิชาทางภาษามีลกั ษณะแตกต่างกับวิชาอื่นๆ อยูม่ าก เพราะวิชานี้มีธรรมชาติเป็ น ประเภททักษะ ไม่มีเนื้อหาเป็ นกิจจะลักษณะโดยเฉพาะ ดังเช่น วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ จะมีอยูแ่ ต่ ไวยากรณ์ซ่ ึ งเป็ นเรื่ องหลักเกณฑ์ทางภาษา และบางส่ วนของวรรณคดีเท่านั้น ที่พอจะนับได้วา่ เป็ นเนื้อหาของ วิชานี้ การสอบวิชาทางภาษาในระดับประถมศึกษาโดยทัว่ ไป มักจะมีเป้ าหมายเพื่อวัดทักษะ 4 ด้าน คือ การ ฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพื่อดูวา่ นักเรี ยนมีความสามารถแสดงออกมาซึ่ งทักษะทั้ง 4 ด้านดังกล่าว ได้รวดเร็ ว ถูกต้องและเฉี ยบคมเพียงใด ซึ่ งเป็ นการวัดการใช้ภาษานัน่ เอง ในการสอบวัดทักษะทางภาษาโดยทัว่ ไป มักจะเน้นแต่ทางด้านการอ่านและการเขียนมากกว่าด้าน การฟังและการพูด ทั้งนี้ เป็ นเพราะการสอบสองชนิดหลังนี้ตอ้ งใช้เครื่ องมือพิเศษกว่าธรรมดา ดังเช่น เครื่ อง บันทึกเสี ยง และห้องปฏิบตั ิการ เป็ นต้น

16

ข้อสังเกต สาหรับการสอบวัดทักษะทางภาษาในวิชาภาษาต่างประเทศ เช่น วิชาภาษาอังกฤษ ควร ต้องมีการวัดทักษะการอ่านด้วย คือวัดการอ่านออกเสี ยงเพื่อดูวา่ ออกเสี ยงถูกหรื อผิด นอกจากนี้ ตอ้ งมีการวัด ทักษะการฟังด้วย ซึ่ งคุณสมบัติ 2 ประการนี้ ถือว่าเป็ นเรื่ องจาเป็ นมากสาหรับการเรี ยนภาษาต่างประเทศ จากการศึกษา สรุ ปได้วา่ การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนภาษานั้นจะต้องวัดให้ครบทุกกระบวนการ ไม่วา่ จะเป็ น ทักษะภาษาทั้ง 4 ทักษะ จุดมุ่งหมายการเรี ยนรู ้ และที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ งก็คือ จะต้องมีการวัด ความสามารถด้านความจา ความเข้าใจ และการนาไปใช้ ในอัตราส่ วนที่นอ้ ย แต่ดา้ นการวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ และการประเมินค่า จะต้องมีอตั ราส่ วนที่มากกว่า 2. การจัดการเรียนการสอนภาษาเพือ่ การสื่ อสาร การจัดการเรี ยนการสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร มุ่งเน้นกระบวนการเรี ยนรู ้ที่มี การฝึ กปฏิบตั ิ มีการนาภาษาไปใช้ได้จริ งตามหน้าที่ของภาษาในการสื่ อความหมายโดยมีเป้ าหมายอยูท่ ี่การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสารในชีวติ จริ ง เหมาะสมกับสภาพสังคม การจัดกระบวนการเรี ยนรู้มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึก ปฏิบตั ิทกั ษะต่าง ๆ ที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเ้ รี ยน กรมวิชาการ (2545 : 27-28) ได้ให้ความหมายของการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารคือการสอนที่ใช้ เทคนิคการสอนหลาย ๆ แบบ ผสมผสานกัน ยึดหลักการสอนเพื่อการสื่ อสารเป็ นสาคัญ โดยนาการสอนแบบ ตรง การเลียนแบบ และท่องจาเข้ามาแทรกในการฟังบทฟัง และพูดนาไวยากรณ์มาแทรกในการสอนมีการ สรุ ปกฎเกณฑ์ เน้นทักษะการใช้ภาษาเป็ นสาคัญ แบ่งขั้นตอนในการสอนเป็ น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้น Presentation เป็ นขั้นตอนนาเข้าสู่ บทเรี ยนโดยการทากิจกรรมWarm up กิจกรรมทบทวน สิ่ งที่เรี ยนมาแล้ว การบอกจุดประสงค์ในการเรี ยน นาเสนอศัพท์ใหม่โครงสร้างประโยคหรื อการอ่านและ เขียน ในขั้นตอนนี้เน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา (Accuracy) ขั้นที่ 2 ขั้น Practice ขั้นนี้เป็ นการฝึ กที่อยูใ่ นความดูแลของครู (ControlledPractice) เมื่อเห็นว่าผูเ้ รี ยน เข้าใจแล้ว จึงให้ผเู ้ รี ยนจับกลุ่มฝึ กกันเอง (Free Practice) ในขั้นขี้ครู ไม่ขดั จังหวะการฝึ กของผูเ้ รี ยน ถึงแม้จะ พบว่ามีขอ้ ผิดพลาด แต่เมื่อฝึ กแล้วจึงจะแก้ไขภายหลัง เพราะระยะเวลานี้ตอ้ งการความคล่องแคล่วในการพูด (Fluency) ขั้นที่ 3 ขั้น Production เป็ นขั้นตอนที่นาความรู ้และทักษะภาษาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การ แสดงบทบาทสมมติ การแสดงละคร การเล่นเกม ร้องเพลง และการทาแบบฝึ กหัด ในการสอนแต่ละครั้งเน้น การบูรณาการทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียน ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2549 : 19) ได้สรุ ปการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร ดังนี้ 1. ประวัติของการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร ได้ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในแถบอเมริ กาเหนือและยุโรป ในช่วงปี 1970 เพราะในช่วงเวลาดังกล่าว มีผอู้ พยพเข้าไปอาศัยในทวีปยุโรปเป็ นจานวนมาก สมาพันธ์ยโุ รป จึงมีความจาเป็ นต้องพัฒนาหลักสู ตรการสอนภาษาที่สองแบบเน้นหน้าที่และสื่ อความหมาย เพื่อช่วยให้ผู ้ อพยพสามารถใช้ภาษาที่สองในการสื่ อสารในแถบอเมริ กาเหนื อใช้คาว่า ภาษาเพื่อการสื่ อสาร หมายถึง ความสามารถในการปฏิสัมพันธ์ 17

2. แนวคิดพื้นฐานวิธีสอนตามแนวการสอนเพื่อการสื่ อสารนี้ มีพ้นื ฐานมาจากแนวคิดที่วา่ ภาษาคือ เครื่ องมือในการสื่ อสารและเป้ าหมายของการสอนภาษา เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความสามารถในการสื่ อสาร ใช้ภาษาหรื อตีความหมายภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กบั บุคคลอื่น ๆ ในสังคม โดยเป็ น ความสามารถที่จะรู ้ได้วา่ เมื่อไรควรจะพูด และควรจะพูดอะไรกับใคร เมื่อไร ที่ไหน และในลักษณะอย่างไร ซึ่ งความสามารถในการสื่ อสารมีองค์ประกอบที่สาคัญดังนี้ 2.1 ความสามารถทางด้านไวยากรณ์ หรื อโครงสร้าง (Grammatical Com-Pretence) หมายถึง ความรู้ ทางด้านภาษา ได้แก่ ความรู ้เกี่ยวกับคาศัพท์ โครงสร้างของคาประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสี ยง 2.2 ความสามารถด้านสังคม (Sociolinguistic Competence) หมายถึง การใช้คาและโครงสร้าง ประโยคได้เหมาะสมตามบริ บทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถามทิศทางและข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ประโยคคาสั่งต่าง ๆ เป็ นต้น 2.3 ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่ อความหมายในด้านการพูดและเขียน (Discourse Competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษากับความหมาย ในการพูดและเขียน ตามรู ปแบบและสถานการณ์ที่แตกต่างกัน 2.4 ความสามารถในการใช้กลวิธีสื่อความหมาย (Strategic Competence)หมายถึง การใช้เทคนิค เพื่อให้การสื่ อสารประสบความสาเร็ จ โดยเฉพาะการสื่ อสารด้านการพูดอาจใช้ท่าทางประกอบเพื่อให้การพูด ประสบความสาเร็ จได้ 3. ลักษณะสาคัญการสอนภาษาตามแนวการสื่ อสารมีลกั ษณะ ดังนี้ 3.1 ต้องให้ผเู ้ รี ยนทราบความมุ่งหมายของการเรี ยนว่าเรี ยนไปเพื่ออะไร ผูส้ อนต้องบอกให้ผเู้ รี ยน ทราบก่อน หรื อฝึ กทักษะภาษาไปเพื่ออะไร 3.2 การสอนภาษาโดยแยกเป็ นส่ วน ๆ ไม่ช่วยให้ผเู ้ รี ยนสื่ อสารได้ดีเท่ากับการบูรณาการ ควรสอน ภาษาในลักษณะบูรณาการใช้ทกั ษะหลาย ๆ อย่างรวมกันไว้ บางครั้งอาศัยกริ ยาท่าทางประกอบด้วยก็ได้ 3.3 ต้องให้ผเู ้ รี ยนได้ทากิจกรรมการใช้ภาษา กิจกรรมดังกล่าวควรมีลกั ษณะเหมือนในชีวติ ประจา วันให้มากที่สุด เพื่อให้ผเู้ รี ยนนาไปใช้ได้จริ ง กิจกรรมการหาข้อมูลที่ขาดหายไป (Information Gap) เป็ น กิจกรรมที่เหมาะสมที่สุดอย่างยิง่ เพราะผูเ้ รี ยนที่ทากิจกรรมนี้จะไม่ทราบข้อมูลของอีกฝ่ ายหนึ่ง จึงจาเป็ น ต้องสื่ อสารกันเพื่อให้ได้ขอ้ มูลตามที่ตอ้ งการกิจกรรมในลักษณะนี้ จึงมีความหมายและใกล้เคียงการสื่ อสาร ในชีวติ จริ งมาก นอกจากนี้ในการทากิจกรรมการใช้ภาษาควรให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสเลือกใช้ขอ้ ความที่ เหมาะสมกับบทบาทและสถานการณ์ดว้ ยนัน่ คือ ผูเ้ รี ยนต้องได้เรี ยนรู้ความหมายของสานวนภาษาในรู ปแบบ ต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน 3.4 ต้องให้ผเู้ รี ยนฝึ กการใช้ภาษามาก ๆ การที่ผเู ้ รี ยนจะสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้น้ นั นอกจากผูเ้ รี ยนต้องทากิจกรรมการใช้ภาษาดังกล่าวแล้วยังต้องมีโอกาสได้ทากิจกรรมในรู ปแบบต่าง ๆ ให้ มากที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ดว้ ย ดังนั้นนอกจากกิจกรรมการหาข้อมูลที่ขาดหายไปแล้ว กิจกรรมอื่น ๆ ที่เป็ น งานคู่ หรื องานกลุ่ม เช่น เกม การแก้ปัญหา (Problem Solving) การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) ย่อมมี บทบาทสาคัญที่สุด 18

