การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร Cost Volume Profit analysis: CVP

21 ก.ค. 2010 ... บทเรียน. 1. ความสัมพันธ์ต้นทุน ปริมาณ และกาไร. 2. ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนผันแปร และ ต้นทุน. คงที่. 3. การวิเคราะห์จุดเสมอตัว. 4. ก...

16 downloads 276 Views 795KB Size
ต้นทุน ปริมาณ และกาไร (Cost Volume Profit analysis: CVP analysis)

1

7/21/2010

บทเรียน 1. ความสัมพันธ์ ต้นทุน ปริมาณ และกาไร 2. ต้ น ทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ต้ น ทุ น ผั น แปร และต้ น ทุ น คงที่ 3. การวิเคราะห์จุดเสมอตัว 4. การวางแผนกาไรในอนาคต 5. จุดเสมอตัวของหลายผลิตภัณฑ์

2

7/21/2010

ต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้อง 1.ต้นทุนผันแปร (Variable cost)หมายถึงค่าใช้จ่าย ที่ ผั น แปรไปตามปริ ม าณผลิ ต หรื อ ปริ ม าณขาย ถ้ า ปริม าณยิ่งเพิ่มมากขึ้นค่าใช้จ่ายผันแปรรวมจะเพิ่ม มากขึ้ น ถ้ า ปริ ม าณน้ อ ยจะมี ค่ า ใช้ จ่ า ยผั น แปรน้ อ ย เช่น วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง เป็นต้น

3

7/21/2010

ต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้อง

2.ต้นทุนคงที่ (Fixed cost ) หมายถึงค่าใช้จ่ายที่ไม่ เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณ เช่น ค่าใช้จ่ายในการ ผลิต ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เป็นต้น

4

7/21/2010

กาไรส่วนเกิน กาไรส่ว นเกิ น (Contribution Margin) หมายถึ ง ผลต่ า งของราคาขายกั บ ต้ น ทุ น ผั น แปร หรือราคาขายส่วนที่เหลือหลังจากหักต้นทุนผันแปร แล้ว กาไรส่ วนเกิน จะเป็ นตัว บ่ง บอกถึง ประสิท ธิภ าพใน การดาเนินงานของกิจการ ยิ่งมีกาไรส่วนเกินมาก ยิ่งแสดงว่า มีเงินเหลือเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายคงที่ใน แต่ละงวด 5

7/21/2010

วิธีการคานวณกาไรส่วนเกิน 1.ก าไรส่ ว นเกิ น ต่ อ หน่ ว ย (Unit Contribution Margin) ก าไรส่ ว นเกิ น /หน่ ว ย = ราคาขาย/หน่ ว ย –ต้ น ทุ น ผั น แปร/ หน่วย หรือ กาไรส่วนเกิน/หน่วย = กาไรส่วนเกินรวม จานวนหน่วยขาย ตัวอย่าง บริษัท ดาวเรือง จากัด 6

7/21/2010

วิธีการคานวณกาไรส่วนเกิน 2.อัตรากาไรส่วนเกิน ( Contribution Margin ratio หรือ CM ratio) อัตรากาไรส่วนเกิน = กาไรส่วนเกินรวม x 100 จานวนเงินค่าขาย หรือ อัตรากาไรส่วนเกิน = กาไรส่วนเกินต่อหน่วยx 100 ราคาขายต่อหน่วย ตัวอย่าง บริษัท ดาวเรือง จากัด 7

7/21/2010

จุดเสมอตัว จุดเสมอตัว (Break-even point: BEP) หมายถึ ง ปริ ม าณขายที่ ท าให้ รายได้ ร วมเท่ า กั บ ค่าใช้จ่ายรวม หรือปริมาณขายที่ทาให้รายได้รวมหัก ค่าใช้จ่ายรวมกาไรเป็นศูนย์

8

7/21/2010

วิธีการคานวณ BEP 1.วิธีสมการ รายได้รวม =

ต้นทุนรวม ( กาไร = O )

ราคาขาย/หน่วย x ปริมาณ = ต้นทุนคงที่รวม + (ต้นทุนผันแปร/หน่วย x ปริมาณ )

ตัวอย่าง บริษัท ภาคภูมิ จากัด

9

7/21/2010

วิธีการคานวณ BEP 2. วิธีกาไรส่วนเกิน ปริมาณขายที่เสมอตัว =

ต้นทุนคงที่รวม กาไรส่วนเกินต่อหน่วย จานวนเงินที่เสมอตัว = ต้นทุนคงที่รวม อัตรากาไรส่วนเกิน ตัวอย่าง จากบริษัทภาคภูมิ จากัด เดิม

10

7/21/2010

การวางแผนกาไร

1.วิธีสมการ ปริม าณขายที่ ได้ ก าไร = ต้น ทุนคงที่ รวม + กาไรก่อ นหั ก ภาษี ตัวอย่างบริษัท ภาคภูมิ จากัด 2.วิธีกาไรส่วนเกิน ปริมาณขายที่ได้กาไร = ต้นทุนคงที่ + กาไรก่อนหักภาษี กาไรส่วนเกินต่อหน่วย ตัวอย่าง บริษัทภาคภูมิ จากัด 11

7/21/2010

กาไรสุทธิหลังหักภาษี บริษัทวางแผนต้องการกาไรเท่าใด ให้นากาไรบวกเพิ่มต้นทุน คงที่ โดยมีเงื่อนไขคือ ต้องเป็นกาไรก่อนหักภาษี ดังนั้น กาไรหลังหักภาษี = กาไรก่อนหักภาษี-ภาษี หรือ กาไรก่อนหักภาษี = กาไรหลังหักภาษี (1-อัตราภาษี) ตัวอย่างบริษัท ภาคภูมิ จากัด 12