3.5 ผูเ้ รี ยนต้องไม่กลัวว่าจะใช้คาผิด แนวการเรี ยนการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารให้ความสาคัญกับ การใช้ภาษา (Use) มากกว่าวิธีใช้ภาษา (Usage) ด้วยเหตุผลนี้ผสู ้ อนจึงไม่ควรแก้ไขข้อผิดพลาดของผูเ้ รี ยนทุก ครั้ง ควรแก้ไขเฉพาะที่จาเป็ น เช่น ข้อผิดพลาดที่ทาให้เกิดการเข้าใจผิดพลาดที่เกิดซ้ าบ่อย ๆ มิฉะนั้นอาจทา ให้ผเู ้ รี ยนขาดความมัน่ ใจและไม่กล้าใช้ภาษาในการทากิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้ การสอนภาษาเพื่อการ สื่ อสารควรให้ความสาคัญในเรื่ องความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (Fluency) เป็ นอันดับแรก ซึ่งภาษาที่ใช้ อาจไม่ถูกต้องนักแต่สื่อความหมายได้ส่วนความถูกต้องของการใช้ภาษา (Accuracy) ก็ควรคานึงถึงด้วย เช่นกัน 4. การออกแบบกิจกรรมเพื่อการสื่ อสาร มีเกณฑ์ในการออกแบบ ดังนี้ 4.1 กิจกรรมนั้นส่ งเสริ มหน้าที่ของภาษา (Functions of Language) หรื อไม่ 4.2 กิจกรรมนั้นได้ใช้สื่อที่เป็ นของจริ ง (Authentic Material) หรื อยัง 4.3 กิจกรรมนั้นเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารอย่างกว้างขวางเพียงใด 4.4 กิจกรรมนั้นมุ่งให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างอื่น นอกจากคาศัพท์และหลักไวยากรณ์หรื อไม่ 4.5 กิจกรรมนั้นเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนทุกคนเป็ นทั้งผูพ้ ดู และผูฟ้ ังหรื อไม่ 4.6 กิจกรรมนั้นเป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนคิดแก้ปัญหาหรื อไม่ 4.7 กิจกรรมนั้นเป็ นกิจกรรมที่อยูบ่ นพื้นฐานของการใช้ภาษา ในชีวติ ประจาวันหรื อไม่ 4.8 กิจกรรมนั้นเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้แสดงความคิดเห็น และทัศนะส่ วนตัวของนักเรี ยนหรื อไม่ 4.9 กิจกรรมนั้นเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้มีปฏิสัมพันธ์หรื อไม่ 4.10 กิจกรรมนั้นเสี่ ยงภัยต่า ปลอดภัยสู งหรื อไม่ และต้องสร้างความมัน่ ใจตลอดจน ลดความวิตก กังวลลงได้หรื อไม่ 4.11 กิจกรรมนั้นสนุกสนานน่าสนใจกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนอยากร่ วมกิจกรรมหรื อไม่ 5. บทบาทของผูเ้ รี ยน ครู และสื่ อการเรี ยนการสอน 5.1 บทบาทของผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนภาษาตามแนวสื่ อสารมีบทบาท ดังนี้ 5.1.1 ปรึ กษาหารื อกันในกลุ่ม นักเรี ยนทุกคนเป็ นที่ปรึ กษาให้เพื่อน ๆ ได้ 5.1.2 ช่วยเหลือซึ่ งกันและกันภายในกลุ่ม 5.1.3 เป็ นผูใ้ ห้และผูร้ ับที่ดีในการทากิจกรรมกลุ่ม 5.2 บทบาทของครู ครู ที่สอนภาษาตามแนวสื่ อสารมีบทบาทที่สาคัญ ดังนี้ 5.2.1 เป็ นผูด้ าเนินการ (Facilitator) 5.2.2 เป็ นผูเ้ ตรี ยมและดาเนินการจัดกิจกรรม 5.2.3 เป็ นผูว้ จิ ยั ผูเ้ รี ยน 5.3 บทบาทของสื่ อการเรี ยนการสอน การสอนตามแนวสื่ อสารจาเป็ นต้องใช้สื่อที่มีความหลากหลาย เพื่อฝึ กใช้กิจกรรมทางภาษา สื่ อที่สาคัญมีดงั นี้

19

5.3.1 เนื้อหา (Text-Based Material) ในปั จจุบนั นี้มีตาราเรี ยนมากมายที่สอดคล้องกับการสอนตาม แนวสื่ อสาร ตาราที่แต่งจะไม่มีแบบฝึ กหัด และไม่เน้นโครงสร้างประโยค แต่จะประกอบไปด้วยข้อมูลต่าง ๆ เช่น การจัดสถานการณ์ที่ให้ผเู ้ รี ยนแสดงบทบาทสมมุติหรื อกิจกรรมคู่ 5.3.2 งานและกิจกรรม (Tasked – Based Material) กิจกรรมตามแนว สื่ อสารจะประกอบไปด้วย เกมต่าง ๆ บทบาทสมมุติ การเลียนแบบ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมทั้งกิจกรรมที่เน้นกระบวนการกลุ่ม 5.3.3 สื่ อที่เป็ นของจริ ง (Reality) กิจกรรมตามแนวสื่ อสารเน้นสื่ อที่เป็ นของจริ ง เช่น ป้ ายประกาศ โฆษณา หนังสื อพิมพ์ รู ปภาพ แผนที่ เป็ นต้น บลูม (กรมวิชาการ. 2542 : 29 ; อ้างอิงมาจาก Bloom. 1983 : 58) ได้เสนอขั้นตอนการเรี ยนการสอน ภาษาไว้ 4 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นนาเสนอ (Presentation) เป็ นการนาเสนอให้นกั เรี ยนได้รับรู้ ไม่วา่ จะให้นกั เรี ยนฟัง อ่าน หรื อเขียน แล้วแต่กรณี ตามแบบที่ครู กาหนด นักเรี ยนรับรู ้และสังเกตไปพร้อมกับการฟัง อ่าน หรื อเขียน ใน ขั้นนี้นกั เรี ยนจะต้องเข้าใจความหมายของคาศัพท์ที่ครู เสนอ ข้อควรคานึงที่ครู ตอ้ งคานึงถึงอย่างมาก คือ การ ใช้คาพูดพร้อมกับแสดงสิ่ งของ หรื อกริ ยาท่าทางให้นกั เรี ยนฟังสังเกต และรับรู้ เข้าใจถูกต้องและชัดเจนที่สุด ขั้นที่ 2 ขั้นฝึ กตามแบบ (Controlled Practice) ครู จะนาเสนอการพูด อ่าน หรื อเขียน แล้วให้นกั เรี ยน ทาตาม ถ้าถูกต้อง ต้องชมเชย ถ้าไม่ถูกต้อง ควรแก้ไข ขั้นที่ 3 ขั้นฝึ ก โดยไม่มีแบบ (Cues) กิจกรรมขั้นนี้จดั ทาขึ้นเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ 4 ขั้นฝึ กกิจกรรมหลากหลาย (Practice and Production) ขั้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อนาคาหรื อ ประโยคที่ฝึกมาแล้วเข้ามาใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ มาช่วยฝึ กเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความ คล่องแคล่ว (Fluency) ถูกต้อง (Accuracy) กิจกรรมที่ควรจัดในห้องเรี ยน 1. แบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติ 2. แบ่งกลุ่มเล่นเกม 3. แสดงท่าทางประกอบเพลง 4. ทาแบบฝึ กหัด 5. อื่น ๆ ตามความเหมาะสม ในการดาเนินกิจกรรมแต่ละขั้นนั้น จะต้องให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้ ทักษะและเจตคติตามจุดประสงค์ที่ หลักสู ตรกาหนด และควรปฏิบตั ิซ้ า ๆ ทุกทักษะ จนนักเรี ยนมีความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา สุ มิตรา อังวัฒนกุล (2546 : 49-51) ได้กล่าวถึงการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารว่ามุ่งให้ผเู ้ รี ยนสามารถ ใช้ภาษาเพื่อสื่ อความหมายได้ การจัดการเรี ยนการสอนจึงเน้นหลักสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องให้ผเู ้ รี ยนรู ้วา่ กาลังทาอะไร เพื่ออะไร ผูส้ อนต้องบอกให้ผเู ้ รี ยนทราบถึงความมุ่งหมายของ การเรี ยนและการฝึ กใช้ภาษา เพื่อให้การเรี ยนภาษาเป็ นสิ่ งที่มีความหมายต่อผูเ้ รี ยนให้ผเู ้ รี ยนรู ้สึกว่าเมื่อเรี ยน แล้วสามารถทาบางสิ่ งบางอย่างเพิ่มขึ้นได้ สามารถสื่ อสารได้ตามที่ตนต้องการ 20

2. การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารต้องใช้หลาย ๆ ทักษะรวมกันไป ผูเ้ รี ยนภาษาก็ควรจะได้ทาพฤติกรรม เช่นเดียวกับในชี วติ จริ ง การสอนในลักษณะบูรณาการจะทาให้ผเู้ รี ยนมีความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการ สื่ อสารได้ดี 3. ต้องให้ผเู ้ รี ยนได้ทากิจกรรมการใช้ภาษา กิจกรรมควรมีลกั ษณะที่เหมือนในชีวิตประจาวันให้มาก ที่สุด เพื่อให้ผเู้ รี ยนนาไปใช้ได้จริ ง ควรให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสเลือกใช้ขอ้ ความที่เหมาะสมกับบทบาทและ สถานการณ์ ผูเ้ รี ยนต้องได้เรี ยนรู ้ความหมายของสานวนภาษาในรู ปแบบต่าง ๆ ที่สามารถนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันได้ 4. ต้องให้ผเู้ รี ยนฝึ กการใช้ภาษามาก ๆ นอกจากผูเ้ รี ยนต้องทากิจกรรมการใช้ภาษาดังกล่าวแล้ว ยัง ต้องมีโอกาสได้ทากิจกรรมในรู ปแบบต่าง ๆ ให้มากที่สุด เท่าที่เป็ นไปได้ เช่น กิจกรรมที่เป็ นงานคู่ งานกลุ่ม เกม การแก้ปัญหา การแสดงบทบาทสมมุติ เป็ นต้น 5. ผูเ้ รี ยนต้องไม่กลัวว่าจะใช้ภาษาผิด ผูส้ อนจึงไม่ควรแก้ไขข้อผิดพลาดของผูเ้ รี ยนทุกครั้ง ควรจะ แก้ไขเฉพาะเท่าที่จาเป็ น ควรให้ความสาคัญในเรื่ องความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาเป็ นอันดับแรก ภาษาที่ ใช้อาจไม่ถูกต้องนักแต่สื่อความหมายได้ สุ มิตรา อังวัฒนกุล (2537 : 112-114) ได้เสนอขั้นตอนการเรี ยนการสอนด้วยวิธีสอน ตามแนวการสอนเพื่อการสื่ อสาร ดังนี้ 1. ขั้นเสนอเนื้ อหา (Presentation or Introducing New Language) เป็ นขั้นตอนที่ครู ให้ขอ้ มูลทาง ภาษาแก่ผเู ้ รี ยน ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นของการเรี ยนรู ้และฝึ กใช้ภาษาในลาดับต่อไปผูส้ อนนาเข้าสู่ เนื้อหา (Lead in) โดยเสนอปริ บทหรื อสถานการณ์แก่ผเู ้ รี ยนก่อนโดยอาจใช้รูปภาพการเล่าเรื่ องให้ฟัง ฯลฯ จากนั้นจึงเสนอ เนื้อหาทางภาษาแก่ผเู ้ รี ยน โดยให้ผเู ้ รี ยนฟังหรื ออ่านซึ่ งอาจเป็ นเรื่ องราวหรื อบทสนทนา แต่ไม่ควรเป็ น ประโยคเดี่ยว ๆ และเนื้อหานี้ นอกจากจะมีคาศัพท์และรู ปแบบภาษาที่ตอ้ งการนามาสอนแล้วก็ควรจะมี คาศัพท์ หรื อรู ปแบบภาษาที่ผเู้ รี ยนเคยเรี ยนรู้มาบ้างแล้ว เพื่อช่วยให้สามารถเข้าใจเรื่ องราวที่ฟังหรื ออ่านได้ บ้าง 2. ขั้นการฝึ ก (Practice / Controlled Practice) เป็ นขั้นตอนที่ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กใช้ภาษาที่เพิ่งเรี ยนรู ้ใหม่ใน ลักษณะของการฝึ กแบบควบคุม (Controlled Practice) โดยมีผสู้ อนเป็ นผูน้ าในการฝึ ก ซึ่ งในการฝึ กในขั้นนี้มี จุดมุ่งหมายให้ผเู ้ รี ยนจดจารู ปแบบของภาษาได้ จึงเน้นที่ความถูกต้องของภาษาเป็ นหลัก แต่ก็มีจุดมุ่งหมาย ให้นกั เรี ยนได้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและวิธีการใช้รูปแบบภาษานั้น ๆ ด้วยเช่นกัน การฝึ กแบบ ควบคุมนี้ ในขั้นเริ่ มแรกมักใช้วธิ ี การฝึ กแบบกลไก (Mechanical Drill) หรื อบางครั้งเรี ยกว่าการฝึ กซ้ า ๆ (Repetition Drill) คือเป็ นการให้นกั เรี ยนฝึ กซ้ า ๆ จนกระทัง่ สามารถจดจาและใช้รูปแบบภาษานั้นได้ แต่ยงั ไม่เน้นด้านความหมาย ดังนั้นในการฝึ กแบบนี้ นกั เรี ยนอาจจะเข้าใจหรื อไม่เข้าใจความหมายของรู ปแบบ ภาษาที่ใช้ในการฝึ กก็ได้ 3. ขั้นการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร (Production / Free Practice) เป็ นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดขั้นตอน หนึ่งของการเรี ยนภาษาต่างประเทศตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร เพราะการฝึ กใช้ภาษา เพื่อการ สื่ อสารเปรี ยบเสมือนตัวกลางที่เชื่อมโยงระหว่างการเรี ยนรู ้ภาษาในชั้นเรี ยนกับการนาภาษาไปใช้จริ งนอก 21

ชั้นเรี ยน การฝึ กใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร มีจุดประสงค์เพื่อให้นกั เรี ยนได้ลองใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยผูส้ อนเป็ นเพียงผูแ้ นะแนวทางเท่านั้น การฝึ กใช้ภาษา ในลักษณะนี้มีประโยชน์ในแง่ที่ช่วยให้ ทั้งผูส้ อนและผูเ้ รี ยนได้รู้วา่ ผูเ้ รี ยนเข้าใจและเรี ยนรู้ภาษาไปแล้วมากน้อยเพียงไร ซึ่ งการที่จะถือว่านักเรี ยนได้ เรี ยนรู ้แล้วอย่างแท้จริ งก็คือการที่นกั เรี ยนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้เองโดยอิสระ ผูเ้ รี ยนมีโอกาสนา ความรู้ทางภาษาที่เคยเรี ยนแล้วมาใช้ให้เป็ นประโยชน์อย่างเต็มที่ในการฝึ กในขั้นตอนนี้อีกด้วย เพราะผูเ้ รี ยน ไม่จาเป็ นต้องใช้ภาษาตามรู ปแบบ ที่กาหนดมาให้เหมือนดังการฝึ กแบบควบคุม ซึ่ งการได้เลือกใช้ภาษาเองนี้ จะช่วยสร้างความมัน่ ใจ ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารให้แก่ผเู ้ รี ยนได้เป็ นอย่างดี วิธีการฝึ กมักฝึ กในรู ปของ การทากิจกรรมแบบต่าง ๆ โดยผูส้ อนเป็ นผูร้ ิ เริ่ มหรื อจัดการขั้นเริ่ มต้นของกิจกรรมให้ เช่น อธิบาย วิธีทากิจกรรม จัดกลุ่มผูเ้ รี ยน หลังจากนั้นผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูท้ ากิจกรรมเองทั้งหมด ผูส้ อนคอยให้คาแนะนา ช่วยเหลือเมื่อผูเ้ รี ยนมีปัญหาในการทากิจกรรมและเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลป้ อนกลับหรื อประเมินผลการทากิจกรรม ในภายหลัง Johnson และ Morrow (1981 : 59-66) ได้แบ่งขั้นตอนในการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารเป็ น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นบอกวัตถุประสงค์ (Setting Objective) อาจตั้งวัตถุประสงค์ปลายทาง (Terminal Objective) และจุดประสงค์นาทาง (Enabling Objective) ในการสอนทักษะเพื่อการสื่ อสารนั้น เน้นการสื่ อ ความหมายทางภาษาต้องเหมาะสม ขั้นที่ 2 ขั้นดาเนินการสอน (Presentation) ผูส้ อนจะต้องให้ผเู้ รี ยนเข้าใจความหมายในเรื่ องที่สอน อย่างชัดเจน โดยการทาความกระจ่างในบริ บท (Contextualization) ซึ่ งการทาความกระจ่างในบริ บทในแนว การสอนเพื่อการสื่ อสารนี้แตกต่างไปจากแนวการสอนที่เน้นโครงสร้างกล่าวคือ วิธีสอนเพื่อการสื่ อ ความหมายทางภาษา ผูส้ อนจะชี้ให้เห็นว่าประโยคนี้ ใครพูดกับใครพูดเรื่ องอะไร พูดเมื่อไร พูดที่ไหน พูด อย่างไร เป็ นพิธีการหรื อไม่ ถูกต้องเหมาะสม และเป็ นที่ยอมรับในสังคมหรื อไม่ ขั้นที่ 3 ขั้นฝึ กใช้ภาษา (Practice) เป็ นการฝึ กเกี่ยวกับตัวภาษาโดยการสร้างสถานการณ์ให้เหมือน จริ ง ผูส้ อนอาจจะช่วยเหลือ แนะนาให้ผเู ้ รี ยนจับคู่หรื อกลุ่ม โดยผูส้ อนทาเป็ นแบบคู่กบั นักเรี ยนก่อนแล้วให้ ผูเ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน ในภายหลังการฝึ กในลักษณะนี้จะทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจจริ ง ๆ ว่าใครจะเป็ น ผูใ้ ช้ประโยคเหล่านี้กบั ใคร เมื่อไร ที่ไหนและอย่างไร ในการฝึ กตัวภาษาในขั้นนี้ ผูส้ อนอาจให้ผเู้ รี ยนพูดตาม ทั้งสิ้ น หรื อเป็ นรายบุคคล จับคู่ หรื อเป็ นกลุ่มใหญ่โดยผลัดกัน ถาม-ตอบ แสดงความคิดเห็น ผูส้ อนจะเป็ น คนตรวจและแก้ไขให้ผเู ้ รี ยนทันทีเมื่อมีความเข้าใจผิดเกิดขึ้น ขั้นที่ 4 ขั้นถ่ายโอนความรู ้ (Transfer) เป็ นการเลือกการฝึ กการใช้ภาษา โดยมีผสู ้ อนคอยช่วยเหลือ ผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลหรื อกลุ่มอาจปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ซึ่ งกันและกันโดยการใช้ภาษาที่เรี ยนมาแล้วอย่าง เสรี และใช้ภาษาในช่วงเวลาที่นานขึ้นกว่าเดิม โดยการสอนบทบาทสมมุติหรื อเล่นเกมต่าง ๆ เพื่อเปิ ดโอกาส ให้ใช้ภาษาอย่างเต็มที่ หรื ออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าผูเ้ รี ยนสามารถนาภาษาที่เรี ยนในห้องเรี ยนออกไปใช้ใน สถานการณ์ที่เป็ นจริ งในชีวิตประจาวันนอกห้องเรี ยนได้ 22

สรุ ปได้วา่ การสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสาร เป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่ มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย ได้ฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่มีโอกาสพบได้จริ งใน ชีวติ ประจาวัน นาภาษาที่คุน้ เคยนั้นไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยครู เป็ นเพียงผูแ้ นะนา แนะแนวทางเท่านั้น ผูศ้ ึกษาค้นคว้ามีความเห็นว่า การสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารนี้มีประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปรับใช้ตามความต้องการของตนเอง และสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้เอง อย่างอิสระ ภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆที่พบในชีวติ จริ ง นอกจากนี้ผเู ้ รี ยนสามารถนาความรู ้ทางภาษาที่เรี ยน มาแล้วไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับรู ปแบบการสอนตามแบบ B-SLIM Model กิจกรรมการเรี ยนการสอนตามแนวสื่ อสารมีกิจกรรมที่หลากหลาย แต่กิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจคือ การสอนภาษาที่สองของบิลาช (Bilash’s Second Language Instructional Modelหรื อ B-SLIM Model) ประกอบไปด้วย 5 ขั้น ดังนี้ (ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. 2549 : 24-30) 1. ขั้นวางแผนและเตรี ยม (Planning and Preparation) ในขั้นนี้ครู จะเลือกกิจกรรมและเนื้อหาให้สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของหลักสู ตร และความสนใจของผูเ้ รี ยน จัดเตรี ยมสื่ อและอุปกรณ์ที่จาเป็ นเพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิด การเรี ยนรู้ สื่ อต้องน่าสนใจสอดคล้องกับเนื้อหา และควรเป็ นสื่ อสภาพจริ ง ขั้นนี้ใช้เวลามากพอสมควร ซึ่ง ผูส้ อนส่ วนมากจะมองข้ามความสาคัญของการเตรี ยมก่อนการสอนไป ผูส้ อนส่ วนมากไม่เตรี ยมการสอน เพราะถือว่าการสอนไม่ใช่เรื่ องยุง่ ยากที่ตอ้ งเตรี ยมเพราะเป็ นหน้าที่ประจาอยูแ่ ล้ว 2. ขั้นทาความเข้าใจสิ่ งที่ผสู ้ อนป้ อน (Comprehensible Input) ผูส้ อนอธิ บายความรู ้ขอ้ มูลหรื อสิ่ งที่ ป้ อนเข้าไปใหม่ เรี ยกว่า Input โดยตั้งอยูบ่ นฐานความรู ้เดิมของผูเ้ รี ยน เพื่อให้ Inputง่ายต่อความเข้าใจผูส้ อน ใช้การขยายความ อธิ บายเพิ่มเติมโดยพูดช้า ๆ ซ้ า ๆ ชัดเจน ใช้รูปภาพสาธิต และเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน ซักถามข้อสงสัย ซึ่ง Input มี 9 ชนิด ดังนี้ 2.1 การรับรู้ภาษา (Language Awareness) การรับรู ้ภาษาเกี่ยวข้องกับเรื่ องต่อไปนี้ 2.1.1 ทักษะภาษา 2.1.2 ทัศนคติ 2.1.3 การเรี ยนรู้และการใช้ภาษา สิ่ งเหล่านี้ผสู ้ อนต้องบูรณาการเข้าในกิจกรรมการเรี ยนการสอน สอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง และขึ้นอยูก่ บั ความพร้อมของผูเ้ รี ยน 2.2 การออกเสี ยง (Pronunciation) การออกเสี ยงเป็ นส่ วนสาคัญของการพูดและเป็ นทักษะที่ยาก สาหรับผูเ้ รี ยนภาษาต่างประเทศ ก่อนที่ผเู ้ รี ยนจะสามารถพูดได้เป็ นประโยคต้องออกเสี ยงคาได้ก่อน การฝึ ก ออกเสี ยงควรเน้นความคล่องจังหวะ และเสี ยงสู งต่าตามบริ บทและสถานการณ์ ผูส้ อนอาจใช้สื่อ เช่น ไดอะแกรมที่แสดงตาแหน่งของเสี ยง หรื อให้ผเู ้ รี ยนส่ องกระจกในขณะที่พดู เพื่อดูลกั ษณะของปาก ลิ้น ใบหน้า ในขณะเปล่งเสี ยง การฝึ กอาจใช้บทสนทนาสั้นการพูดซ้ า และการใช้เพลง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั อายุและ ประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน 23

2.3 ศัพท์ (Vocabulary) จานวนคาศัพท์ที่ผสู ้ อนสอนแต่ละครั้งต้องไม่นอ้ ยหรื อมากเกินไป ผูส้ อน อาจสอนคาศัพท์ที่นอกเหนือจากคาศัพท์ในตาราที่ผสู้ อนและผูเ้ รี ยนใช้ ถ้าเห็นว่าคาศัพท์เหล่านั้นสัมพันธ์กบั เรื่ องที่เรี ยน นอกจากนั้นในการสอนคาศัพท์ตอ้ งเริ่ มสอนจากการสอนคาศัพท์ที่ใกล้ตวั หรื อคาศัพท์ที่ จาเป็ นต้องใช้ในชีวิตประจาวัน (Survival Vocabulary) เช่น ศัพท์เกี่ยวกับจานวน สี สัตว์ คาแสดงคาถาม การ ทักทาย และเวลา 2.4 ไวยากรณ์ (Grammar) การสอนหลักไวยากรณ์ในปั จจุบนั มีแนวโน้มที่จะยึด หลักการสอนตามแนวสื่ อสาร ซึ่งมี 2 วิธี คือ 2.4.1 การสอนแบบอุปนัย (Inductive Discovery of Rule) คือการสอนโดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ ขึ้นมา ก่อน แล้วผูส้ อนและผูเ้ รี ยนช่วยกันสรุ ปกฎเกณฑ์ 2.4.2 การสอบแบบนิรนัย (Deduction) คือการสอนที่เริ่ มจากกฎเกณฑ์แล้วจึงฝึ กการใช้กฎเกณฑ์โดย ใช้กิจกรรมต่าง ๆ หรื อทาแบบฝึ กหัดเพื่อให้ตอบสนองวิธีการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนที่หลากหลาย ผูส้ อนจึงต้องใช้ ทั้งวิธีอุปนัยและนิรนัย และสิ่ งสาคัญที่ผสู ้ อนควรตระหนักเสมอว่าในการสอนหลักไวยากรณ์ คือต้องให้ ตัวอย่างเพียงพอและสาธิ ตการใช้จนกว่าผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และผูส้ อนต้องมีความรู ้ดีเกี่ยวกับ กฎเกณฑ์ก่อนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 2.5 สถานการณ์และความคล่องแคล่ว (Situation and Fluency) การเรี ยนรู้ภาษาที่สอง (Second Language –SL) และภาษาต่างประเทศ (Foreign Language –FL) หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการใช้ ภาษาได้หลากหลายตามบริ บทและสถานการณ์ได้อย่างคล่องแคล่วภาษาเป็ นเครื่ องมือในการปฏิสัมพันธ์ทาง สังคม นอกจากผูเ้ รี ยนรู้และเข้าใจโครงสร้างภาษาแล้วยังต้องสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้ถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์และสถานการณ์อย่างคล่องแคล่วอีกด้วย 2.6 วัฒนธรรม (Culture) วัฒนธรรมแยกเป็ น 2 ส่ วน คือ ซีใหญ่ (Capital หรื อ Big “C”) หมายถึง ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วรรณคดี ศิลปะและดนตรี ซีเล็ก (Little “c”)หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณี ลักษณะนิสัย การแต่งกาย อาหาร การใช้เวลาว่าง ภาษาไม่แยกจากวัฒนธรรม การเรี ยนภาษาต่างประเทศ คือ การเรี ยนวัฒนธรรมต่างประเทศ การสอนวัฒนธรรมควรสอนในรู ปของกระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction Process) มากกว่าที่จะบอกความรู ้หรื อข้อเท็จจริ งทางวัฒนธรรม ผูส้ อนต้องจัดกิจกรรม เพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยน เข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 2.7 กลวิธีการเรี ยนรู้ (Learning Strategy) กลวิธีการเรี ยนรู้ หมายถึง เทคนิคเฉพาะในการเรี ยนภาษาที่สอง และภาษาต่างประเทศ เช่น การหาผูช้ ่วยในการฝึ กสนทนาเพื่อพัฒนาทักษะพูด ผูเ้ รี ยนจะใช้เทคนิคปรับปรุ ง และแก้ไขปั ญหาในการเรี ยนภาษาของผูเ้ รี ยนเอง ซึ่งผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะมีกลวิธีในการปรับปรุ งและแก้ไข ปัญหาในการเรี ยนภาษาของผูเ้ รี ยนเอง ซึ่ งผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะมีกลวิธีในการปรับปรุ งวิธีเรี ยนแตกต่างกัน กลวิธีการเรี ยนรู้มีความสาคัญเพราะเป็ นเครื่ องมือสาหรับการใช้ภาษาในการปฏิสัมพันธ์และมีความจาเป็ นต่อ การพัฒนาความสามารถการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ถ้าผูเ้ รี ยนมีกลวิธีหรื อเทคนิคในการเรี ยนรู้ภาษาดี จะเป็ น ผลทาให้พฒั นาการเรี ยนรู ้ภาษาได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพและเพิ่มความเชื่อมัน่ ในตนเอง ผูเ้ รี ยนที่มี 24