7/21/2010

BEP: ผลิตภัณฑ์หลายชนิด คานวณหา อัตรากาไรส่วนเกินรวม สูตร ปริมาณ BEP =

ต้นทุนคงที่รวม อัตรากาไรส่วนเกิน ตัวอย่าง บริษัท คิดเร็ว จากัด

13

7/21/2010

การเปลี่ยนแปลงสัดส่วน เมื่อสัดส่วนการขายเปลี่ยนแปลงไป จะส่งผลกระทบ ต่อ BEP โดยปัจจัยเดิมคงที่ เช่น ต้นทุนและราคา ขายเดิม ตัวอย่าง บริษัท คิดเร็ว เดิม

14

7/21/2010

BEP ของผลิตภัณฑ์หลายชนิด ขั้นตอน 1.หาสัดส่วนการขาย 2.หากาไรส่วนเกิน/หน่วยของแต่ละผลิตภัณฑ์ 3.หากาไรส่วนเกินต่อสัดส่วนการขาย 4.หา BEP ต่อสัดส่วนการขาย 5.หาปริมาณขาย ณ BEP ของแต่ละผลิตภัณฑ์ ตัวอย่าง บริษัท คิดเร็ว จากัด เดิม 15

7/21/2010

BEP: กรณีขายสินค้ารวมชุด ตัวอย่างบริษัท แสงสว่าง จากัด

16

7/21/2010

เงื่อนไข BEP 1.ราคาสินค้าและบริการคงที่ 2.ต้น ทุน ผัน แปร/หน่ว ย คงที่ และต้น ทุน คงที่จ ะคงที่ ช่วงเวลาที่เกี่ยวข้อง 3.รายได้และต้นทุนต้องเป็นเส้นตรง 4.ปริมาณผลิตเท่ากับปริมาณขาย ไม่มีสินค้าคงเหลือ 5.ส่วนผสมการขายคงที่

17

7/21/2010

CVP เพื่อการวางแผน 1.วางแผนเพื่อสร้างกาไรสูงสุด 2.วางแผนสร้างกาไรตามเป้าหมาย 3.วางแผนการดาเนินงาน 4.วางแผนกลยุทธ์ด้านการตลาด ตัวอย่างบริษัท เกาะช้าง จากัด

18

7/21/2010

CVP เพื่อการวางแผน ตัวอย่างบริษัท ภาคภูมิ จากัด มี ท างเลื อ กเพื่ อ เพิ่ ม ค่ า โฆษณา มี ผ ลท าให้ ย อดขาย เพิ่มขึ้น ดังนี้

19

7/21/2010

ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณขาย ต้ น ทุ น ขาย จาเป็นต้องมีการวัดระดับความปลอดภัยเพื่อหลีกเลี่ยงความ เสี่ยง โดย วิธีที่ 1 วัดระดับความปลอดภัย( Margin of Safety) วิธี ที่ 2 วัดระดับภาระผูก พั นดาเนินงาน (Degree of Operating leverage : DOL)

20

7/21/2010

ระดับความปลอดภัย คานวณโดย 1.ระดับความปลอดภัย = รายได้จริง – รายได้ ณ จุด BEP 2.อัตราความปลอดภัย(%) = รายได้จริง – รายได้ ณ จุด BEP รายได้จริง ตัวอย่าง บริษัท ปรานี จากัด

21

7/21/2010

ระดับภาระผูกพันดาเนินงาน พิ จ ารณาจากโครงสร้ า งของเงิ น ทุ น ถ้ า มี ต้ น ทุ น คงที่ สู ง กว่ า ต้นทุนผันแปร ถือว่ามีภาระผูกพันดาเนินงานสูง เช่น ใช้ เครื่องจักรแทนแรงงานคน ถ้าใช้แรงงานคนแทนเครื่องจักร ต้นทุนผันแปรจะสูงกว่าต้นทุน คงที่ มีระดับภาระผูกพันต่า สูตร DOL = กาไรส่วนเกิน กาไรจากการดาเนินงาน ตัวอย่าง บริษัท ก กับ บริษัท ข

22

7/21/2010

BEP กับภาระผูกพันในการดาเนินงาน DOL มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความเสี่ยง ถ้า DOL สูง แสดงถึง ความเสี่ยงสูง ถ้า DOL ต่า แสดงถึง ความเสี่ยงต่า ตัวอย่างเดิม

23

7/21/2010

ประสิทธิภาพของโครงสร้างต้นทุน ถ้าต้องการมีต้นทุนคงที่สูง ให้เลือกใช้เครื่องจักรแทนแรงงาน ถ้าต้องการมีต้นทุนคงทีต่ ่า ให้เลือกใช้แรงงานคงแทนเครื่องจักร ตัวอย่างเดิม

24

7/21/2010

บทสรุป

การวิ เ คราะห์ จุ ด เสมอตั ว คื อ การพิ จ ารณาปริ ม าณที่ ท าให้ รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวม หรือปริมาณที่ทาให้กาไรเป็น ศูนย์ ต้นทุนรวม เป็นการรวมต้นทุนคงที่รวม+ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนผันแปรรวม คือ ต้นทุนผันแปร/หน่วย x ปริมาณ เมื่อคานวณ ปริมาณที่เสมอตัวแล้ว สามารถนา BEP มา วางแผนกาไรในอนาคตได้ว่า ถ้าต้องการกาไรในอนาคตให้ นามาบวกเพิ่มกับต้นทุนคงที่

25

7/21/2010