ทักษะในการเรี ยนรู้ภาษาดี จะเลือกกลวิธีหรื อเทคนิคได้อย่างหลากหลาย ส่ วนผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะในการเรี ยนรู ้ ภาษาค่อนข้างต่า จะเลือกเทคนิคที่มีความคล้ายคลึงกัน เลือกซ้ าบ่อยครั้งและจะใช้ภาษา ในการสื่ อสารได้ไม่ดีเท่าที่ควร ดังนั้น ผูส้ อนจาเป็ นต้องรู ้และเข้าใจถึงกลวิธีที่ผเู ้ รี ยนแต่ละคนใช้และ ช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้มีความสามารถในการใช้กลวิธีที่หลากหลายและประสบผลสาเร็ จ ซึ่ งจะส่ งผลให้ ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง 2.8 ทัศนคติ (Attitude) ผูเ้ รี ยนมีทศั นคติที่แตกต่างต่อภาษาเป้ าหมาย (Target Language) ผูพ้ ดู ภาษาเป้ าหมาย (Target Language Speaker) ค่านิยม สังคมทางการเรี ยนภาษาเป้ าหมายและการใช้ประโยชน์ จากภาษาเป้ าหมาย ทัศนคติมีผลต่อความสาเร็ จในการเรี ยนภาษาเป้ าหมาย การมีทศั นคติดา้ นบวกต่อ ภาษาเป้ าหมาย และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษามีความสาคัญต่อผูเ้ รี ยน เพราะทัศนคติดา้ นบวกย่อมเป็ นสิ่ ง เร้าให้ผเู ้ รี ยนต้องการปฏิสัมพันธ์กบั เจ้าของภาษา ทาให้ผเู้ รี ยนได้รับ Input เพิ่มมากขึ้นเรื่ อย ๆ เพราะผูเ้ รี ยนมี โอกาสในการฝึ กภาษาที่เป็ นธรรมชาติจากเจ้าของภาษาเป็ นประสบการณ์ตรง และเป็ นการใช้ภาษาที่สองเพื่อ การสื่ อสารจริ ง(Authentic Communication) นอกจากนั้นทัศนคติดา้ นบวกยังทาให้ผเู ้ รี ยนเลือกใช้กลวิธีการ เรี ยนรู ้ที่หลากหลายช่วยให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาการเรี ยนรู้ดา้ นการฟัง-พูด อ่านและเขียนได้อย่างรวดเร็ ว ทัศนคติ ด้านบวกยังช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคงทนในการจาหลังการทากิจกรรมในชั้นเรี ยนสิ้ นสุ ดลงดังนั้นทัศนคติจึง เป็ นสิ่ งที่สาคัญมากในการเรี ยนภาษาที่สอง กิจกรรมการเรี ยนการสอนและสื่ อต่าง ๆ ต้องตื่นเต้นเร้าใจ น่าสนใจ ทาให้ผเู ้ รี ยนมีทศั นคติที่ดีต่อการเรี ยนภาษาที่สองผูส้ อนต้องคิดหาวิธีที่จะเปลี่ยนทัศนคติดา้ นลบให้ เป็ นด้านบวก และควรจาไว้เสมอว่าการแก้ไขทัศนคติน้ นั ไม่สามารถจะทาได้ในเวลาอันสั้น ต้องใช้เวลาและ เทคนิคที่หลากหลาย 2.9 ทักษะ (Skill) ทักษะ หมายถึงทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน และยังรวมไปถึงทักษะอื่น ๆ เช่น ทักษะการแก้ปัญหา การค้นคว้าวิจยั การหาความรู ้ดว้ ยตนเองและการเรี ยนร่ วมกับผูอ้ ื่น ในที่น้ ีจะกล่าวถึง ทักษะพื้นฐานทั้ง 4 คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน 2.9.1 ทักษะการฟัง (Listening) ทักษะฟังถือว่าเป็ นทักษะแรกในการสื่ อสารถ้าฟังไม่รู้เรื่ อง ก็จะไม่สามารถ พูดโต้ตอบได้ ดังนั้นผูส้ อนจาเป็ นต้องออกแบบกิจกรรมเพื่อเสริ มทักษะการฟัง สิ่ งสาคัญที่ผสู ้ อนจาเป็ นต้องรู ้ ก่อนที่จะเตรี ยมกิจกรรม คือ 2.9.1.1 การสอนทักษะฟังควรคานึงถึงสถานการณ์ (Situation) หรื อบริ บท(Context) การเลือกเนื้อหา (Text) ต้องมีความหมายในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร 2.9.1.2 ก่อนที่จะให้ผเู ้ รี ยนลงมือทากิจกรรมควรมีตวั อย่างหรื อสาธิ ตกิจกรรมนั้นก่อนเพื่อให้ผเู ้ รี ยน ทั้งชั้นเข้าใจก่อนจึงลงมือปฏิบตั ิ 2.9.1.3 ผูส้ อนควรออกแบบกิจกรรมฝึ กทักษะการฟังที่หลากหลายและน่าสนใจ เช่น ฟังเทปแล้ววาด ภาพ หรื อเติมเครื่ องหมายลงในแผนผัง ผูเ้ รี ยนดูวดิ ีโอแล้วช่วยกันสรุ ปหรื อเล่าเรื่ อง 2.9.2 ทักษะการพูด (Speaking) ในการออกแบบกิจกรรมเพื่อเสริ มทักษะการพูดผูส้ อนต้องเริ่ มจาก ง่ายไปหายาก โดยเริ่ มจากกิจกรรมควบคุม (Control Practice) โดยผูส้ อนให้ความช่วยเหลือพร้อมทั้งมี รู ปแบบและตัวอย่างให้นกั เรี ยน เช่น ก่อนที่จะให้ผเู ้ รี ยนฝึ กสนทนาต้องเตรี ยมบทสนทนาให้ผเู ้ รี ยนดูบท 25

สนทนาในขณะที่พดู หลังจากนั้นจึงให้ทากิจกรรมที่ยากขึ้นเป็ นกิจกรรมการฝึ กแบบอิสระ (Free Practice) เช่น บทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จาลองและการอภิปราย การออกแบบกิจกรรมจากง่ายไปยากเป็ นการ ลดความกังวล (Anxiety) ของผูเ้ รี ยน 2.9.3 ทักษะการเขียน (Writing) บิลาช (ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. 2549 : 2430; อ้างอิงมาจาก Bilash. 1998) กล่าวว่า ทักษะการเขียนเป็ นกุญแจดอกสาคัญที่จะทาให้ผเู้ รี ยนประสบ ผลสาเร็ จ ในการเรี ยนภาษาที่สอง การเรี ยนรู ้การเขียนไม่ใช่สิ่งที่เกิดได้โดยธรรมชาติเหมือนการพูด สิ่ งที่พดู บางครั้งผูเ้ รี ยนไม่สามารถเขียนได้ บิลาชได้ออกแบบเทคนิ คการสอนเขียนเรี ยกว่าแบบ (Form) เป็ นเทคนิค การเขียนที่เน้นกิจกรรมการเขียนจากง่ายไปหายากเพื่อลดเงื่อนไขทางด้านจิตใจ (Affective Filter) ซึ่ งได้แก่ เจตคติ แรงจูงใจ ความวิตกกังวล เทคนิค Form ประกอบไปด้วย 4 ส่ วน (Quadrant) ดังนี้ 2.9.3.1 ส่ วน เอ (Quadrant A) เรี ยกว่าส่ วน “ศัพท์นอ้ ยกฎน้อย” เริ่ มจากการฝึ กการเขียนในสิ่ งที่ใช้ คาศัพท์และกฎเกณฑ์นอ้ ย เช่น คาขวัญ ใบสมัคร เมนู คาพังเพย สุ ภาษิตข้อความ ปริ ศนาคาทาย การ์ด 2.9.3.2 ส่ วน บี (Quadrant B) เรี ยกว่าส่ วน “ศัพท์มากกฎน้อย” จานวนคาศัพท์มากแต่ กฎเกณฑ์ไม่ ซับซ้อน เช่น ไดอารี คาถาม เพลง ละครสั้น จดหมายส่ วนตัวโปสเตอร์ แบบสอบถาม 2.9.3.3 ส่ วน ซี (Quadrant C) เรี ยกว่าส่ วน “กฎมากคาศัพท์นอ้ ย” คือการเขียนที่ตอ้ งใช้กฎเกณฑ์มาก แต่ใช้คาศัพท์นอ้ ย เช่น การเขียนเกี่ยวกับชีวประวัติ ปกหนังสื อปฏิทิน โฆษณา โปสเตอร์ เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยว โฆษณาทางโทรทัศน์ 2.9.3.4 ส่ วน ดี (Quadrant D) เรี ยกว่าส่ วน “คาศัพท์มากกฎเกณฑ์มาก” การเขียนในขั้นนี้ ยากขึ้น เพราะสิ่ งที่เขียนนั้นประกอบไปด้วยทั้งกฎเกณฑ์และคาศัพท์เป็ นจานวนมาก เช่น นิยายผจญภัย นิทาน เปรี ยบเทียบ ตานาน กติกาการเล่นเกม บทกวี การอธิบาย หนังสื อพิมพ์ 3. ขั้นกิจกรรมเพื่อความเข้าใจและฝึ ก (Intake Activity)ช่วงเวลาที่ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ Input ผูส้ อนพึงระลึก เสมอว่า ผูเ้ รี ยนไม่สามารถเข้าใจInput ทั้งหมดที่ผสู ้ อนป้ อนในขั้นแรก ผูส้ อนจึงจาเป็ นต้องจัดกิจกรรมในขั้น นี้ เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีโอกาส ทาสองประการ ดังนี้ 3.1 ประการแรก ผูส้ อนต้องจัดกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ Input เรี ยกว่ากิจกรรมเพื่อความ เข้าใจ (Intake-getting) กิจกรรมเพื่อความเข้าใจนี้ใช้เวลาจนกว่าผูส้ อนแน่ใจว่าผูเ้ รี ยนเข้าใจ Input กิจกรรมที่ ใช้ประมาณ 4-5 กิจกรรม แล้วแต่ความยากง่ายของ Input กิจกรรมขั้นนี้เป็ นกิจกรรมที่ง่ายต่อการปฏิบตั ิมี ตัวอย่าง เพือ่ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนลดความกังวล 3.2 ประการที่สอง หลังจากที่ผเู้ รี ยนเข้าใจ Input แล้ว ผูส้ อนออกแบบกิจกรรมที่ยากและซับซ้อน มากขึ้น เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสฝึ ก เรี ยกว่า กิจกรรมฝึ กใช้ภาษา(Intake-using It) กิจกรรมฝึ กใช้ภาษาเป็ น กิจกรรมเพื่อการสื่ อสารและเป็ นธรรมชาติมากกว่ากิจกรรมIntake-getting It 4. ขั้นผล (Output) กิจกรรมขั้นนี้ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนใช้ภาษานอกห้องเรี ยนทั้งทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน ลักษณะ กิจกรรมในขั้นนี้เป็ นกิจกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วยความสามารถทางภาษา ส่ วนมากเป็ น กิจกรรมเดี่ยว (Individual Activity) เช่น โครงงาน การเขียนไดอารี เรี ยงความ เขียนเรื่ องสั้น หรื อกิจกรรม กลุ่ม เช่น การทาหนังสื อพิมพ์ประจาห้อง เป็ นต้น 26

5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) ขั้นนี้ ผูส้ อนรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเป็ นการประเมินการสอนของตัวเอง เช่นการสังเกตหรื อการซักถาม ผูเ้ รี ยนเพื่อต้องการทราบปั ญหาต่าง ๆ และแก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไปส่ วนการประเมินการเรี ยนของ ผูเ้ รี ยนใช้การประเมินทักษะตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment) และการประเมินจากการทดสอบ สรุ ปได้วา่ การที่จะพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่ อสารได้น้ นั ครู ตอ้ งวางแผนและเตรี ยมการสอน มาเป็ นอย่างดี ทาความเข้าใจตัวป้ อนที่ให้แก่ผเู ้ รี ยน มีการออกแบบกิจกรรม จัดเตรี ยมสื่ อการเรี ยนการสอนให้ มีความหลากหลาย เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน สอนจากสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้แล้วจึงสอนความรู ้ใหม่ให้แก่ผเู ้ รี ยนโดย การยกตัวอย่าง การสาธิตให้ผเู้ รี ยนได้ดู และเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิบ่อย ๆ ทาซ้ า ๆ เพื่อให้เกิดความ เข้าใจกับเนื้ อหาความรู ้ใหม่ที่ครู ให้ แล้วลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง การปฏิบตั ิซ้ า ๆ จะทาให้เกิดทักษะความ ชานาญมากขึ้น การจัดบรรยากาศในการเรี ยนต้องจัดให้มีความผ่อนคลาย ลดความวิตกกังวลใจ เปิ ดโอกาส ให้ผเู้ รี ยนได้ซกั ถามเมื่อมีปัญหาให้เวลาในการทางาน สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนได้ปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปบูรณาการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริ ง 4. เอกสารผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน 1. ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (Academic Achievement) หมายถึง ความเข้าใจความสามารถ และทักษะวิชาการ รวมทั้งสมรรถภาพทางสมองด้านต่าง ๆ ได้แก่ ระดับ สติปัญญาการคิด การแก้ปัญหาต่าง ๆ ของเด็ก ซึ่งแสดงให้เห็นด้วยคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หรื อการรายงานทั้งเขียนและพูด การทางานได้รับมอบหมาย ตลอดจนการทา การบ้านในแต่ละรายวิชา (พวงแก้ว โคจรานนท์. 2530 : 25) พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530 : 29) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนว่าคุณลักษณะรวมถึง ความรู้ ความสามารถของบุคคล อันเป็ นผลมาจากการเรี ยนการสอน ทาให้บุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน ด้านต่าง ๆ ของสมรรถภาพทางสมอง 2. การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเป็ นการวัดดูวา่ นักเรี ยนมีพฤติกรรมต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้ใน จุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอนมากน้อยเพียงใด เป็ นการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ของ สมรรถภาพทางสมอง ซึ่งเป็ นผลจากการได้รับการฝึ กฝนอบรมในช่วงที่ผา่ นการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน สามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุดมุ่งหมายและลักษณะวิธีสอน ดังนี้ 2.1 การวัดด้านปฏิบตั ิ เป็ นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบตั ิหรื อทักษะของผูเ้ รี ยน โดยมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนแสดงความสามารถในรู ปของการกระทาจริ ง 2.2 การวัดด้านเนื้ อหา เป็ นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา อันเป็ นประสบการณ์การ เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนรวมถึงพฤติกรรมทางความสามารถด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้โดยใช้ขอ้ สอบวัดผลสัมฤทธิ์ สรุ ปได้วา่ ในการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในแต่ละวิชานั้น สามารถวัดได้ 2 แบบคือ การวัดด้าน การปฏิบตั ิและการวัดด้านเนื้ อหาตามจุดมุ่งหมายและลักษณะของวิธีสอน 27

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เป็ นแบบทดสอบที่วดั ความรู้ของผูเ้ รี ยนที่ได้เรี ยนมาแล้ว ซึ่งมักจะเป็ นข้อคาถามให้ผเู้ รี ยนตอบด้วยดินสอนและกระดาษ (Pencil and Paper)กับให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิจริ ง (Performance) แบบทดสอบประเภทนี้ แบ่งได้เป็ น 2 พวก คือแบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้นกับแบบทดสอบ มาตรฐาน 1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุดของข้อคาถามที่ครู เป็ นผูส้ ร้างขึ้น ซึ่ งเป็ นคาถามที่เกี่ยวกับความรู ้ ที่ผเู้ รี ยนได้เรี ยนในห้องเรี ยน ผูเ้ รี ยนมีความรู ้มากแค่ไหน บกพร่ องที่ตรงไหนจะได้สอนซ่อมเสริ ม หรื อวัด ความพร้อมก่อนที่จะขึ้นบทเรี ยนใหม่ 2. แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทนี้สร้างขึ้นจากผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขา หรื อจากครู ที่สอนวิชานั้น ๆ แต่ผา่ นการทดลองหาคุณภาพหลายครั้ง จนกระทัง่ มีคุณภาพดีพอจึงสร้างเกณฑ์ปกติของ แบบทดสอบนั้น สามารถใช้เป็ นหลักเปรี ยบเทียบผลเพื่อประเมินค่าของการเรี ยน การสอนเรื่ องนั้น ๆ ก็ได้ จะใช้วดั อัตราความงอกงามของเด็กแต่ละวัยในแต่ละกลุ่ม นอกจากนี้ บุญชม ศรี สะอาด (2545 : 53) ได้ให้ความหมายของคาว่าแบบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วดั ความรู ้ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่ งเป็ นผลจากการเรี ยนรู ้ในเนื้ อหาสาระ และตามจุดประสงค์ของวิชา อาจจาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ หมายถึง แบบทดสอบที่สร้างขึ้นตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีคะแนน จุดตัดหรื อคะแนนเกณฑ์สาหรับใช้ตดั สิ นว่าผูส้ อบมีความรู ้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้หรื อไม่ การวัดตรง จุดประสงค์คือหัวใจสาคัญของแบบทดสอบ 2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งสร้างเพื่อวัดให้ครอบคลุมหลักสู ตร จึงสร้าง ตารางวิเคราะห์หลักสู ตร ความสามารถในการจาแนกผูส้ อนตามความเก่งอ่อนได้ดีเป็ นหัวใจของข้อสอบใน แบบทดสอบนี้ จากข้อความดังกล่าวสรุ ปได้วา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หมายถึงแบบทดสอบที่ใช้ วัดความรู ้ความสามารถของแต่ละบุคคล ซึ่ งเป็ นผลมาจากการเรี ยนรู ้ในเนื้อหาวิชาที่สอนนั้น 4. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ บุญชม ศรี สะอาด (2545 : 59-61) กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแบบอิงเกณฑ์ ดาเนินการ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์จุดประสงค์ เนื้อหา ขั้นแรกจะต้องทาวิเคราะห์ดูเนื้อหาที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และที่จะต้องวัดแต่ละ หัวข้อต้องให้ผเู ้ รี ยนเกิดพฤติกรรมหรื อสมรรถภาพอะไร กาหนดออกมาให้ชดั เจน 2. กาหนดพฤติกรรมย่อยที่ออกข้อสอบ จะพิจารณาว่า จะวัดพฤติกรรมย่อยอะไรบ้าง อย่างละกี่ขอ้ พฤติกรรมย่อยดังกล่าว คือจุดประสงค์เชิง พฤติกรรมนัน่ เอง เมื่อกาหนดจานวนข้อที่ตอ้ งการจริ งเสร็ จแล้วต้องพิจารณาว่าจะออกข้อสอบเกินเท่าใด 28

ทั้งนี้หลังจากที่นาไปทดลองใช้ และวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบรายข้อ แล้วจะต้องตัดข้อที่มีคุณภาพไม่ เข้าเกณฑ์ออก ข้อสอบที่เหลือจะได้ไม่นอ้ ยกว่าจานวนที่ตอ้ งการจริ ง 3. กาหนดรู ปแบบของข้อสอบและศึกษาวิธีการเขียนข้อสอบขั้นตอนนี้เหมือนขั้นตอนที่ 2 ของการ วางแผนสร้างแบบอิงเกณฑ์ทุกประการ คือ ตัดสิ นใจว่าจะใช้ขอ้ คาถามรู ปแบบใด และศึกษาวิธีเขียนข้อสอบ เพื่อนาไปใช้ในการเขียนข้อสอบ 4. เขียนข้อสอบ ลงมือเขียนข้อสอบตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมตามตารางที่กาหนดจานวนข้อสอบของแต่ละ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและใช้รูปแบบเทคนิคการเขียนตามที่ศึกษา 5. ตรวจทานข้อสอบ นาข้อสอบที่เขียนเสร็ จแล้ว มาตรวจทานอีกครั้ง โดยพิจารณาความถูกต้องตามหลักวิชาภาษาที่ใช้ เขียนมีความชัดเจน เข้าใจง่ายหรื อไม่ ตัวถูกตัวลวง 6. ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา นาจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและข้อสอบที่วดั แต่ละจุดประสงค์ไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านการวัดผลและ ด้านเนื้ อหาจานวนไม่ต่ากว่า 3 คน พิจารณาข้อสอบว่ามีความตรงกับจุดประสงค์หรื อไม่ ควรพิจารณาให้ เหมาะสม 7. พิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลอง นาข้อสอบทั้งหมดที่ผา่ นการพิจารณาว่าเหมาะสม เข้าเกณฑ์ในขั้นที่ 6 มาพิมพ์เป็ นแบบทดสอบ มี คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบทดสอบ วิธีตอบ จัดวางรู ปแบบการพิมพ์ให้เหมาะสม 7.1 ทดลองใช้ วิเคราะห์คุณภาพ และปรับปรุ ง 7.2 พิมพ์แบบทดสอบฉบับจริ ง 5. คุณลักษณะแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ดี ชวาล แพรัตกุล (2520 : 123-136) กล่าวถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่ดีไว้ ดังนี้ 1. ต้องเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง คุณสมบัติที่ทาให้ผใู้ ช้บรรลุถึงวัตถุประสงค์แบบทดสอบที่มี ความเที่ยงตรงสู ง คือ แบบทดสอบที่สามารถทาหน้าที่วดั สิ่ งที่เราจะวัดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามความมุ่ง หมาย 2. ต้องยุติธรรม (Fair) คือ โจทย์คาถามทั้งหลายที่ไม่มีช่องทางแนะให้เด็กเดาคาตอบได้ไม่เปิ ด โอกาสให้เด็กเกียจคร้านที่จะดูตาราแต่ตอบได้ดี 3. ต้องถามลึก (Searching) วัดความลึกซึ้ งของวิทยาการตามแนวดิ่งมากกว่าการวัดตามแนวกว้างว่ารู ้ มากน้อยเพียงใด 4. ต้องยัว่ ยุ (Exemplary) คาถามมีลกั ษณะท้าทายชักชวนให้เด็กสอบแล้วมีความอยากรู้มากน้อย เพียงใด 5. ต้องจาเพาะเจาะจง (Definite) เด็กอ่านคาถามแล้วต้องเข้าใจแจ่มชัดว่าครู ถามถึงอะไร หรื อให้คิด อะไร ไม่ถามคลุมเครื อ 29

6. ต้องเป็ นปรนัย (Objectivity) หมายถึง สมบัติ 3 ประการ คือ 6.1 แจ่มชัดในความหมายของคาตอบ 6.2 แจ่มชัดในวิธีตรวจหรื อมาตรฐานการให้คะแนน 6.3 แจ่มชัดในการแปลความหมายของข้อความ 7. ต้องมีประสิ ทธิภาพ (Efficiency) สามารถให้คะแนนที่เที่ยงตรง และเชื่อถือได้มากที่สุดภายใน เวลา แรงงาน และเงินน้อยที่สุดด้วย 8. ต้องยากพอเหมาะ (Difficulty) 9. ต้องมีอานาจจาแนก (Discrimination) สามารถแยกเด็กออกเป็ นประเภทได้ทุกระดับตั้งแต่อ่อนสุ ด ถึงเก่งสุ ด 10. ต้องเชื่ อมัน่ ได้ (Reliability) ข้อสอบนั้นสามารถให้คะแนนได้คงที่แน่นอนไม่แปรผัน

5. หลักสู ตรสถานศึกษาตามแนวทางของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนอัสสั มชัญแผนกประถม 5.1 หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถมได้จดั หลักสู ตรสถานศึกษาตามแนวทางของหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็ นหลักสู ตรของโรงเรี ยน ซึ่ งประกอบด้วยการเรี ยนรู ้ ทั้งมวลและ ประสบการณ์อื่นๆ ที่โรงเรี ยนได้วางแผนไว้เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยจัดทาสาระการเรี ยนรู ้ท้ งั รายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมเป็ นรายปี จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกภาคเรี ยน กาหนดสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในหลักสู ตร ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู ้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรี ยนรู ้และความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยน เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความ สมดุล โดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 5.1.1 องค์ประกอบของหลักสู ตร ประกอบด้วย สมรรถนะสาคัญของผู้เรี ยน โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ซึ่ งการ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้บรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่กาหนดนั้นจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการับและส่ งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิดความรู ้เข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วธิ ี การสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 30

2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อ สารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ ที่เผชิ ญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ แก้ไขปั ญหาและมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ สิ่ งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชี วติ ประจาวันการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่ ่ วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสมการปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู ้จกั หลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถใสการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ ร่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ 1.2 ธารงไว้ซ่ ึงความเป็ นชาติไทย 1.3 ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนา 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ 2. ซื่อสั ตย์ สุจริต 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อผูอ้ ื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 3. มีวนิ ัย 3.1 ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม 4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 4.2 แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน 31

5.

6.

7.

8.

ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู้ และสามารถ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ อยู่อย่ างพอเพียง 5.1 ดาเนินชี วติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม 5.2 มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข มุ่งมั่นในการทางาน 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน 6.2 ทางานด้วย ความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมาย รักความเป็ นไทย 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมี ความกตัญญูกตเวที 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์ และสื บทอดภูมิปัญญาไทย มีจิตสาธารณะ 8.1 ช่วยเหลือผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน 8.2 เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชน และสังคม

5.1.2 โครงสร้างหลักสู ตร และสัดส่ วนเวลาเรี ยน โครงสร้ างหลักสู ตร โรงเรียนอัสสั มชัญแผนกประถม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป. 1 ป. 2 1. รายวิชาพืน้ ฐาน 1.1 ภาษาไทย 1.2 คณิ ตศาสตร์ 1.3 วิทยาศาสตร์ 1.4 สังคมศึกษา 1.5 ประวัติศาสตร์ 1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.7 ศิลปะ 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1.9 ภาษาต่างประเทศ - ภาษาอังกฤษ

ระดับชั้น ป. 3 ป. 4

ป. 5

ป. 6

รวม ชั่วโมง

166.6 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

166.6 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

166.6 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

133.3 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

133.3 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

133.3 133.3 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 100

900 800 400 200 200 400 400 600

133.3

133.3

133.3

133.3

133.3

133.3

800

32

กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. รายวิชาเพิม่ เติม 2.1 คณิ ตศาสตร์ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ 2.2 วิทยาศาสตร์ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ 2.3 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร 2.4 ภาษาจีน 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3.1 กิจกรรมแนะแนว 3.2 กิจกรรมนักเรี ยน 3.2.1 ลูกเสื อ 3.2.2 ชมรม 3.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวม

ป. 1

ป. 2

ระดับชั้น ป. 3 ป. 4

33.3 33.3 66.7 33.3

33.3 33.3 66.7 33.3

33.3 33.3 66.7 33.3

33.3 33.3 66.7 33.3

33.3 33.3 66.7 33.3

33.3 33.3 66.7 33.3

100 33.3

100 33.3

100 33.3

133.3 33.3

133.3 33.3

133.3 33.3

33.3 16.65 16.65

33.3 16.65 16.65

33.3 16.65 16.65

33.3 33.3 33.3

33.3 33.3 33.3

33.3 33.3 33.3

1,066.6

1,066.6

1,066.6

1,100

1,100

1,100

ป. 5

ป. 6

รวม ชั่วโมง 200 200 400 200 700

6,500

ตารางแสดงสั ดส่ วนเวลาเรียนหลักสู ตรโรงเรี ยนอัสสั มชั ญแผนกประถม หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้

จานวนคาบเรียน/สั ปดาห์ (คาบ = 50 นาที) ป.2 ป.3 ป.4 ป.5

ป.1 1.รายวิชาพื้นฐาน 1.1 ภาษาไทย 1.2 คณิ ตศาสตร์ 1.3 วิทยาศาสตร์ 1.4 สังคมศึกษา 1.5 ประวัติศาสตร์ 1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.7 ศิลปะ 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี

1.9 ภาษาต่างประเทศ - ภาษาอังกฤษ

ป.6

5 4 2 1 1 2 2

5 4 2 1 1 2 2

5 4 2 1 1 2 2

4 4 2 1 1 2 2

4 4 2 1 1 2 2

การงานอาชีพ

การงานอาชีพ

การงานอาชีพ

การงานอาชีพ

การงาน

การงานอาชีพ

1

1

1

1

อาชีพ 1

1

DLC

DLC

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

2

2

2

2

2

2

4

4

4

4

4

4

33

4 4 2 1 1 2 2

2. รายวิชาเพิ่มเติม 2.1 คณิ ตศาสตร์ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ 2.2 วิทยาศาสตร์ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ 2.3 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร 2.4 ภาษาจีน 3. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 3.1 กิจกรรมแนะแนว 3.2 กิจกรรมนักเรี ยน 3.2.1 ลูกเสื อ 3.2.2 ชมรม 3.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

รวม

1 1 2 1

1 1 2 1

1 1 2 1

1 1 2 1

1 1 2 1

1 1 2 1

1

1

1

1

1

1

1 0.5 0.5

1 0.5 0.5

1 0.5 0.5

1 1 1

1 1 1

1 1 1

32

32

32

32

32

32

5.2 หลักสู ตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จึงขอยกหลักสู ตร สถานศึกษาเฉพาะวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 เท่านั้น ซึ่ งมีสาระสาคัญดังนี้ 1. สาระการเรี ยนรู้ สาระที่ 1 ภาษาเพือ่ การสื่ อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึก และ ความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดยการ พูด และการเขียน สาระที่ 2

ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ 34

มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3

ภาษากับความสั มพันธ์ กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ อนื่

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น และเป็ น พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน

สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบั ชุ มชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก 2. หน่ วยการเรียนรู้ Theme

All about me

Unit 1 : Me and You

24 periods

Unit 2 : My Family

20 periods

Unit 3 : House & Home

20 periods

Unit 4 : School

16 periods

Unit 5 : Health and Food

20 periods

Unit 6 : Activities

40 periods

Unit 7 : Environment

20 periods

Total

160 periods

35

3. คาอธิบายรายวิชา (Course Description) Time Allocation: 133.33 hrs The content of this level aims to enable the students to understand the process of listening, commands and requests, and be able to follow what has been expressed. Understand conversations, sentences, passage and short stories. By the usage of simple language, build relationships between people and exchange ideas. Introduce people in the community. Ask for and give information about personal data, directions , environment, and community. Understand body language, the form of the English language, and English traditions and festivals. Understand the differences between the two languages and cultures from passages, articles, and short stories. See the advantages of learning English by joining in activities which express native speakers’ cultures. Search for knowledge and entertainment that relate to the other subject groups . Have avidity to learn and use basic language to communicate in various situations that might occur in careers and institutions in the learners’ own community. Be able to use four skills ( Listening , Speaking , Reading and Writing ) in daily life by using different methods of teaching and high -technology equipments. 6. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง 1. งานวิจัยในประเทศ ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2001 : 184) ได้ศึกษาการสารวจความเป็ นไปได้ของการสอนภาษาเพื่อการ สื่ อสารในบริ บทประเทศไทย ความมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้เพื่อสารวจปั จจัยที่จาเป็ นที่ตอ้ งพิจารณา เมื่อ นามาปรับใช้วธิ ี การสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารให้เข้ากับบริ บทของไทยโดยระบุถึงปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเจตคติของครู และนักเรี ยน ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในการปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน ในการวิจยั ปฏิบตั ิการในครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ใช้กระบวนการวิจยั แบบมีส่วนร่ วมซึ่ งประกอบด้วย ครู ผสู้ อน วิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษา จานวน 4 คน และนักเรี ยนจานวน 250 คน ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนที่เรี ยนอยู่ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/1, 1/3, 2/1, 2/3, 3/1, 3/2และ 3/4 ของโรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ซึ่ งการวิจยั ต้องการสารวจว่า การจัดการเรี ยนการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารจะต้องถูก ปรับใช้อย่างไรให้เหมาะสมกับการจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ ที่เป็ นภาษาที่สองในการจัดการเรี ยน การสอนของประเทศไทยการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วธิ ีการที่หลากหลาย เช่น การสนทนากับนักเรี ยน การ สนทนากับครู ผรู ้ ่ วมการวิจยั การบันทึกของผูว้ ิจยั การบันทึกของนักเรี ยน การบันทึกของครู ผรู ้ ่ วมวิจยั และ การสังเกตการณ์สอนของผูว้ ิจยั ทฤษฎีที่ใช้ในการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารไปสู่ การฝึ กปฏิบตั ิผวู ้ จิ ยั ใช้ 36

รู ปแบบการสอนภาษาที่สองของบิลาช (B-SLIM Model) เป็ นการออกแบบทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการ สื่ อสารของบิลาชและทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ ดเนอร์ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อเจตคติของครู ผสู ้ อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการฝึ กปฏิบตั ิในชั้นเรี ยน ในมุมมอง ของผูร้ ่ วมวิจยั ผูส้ ังเกตการณ์ของการวิจยั ปฏิบตั ิการในครั้งนี้ คือการประยุกต์ใช้B-SLIM Model ในชั้นเรี ยน ในโอกาสต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ การฝึ กปฏิบตั ิไปใช้ในชั้นเรี ยนการแลกเปลี่ยนความรู ้และความคิด การเรี ยนรู ้สู่ การวิจารณ์ เพื่อล้มล้างข้อสงสัยต่าง ๆ ในการเรี ยน ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อเจตคติของผูเ้ รี ยนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการฝึ กปฏิบตั ิในชั้นเรี ยน สรุ ปได้คือ กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่หลากหลาย การมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิการถ่ายโอนความคิด ความสัมพันธ์ ระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูส้ อน ปั จจัยตัวป้ อนให้แก่ผเู ้ รี ยน รวมทั้งกฎไวยากรณ์ต่าง ๆ กิจกรรมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ และคุณค่าของเพลงป๊ อป-ร็ อค การจัดการเรี ยนการสอน B-SLIM Model และความวิตกกังวลใจในการ สอบ อรวรรณ บุญยืน (2548 : 64-70) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารของนักเรี ยน ชั้นประถมปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านหนองแล้ง อาเภอสาโรงทาบ จังหวัดสุ รินทร์ โดยใช้ B-SLIM Model ภาคเรี ยน ที่ 1 ปี การศึกษา 2547 จานวนนักเรี ยน 22 คนระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน – กรกฎาคม 2547 มีท้ งั หมด 3วงรอบ ๆ ละ 2 แผน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แผนการจัดการ เรี ยนรู้ จานวน 6แผน และการประเมินทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เทคนิคที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างโดยการบันทึกวิดีโอ การสังเกตโดยผูร้ ่ วมศึกษาค้นคว้า การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง โดยการบันทึกเทป และการสนทนา วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้เทคนิคการ ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าและเสนอผลการศึกษาค้นคว้าโดยวิธีบรรยาย ผลจากการศึกษาค้นคว้าพบว่า การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้ B-SLIM Model ตาม ขั้นตอนการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ งในแต่ละวงรอบปฏิบตั ิการศึกษาค้นคว้าได้ดาเนิน การพัฒนาทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ ฟัง พูด อ่านและเขียนไปพร้อม ๆ กันทาให้ครู และนักเรี ยน มีความกระตือรื อร้นเป็ นอย่างมาก นักเรี ยนจะมีพฒั นาการทั้ง 4 ทักษะคือ ฟัง พูด อ่านและเขียนดีข้ ึนเรื่ อย ๆ โดยเฉพาะครู ตอ้ งจัดกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่องตามขั้นตอน อุทยั วรรณ สุ ระทิพย์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทกั ษะการอ่าน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้หนังสื อนิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6/3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 โรงเรี ยนบ้านเขวาโดนแหย่งสามัคคี อาเภอกันทรวิชยั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1จานวน 25 คน ซึ่ งได้มาโดยการสุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้ทกั ษะการอ่านระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้หนังสื อนิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษ มีประสิ ทธิภาพ 77.48 / 76.53 นักเรี ยนที่เรี ยนด้วยแผนการ จัดการเรี ยนรู ้ทกั ษะการอ่าน โดยใช้หนังสื อนิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษ มีผลสัมฤทธิ์ ดา้ นทักษะการอ่าน หลังเรี ยนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดัชนีประสิ ทธิผลของแผนการจัดการ เรี ยนรู ้ทกั ษะการอ่าน ใช้หนังสื อนิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 0.6000 แสดงว่านักเรี ยนมี 37

ความก้าวหน้าในทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ เพิม่ ขึ้นร้อยละ 60 และนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนตาม แผนการจัดการเรี ยนรู ้ทกั ษะการอ่านโดยใช้หนังสื อนิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษ โดยรวมและรายด้านทั้ง 4 ด้าน อยูใ่ นระดับมาก 2. งานวิจัยต่ างประเทศ แวง (Wang. 2000 : 2222-A) ได้ศึกษาแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารและผลกระทบที่มีต่อ กระบวนการเรี ยนการสอนของครู ระดับหลังมัธยมศึกษาในประเทศจีน จุดมุ่งหมายของการวิจยั เพื่อศึกษาถึง การใช้แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารของครู ที่สอนระดับหลังมัธยมศึก ษาในประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน กรอบที่ศึกษาคือ ชนิดของกิจกรรมที่ครู ใช้สื่อและอุปกรณ์ในการสอนวิธีการที่ครู ใช้ในการ แก้ไขข้อผิดพลาดของผูเ้ รี ยนภาษา (Mother Tongue)ที่ผเู ้ รี ยนใช้ในชั้นเรี ยนและการประยุกต์ใช้ไวยากรณ์เพื่อ การสื่ อสาร ผลการศึกษาพบว่า ครู ผสู ้ อนต่างก็มีความเห็นว่าการจัดกิจกรรมในชั้นเรี ยนพวกเขานั้น ใช้การ สอนภาษาเพื่อการสื่ อสารมากขึ้นโดยเฉพาะในเรื่ องของวิธีการแก้ไขข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาของนักเรี ยน การใช้ภาษาแม่และวิธีการสอนไวยากรณ์เพื่อการสื่ อสาร อย่างไรก็ตาม ผลการวิจยั พบว่า ครู ส่วนมากยังคงใช้ วิธีการสอนแบบเดิม ในส่ วนของการยึดตารา เป็ นหลักและผลจากการสังเกตการสอนของครู พบว่าโดย ภาพรวมครู ใช้วธิ ี สอนนี้มากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับผลที่ได้จากแบบสอบถาม ยกเว้นในส่ วนการแก้ไข ข้อผิดพลาดและการใช้ภาษาแม่ของผูเ้ รี ยน นอกจากนั้นยังพบว่าครู ที่จบเอกภาษาอังกฤษและไม่จบเอก ภาษาอังกฤษมีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่แตกต่างกัน ซู (Su. 2003 : 2437-A) ได้ศึกษาถึงการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารในไต้หวันมีวตั ถุประสงค์เพื่อ การศึกษาวิธีการสอนของครู สอนภาษาอังกฤษชาวไต้หวันที่เคยศึกษาโปรแกรมที่เกี่ยวกับการสอน ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สองในโรงเรี ยนในอเมริ กา แล้วกับมาสอนที่ไต้หวันโดยประยุกต์ทฤษฏีและการ ปฏิบตั ิของการสอนภาษา เพื่อการสื่ อสารในการสอนของพวกเขาการวิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการ สัมภาษณ์ แบบสอบถาม และการสังเกตการณ์ในชั้นเรี ยนผลการวิจยั พบว่า ครู ได้พฒั นาความเชื่อที่หนักแน่น และเข้าใจในหลักการและการปฏิบตั ิของการสอนเพื่อการสื่ อสาร ในช่วงเวลาหลายปี ที่พวกเขาเรี ยนใน สหรัฐอเมริ กา แต่อย่างไรก็ตาม ความเชื่อของพวกเขาและการประยุกต์ใช้การสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารใน การสอนที่ไต้หวันนั้นประสบกับความท้าทายที่ตรึ งเครี ยดจากความไม่เชี่ยวชาญในภาษาอังกฤษ ครู ขาดความ เข้าใจเรื่ องการพัฒนาหลักสู ตร การต่อต้านของนักเรี ยน ความคาดหวังในการศึกษาที่แตกต่างกัน และรู ปแบบ การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ผลการวิจยั ยังชี้ให้เห็นความอดทนของครู ที่มีส่วนในการปรับการสอนภาษาเพื่อการ สื่ อสารในการสอนของพวกเขา เพื่อให้การสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารสนองความต้องการของนักเรี ยนใน ไต้หวันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จาเป็ นต้องพยายามเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐในการประเมินและพัฒนา หลักสู ตร การฝึ กฝนครู ฝึกสอน การพัฒนาวิชาชีพสาหรับครู ฝึกสอน และการวิจยั หาวิธีการที่เหมาะสมใน การพัฒนาและวิธีในการสอนภาษาอังกฤษแก่นกั เรี ยนชาวไต้หวัน คอนสแตนต์ยกุ (Konstantyuk. 2004 : 51) ได้ศึกษาระเบียบวิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารและการ สอนภาษายูเครน ซึ่ งให้ทศั นะเกี่ยวกับลักษณะของภาษายูเครนที่ใช้แทนความยากและความสนใจเฉพาะ เมื่อ สอนภาษายูเครนเป็ นภาษาต่างประเทศหรื อภาษาที่สองการศึกษาครั้งนี้ อธิ บายระเบียบวิธีการสอนภาษาเพื่อ 38

การสื่ อสารและลักษณะที่สามารถนามาใช้ในการสอนภาษายูเครน กลุ่มตัวอย่างกิจกรรมที่อธิ บายไว้ใน การศึกษาครั้งนี้ได้เสนอแนะสาหรับระดับต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยนที่มีความมุ่งหมายในการสอนภาษาอันเป็ นวิธีการ ที่จะช่วยผูเ้ รี ยนพัฒนาทักษะเพื่อการแสดงออกถึงความหมายทางการสื่ อสารต่าง ๆ การรวบเทคนิคการสอน ภาษาเพื่อการสื่ อสารเข้ากับการมีทกั ษะทั้ง 4 ทักษะในภาษายูเครนนั้นถูกมองว่าเป็ นปั จจัยสาคัญในการสร้าง การเรี ยนรู้ให้มีประสิ ทธิภาพและมีความสุ ข เทคนิคการปฏิสัมพันธ์ เช่น ละคร คาโคลง เกมบทบาท การ สนทนา การอภิปราย สถานการณ์สมมุติ กิจกรรมการแก้ปัญหา เหล่านี้ได้รับคาอธิ บายว่าเป็ นส่ วนบูรณาการ ของระเบียบวิธีการและได้รับการเสนอแนะสาหรับการสอนภาษายูเครนเป็ นภาษาต่างประเทศหรื อภาษาที่ สอง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ทาให้ผศู ้ ึกษาค้นคว้าสรุ ปได้วา่ การจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ย แผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร โดยใช้ B-SLIM Modelและกิจกรรมที่หลากหลายตาม วิธีการสอนของครู ผสู้ อน จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเพิม่ พูนความรู ้ประสบการณ์ มีทกั ษะด้านการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสาร มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนภาษาอังกฤษสู งขึ้น ผูเ้ รี ยนมีความพึงพอใจ เห็นคุณค่าในตนเอง และมีความมัน่ ใจในการเขียนภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น

39

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย ในการวิจยั เรื่ องการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 ได้ดาเนิ นการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 3. การจัดกระทาและวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 508 คน ซึ่งได้มาจาก เลือกแบบเจาะจง จากนักเรี ยน 2,931 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั เป็ นนักเรี ยนกาลังศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4/7 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 43 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง 2. การสร้ างเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรี ยนรู้วชิ าภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ป. 4 2. แบบทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B – SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ป. 4 3. เกณฑ์การตรวจให้คะแนน การสร้ างเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือ มีดงั นี้ 1. แผนการจัดการเรี ยนรู้ วิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้ B – SLIM Model ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการสร้างตาม ขั้นตอนดังนี้ 1.1 ศึกษาการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ แผนจัดการเรี ยนรู้ วิชาภาษาอังกฤษ 1.2 ศึกษารู ปแบบการสอนแบบ B – SLIM Model 1.3 ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ Communicative Approach (3P) ขั้นตอนกิจกรรมการเรี ยนการสอนผูว้ จิ ยั ใช้รูปแบบการสอน B – SLIM Model ลงไปในขั้นนี้ โดยการกาหนดเนื้อหา ดังนี้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 At Home 40

จานวน 2 คาบเรี ยน

แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 At School จานวน 2 คาบเรี ยน แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 Free Time Activities จานวน 2 คาบเรี ยน แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 My Pets จานวน 2 คาบเรี ยน 1.4 การแผนการจัดการเรี ยนรู้ประกอบด้วย 1. Indicators 2. Sub-concept and Topic 3. Learning Objectives 4. Leaner’s Key Competencies 5. Desirable Characteristics 6. Learning Process / Activities 7. Learning Materials and Learning Sources 8. Evaluation / Assessment 9. Feedback after Teaching 1.5 นาแผนการจัดการเรี ยนรู้ไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ และมีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับด้านภาษาอังกฤษ ตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อปรับปรุ งแก้ไข 1.6 ปรับปรุ งแก้ไขแผนจัดการเรี ยนรู ้ตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ แล้วดาเนินการสอนกับ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4/7 2. สร้ างแบบทดสอบทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ มีข้ นั ตอนดังนี้ การสร้างแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ ใช้ทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนเป็ นแบบทดสอบ แบบอิงเกณฑ์ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ผูศ้ ึกษาค้นคว้า ได้ดาเนินการสร้างและหาคุณภาพ ดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสู ตร คู่มือ การจัดการเรี ยนรู้โดยการใช้ B-SLIM Model เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวกับ การวัดและประเมินผลวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ 2.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอด จุดประสงค์การเรี ยนรู้ เพื่อให้ ทราบเนื้ อหาและจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ 2.3 ศึกษาการสร้างแบบทดสอบแบบเลือกตอบ และการสร้างแบบทดสอบ วัดการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน 2.4 สร้างแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ที่เรี ยนรู ้โดยใช้ BSLIM Model เป็ นแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 2.5 นาแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ ที่สร้างขึ้น เสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาความ เที่ยงตรงตามเนื้ อหาและความเหมาะสม แล้วนามาปรับปรุ ง 41

2.6 นาแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ ที่ปรับปรุ งแล้วเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อประเมินความ สอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ (IOC) ผูเ้ ชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ กับจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ โดยวิธีใช้สูตร IOC ซึ่งมีเกณฑ์การประเมิน ดั้งนี้ (สมบัติ ท้ายเรื อคา. 2551 : 101) ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตรงตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตรงตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ผลการประเมินความสอดคล้องของผูเ้ ชี่ยวชาญพบว่า การวิเคราะห์ขอ้ มูลค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามของแบบทดสอบทักษะภาษาอังกฤษในการสื่ อสาร กับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ โดยนา คะแนนที่ได้มาแทนค่าในสู ตร IOC พบว่า ข้อสอบทั้ง 45 ข้อ อยูใ่ นเกณฑ์ความเที่ยงตรง และมีค่า IOC เท่ากับ 0.67 ถึง 1.00 ถือว่าเป็ นข้อสอบที่อยูใ่ นเกณฑ์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหาที่ใช้ได้ 2.7 นาแบบทดสอบวัดการใช้ภาษาอังกฤษ ไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง 3. เกณฑ์ การตรวจให้ คะแนน ข้อสอบวัดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model มี จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้ 0 – 14 = ต่ากว่าเกณฑ์ หรื อ ต่ากว่าร้อยละ 50 15 - 18 = พอใช้ 50 - 59 19 – 22 = ปานกลาง 60 - 69 23 – 26 = ดี 70 - 79 27 – 30 = ดีมาก 80 - 100 วิธีดาเนินการทดลอง 1. แบบแผนการทดลอง การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิ งทดลอง (Experimental Research) ใช้แบบแผนการทดลองแบบ One group Pre-test – Post-test Design (ล้วน และอังคณา สายยศ 2538 : 249) กลุ่ม สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง E X เมื่อ

E แทน X แทน แทน แทน

กลุ่มตัวอย่างนักเรี ยนชั้น ป. 4/7 ที่เลือกมาจากกลุ่มประชากรโดยการเลือกแบบ เจาะจง รู ปแบบการสอนโดยใช้ B-SLIM Model การวัดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ก่อนฝึ ก การวัดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model หลังการฝึ ก 42

ขั้นตอนดาเนินการศึกษาค้ นคว้า ผูศ้ ึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการ ดังนี้ 1. ดาเนินการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ กับนักเรี ยน กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 ข้อ 2. ดาเนินการจัดการเรี ยนรู้ โดยสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 4 แผน เวลาสอน 8 คาบเรี ยน 3. ดาเนินการทดสอบหลังเรี ยน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ จานวน 30 ข้อ ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบชุ ดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรี ยน 3. การจัดกระทาและวิเคราะห์ ข้อมูล ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยจัดทาตามความมุ่งหมายของการวิจยั ดังนี้ การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 โดยใช้การคานวณหาค่าสถิติพ้นื ฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าเฉลี่ยร้อยละ (Average) 3.1 สถิติพนื้ ฐาน 3.1.1 หาค่าเฉลี่ย (Mean) ของคะแนน โดยใช้สูตร =



เมื่อ ∑

N

แทน คะแนนเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่ม (Ferguson. 1981 : 49)

3.1.2 หาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สูตร √ ∑

S = เมื่อ

S ∑

N



แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มตัวอย่าง (Ferguson. 1981 : 68) 43

3.2 การทดสอบค่ าที่ (t – test dependent) สาหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็ นอิสระต่อกัน เป็ นการหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างเดียวที่วดั สองครั้ง การคานวณหาค่าที่แบบจัดคู่ (matched – paired)

t=



โดย df = N – 1 ให้

D

แทน

ความแตกต่างระหว่างคะแนนแต่ละคู่

N

แทน

จานวนคน

44

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล จากการศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 เมื่อดาเนินการสอนและทดลองเสร็ จสิ้ นแล้ว ผูว้ จิ ยั จึงได้เสนอ ดังนี้ การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 มีรายละเอียดดังแสดงในตาราง ตารางที่ 1 การเปรี ยบเทียบผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยน ระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 N SD D D D2 กลุ่มตัวอย่ าง ก่อนการสอน

43

16.95

5.63 3.60

หลังการสอน

43

20.56

t

155

777

4.60

** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 จากตารางที่ 1 แสดงว่าผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของ นักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 จากการการสอนโดยใช้รูปแบบ B-SLIM Model สู งขึ้นกว่าก่อนการสอนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ซึ่ งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่วา่ ผลการ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 หลังการสอนสู งขึ้น

45

10.369

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของ นักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 โดยสรุ ปสาระสาคัญและผลการวิจยั ดังนี้ ความมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 สมมติฐานของการวิจัย ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 หลังการสอนสู งขึ้น วิธีดาเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั เป็ นนักเรี ยนกาลังศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4/7 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 43 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรี ยนรู้วชิ าภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ป. 4 2. แบบทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B – SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ป. 4 3. เกณฑ์การตรวจให้คะแนน ดาเนินการสอนกับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้รูปแบบการสอน โดยใช้ B – SLIM Model ตามแผนจัดการ เรี ยนรู้ที่เตรี ยมไว้ โดยใช้เวลาดาเนินการสอน 2 สัปดาห์ จานวน 8 คาบเรี ยน ตั้งแต่วนั จันทร์ – ศุกร์ เวลา ดาเนินการสอนตามตารางสอนวิชาภาษาอังกฤษ ห้อง 4/7 ระหว่างวันที่ 20 - 31 มกราคม 2557 แล้วทาการ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติที (t – test dependent) การวิเคราะห์ ข้อมูล การศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้น ประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 โดยใช้การคานวณหาค่าสถิติพ้นื ฐาน ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่ วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าเฉลี่ยร้อยละ (Average)

46

สรุ ปผลการวิจัย ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 ผลสรุ ปว่า ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 หลังการสอนสู งขึ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อภิปรายผลการวิจัย การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของ นักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 พบว่ามีประเด็นสาคัญซึ่ งผูว้ จิ ยั นามาอภิปรายผล ดังต่อไปนี้ ผลการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมปี ที่ 4/7 ปี การศึกษา 2556 อยูใ่ นระดับสู งขึ้น หลังจากที่นกั เรี ยนได้รับการสอนโดยใช้ B-SLIM Model ซึ่ง เป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ และแสดงให้เห็นว่าการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้ B-SLIM Model เป็ น รู ปแบบการสอนหนึ่งที่สามารถพัฒนาความสามารถในการใช้ทกั ษะภาษาอังกฤษทั้ง ซึ่งเป็ นประโยชน์ใน การจัดหลักสู ตรการเรี ยนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของโรงเรี ยน อีกทั้งยังสามารถพัฒนาวิธีการสอนให้มี ประสิ ทธิภาพ เพื่อพัฒนาจุดด้อยของนักเรี ยนในการเติมเต็มศักยภาพ และสามารถนาภาษาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันได้อย่างคล่องแคล่วมากขึ้น ผลการวิจยั ครั้งนี้สอดคล้องกับ อรวรรณ บุญยืน (2548 : 64-70) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารของนักเรี ยนชั้นประถมปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านหนองแล้ง อาเภอสาโรงทาบ จังหวัด สุ รินทร์ โดยใช้ B-SLIM Model ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2547 จานวนนักเรี ยน 22 คนระยะเวลาที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน – กรกฎาคม 2547 มีท้ งั หมด 3วงรอบ ๆ ละ 2 แผน เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แผนการจัดการเรี ยนรู้ จานวน 6แผน และการประเมินทักษะการฟัง การพูด การ อ่าน และการเขียน เทคนิคที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างโดยการ บันทึกวิดีโอ การสังเกตโดยผูร้ ่ วมศึกษาค้นคว้าการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง โดยการบันทึกเทป และ การสนทนา วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้เทคนิคการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าและเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยวิธีบรรยาย ผลจากการศึกษาค้นคว้าพบว่า การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้ B-SLIM Model ตามขั้นตอนการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ งในแต่ละวงรอบปฏิบตั ิ การศึกษาค้นคว้าได้ดาเนิน การพัฒนาทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ ฟัง พูด อ่านและเขียนไปพร้อม ๆ กันทาให้ครู และ นักเรี ยน มีความกระตือรื อร้นเป็ นอย่างมาก นักเรี ยนจะมีพฒั นาการทั้ง 4 ทักษะคือ ฟัง พูด อ่านและเขียนดีข้ ึน เรื่ อย ๆ โดยเฉพาะครู ตอ้ งจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ องตามขั้นตอน และธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2001 : 184) ได้ ศึกษาการสารวจความเป็ นไปได้ของการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารในบริ บทประเทศไทย ความมุ่งหมายของ การศึกษาครั้งนี้เพื่อสารวจปั จจัยที่จาเป็ นที่ตอ้ งพิจารณา เมื่อนามาปรับใช้วธิ ีการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารให้ 47

เข้ากับบริ บทของไทยโดยระบุถึงปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงของเจตคติของครู และนักเรี ยน ที่มีต่อ การเปลี่ยนแปลงในการปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน ในการวิจยั ปฏิบตั ิการในครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ใช้กระบวนการวิจยั แบบมีส่วนร่ วมซึ่ งประกอบด้วย ครู ผสู้ อน วิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษา จานวน 4 คน และนักเรี ยนจานวน 250 คน ซึ่งเป็ นนักเรี ยนที่เรี ยนอยู่ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/1, 1/3, 2/1, 2/3, 3/1, 3/2และ 3/4 ของโรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ซึ่ งการวิจยั ต้องการสารวจว่า การจัดการเรี ยนการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารจะต้องถูก ปรับใช้อย่างไรให้เหมาะสมกับการจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษ ที่เป็ นภาษาที่สองในการจัดการเรี ยน การสอนของประเทศไทยการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วธิ ีการที่หลากหลาย เช่น การสนทนากับนักเรี ยน การ สนทนากับครู ผรู ้ ่ วมการวิจยั การบันทึกของผูว้ ิจยั การบันทึกของนักเรี ยน การบันทึกของครู ผรู ้ ่ วมวิจยั และ การสังเกตการณ์สอนของผูว้ ิจยั ทฤษฎีที่ใช้ในการสอนภาษาเพื่อการสื่ อสารไปสู่ การฝึ กปฏิบตั ิผวู ้ จิ ยั ใช้ รู ปแบบการสอนภาษาที่สองของบิลาช (B-SLIM Model) เป็ นการออกแบบทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการ สื่ อสารของบิลาชและทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ ดเนอร์ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อเจตคติของครู ผสู ้ อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการฝึ กปฏิบตั ิในชั้นเรี ยน ในมุมมอง ของผูร้ ่ วมวิจยั ผูส้ ังเกตการณ์ของการวิจยั ปฏิบตั ิการในครั้งนี้ คือการประยุกต์ใช้B-SLIM Model ในชั้นเรี ยน ในโอกาสต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ การฝึ กปฏิบตั ิไปใช้ในชั้นเรี ยนการแลกเปลี่ยนความรู ้และความคิด การเรี ยนรู ้สู่ การวิจารณ์ เพื่อล้มล้างข้อสงสัยต่าง ๆ ในการเรี ยน ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อเจตคติของผูเ้ รี ยนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการฝึ กปฏิบตั ิในชั้นเรี ยน สรุ ปได้คือ กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่หลากหลาย การมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิการถ่ายโอนความคิด ความสัมพันธ์ ระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูส้ อน ปัจจัยตัวป้ อนให้แก่ผเู ้ รี ยน รวมทั้งกฎไวยากรณ์ต่าง ๆ กิจกรรมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ และคุณค่าของเพลงป๊ อป-ร็ อค การจัดการเรี ยนการสอน B-SLIM Model และความวิตกกังวลใจในการ สอบ ข้ อเสนอแนะทัว่ ไป 1. ข้อเสนอแนะในการนาการศึกษาค้นคว้าไปใช้ 1.1 ก่อนการจัดการเรี ยนรู ้ ครู ควรวางแผนและเตรี ยมตัวให้พร้อมก่อนจัดการเรี ยนรู ้เช่น การเตรี ยม กิจกรรม การจัดเตรี ยมสื่ อ อุปกรณ์ที่จาเป็ นในการสอน เช่น การใช้รูปภาพ ของจริ งการสาธิต การจัด บรรยากาศในชั้นเรี ยน การทาความเข้าใจตัวป้ อนที่จะป้ อนให้แก่ผเู ้ รี ยนซึ่ งต้องขึ้นอยูก่ บั ความพร้อมและ ความสนใจของผูเ้ รี ยน รวมทั้งการขยายความเพื่ออธิ บายเพิ่มเติมโดยผูส้ อนพูดช้าๆ ซ้ า ๆ และชัดเจน จะ ส่ งผลให้การจัดการเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น 1.2 ความเอาใจใส่ ของผูส้ อน ในการดูแล ช่วยเหลือผูเ้ รี ยนอย่างใกล้ชิด เป็ นวิธีหนึ่งที่สามารถลด เงื่อนไขทางด้านจิตใจของผูเ้ รี ยน การตรวจผลงานจากใบงาน การทดสอบย่อย ต้องมีความชัดเจน ผูส้ อนต้อง อธิบายให้ชดั เจน และต้องเสี ยสละในการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนกลุ่มอ่อนการใช้เวลาในการตรวจผลงานการ เขียนของนักเรี ยน 48

2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 2.1 ควรทาการศึกษารู ปแบบการสอน B-SLIM Model ที่หลากหลาย และสนองต่อความต้องการ ความสนใจของผูเ้ รี ยน เพื่อเปรี ยบเทียบว่าการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ใช้ B-SLIM Model ในแต่ละ ทักษะมีความแตกต่างกันอย่างไร และจะนาไปพัฒนาผูเ้ รี ยนต่อไปอย่างไร 2.2 ควรนาวิธีการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Modelไปใช้กบั นักเรี ยน ระดับชั้นต่าง ๆ เพื่อศึกษาว่าวิธีการสอนโดยใช้ B-SLIM Model มีความเหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมกับเนื้อหา และระดับชั้นเรี ยนใด

49

บรรณานุกรม

50

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. การสั งเคราะห์ รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยด้ านทักษะการสื่ อสาร. กรุ งเทพฯ : โรง พิมพ์ การศาสนา, 2542. ______. คู่มือการจัดการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาต่ างประเทศ. กรุ งเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2545. ______. สรุปย่ อรายงานวิจัยเรื่ อง การศึกษาสภาพการจัดการเรี ยนการสอนภาษาอังกฤษทีม่ ่ งุ เน้ นทักษะการ สื่ อสารตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน. กรุ งเทพฯ : กองวิจยั ชวาล แพรัตกุล. เทคนิคการเขียนข้ อสอบ. กรุ งเทพฯ : โรงเรี ยนแพรัตอนุสรณ์ , 2520. จานง พรายแย้มแข. (2533). เทคนิคการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้กบั การสอนซ่ อมเสริ ม (ตาม กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ). กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. เอกสารประกอบการสอนวิชา 0506714 การสอนภาษาอังกฤษ. มหาสารคาม : ภาควิชา หลักสู ตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549. บุญชม ศรี สะอาด. การวิจัยเบื้องต้ น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น, 2545. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2530). การสร้ างและพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ สานักทดสอบทางการศึกษา และ จิตวิทยา : มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สุ มิตรา อังวัฒนกุล. การวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2535. ______. กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. ______. วิธีสอนภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537. อรวรรณ บุญยืน. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่ อสารของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้ B-SLIM Model. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2548. อุทยั วรรณ สุ ระทิพย์. การพัฒนาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ทักษะการอ่ านระดับชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้ หนังสือ นิทานชาดกฉบับภาษาอังกฤษ. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2551. Johnson, Keith and Keith Morrow. Communication in the Classroom. London : Longman, 1981. Konstantyuk, Lrina. “Communicative Language Teaching Methodology and the Teaching of Ukrainian,” 51

Masters Abstracts International. 42(1) : 51 ; February, 2004. Krashen, Stephen D.; and Terrell, Tracy D. (1983). The Natural Approach : Language Acquisition in the classroom. Oxford: Pergamon Press. Su, Yu Chin. “Communication Language Thatching in Taiwan : The Thatching and Learning Experiences of Three Taiwanese English Teachers Who Studied in American University and Returned to Teach in Taiwan,” Dissertation Abstracts International. 63(7) : 2437 – A ; January, 2003. Wang, Jingjing. “Communicative Language Teaching and its Impact on Teachers, Professional Practices at Tertiary Level in China,” Dissertation Abstracts International. 61(06) : 2222-A ; December, 2000.

52