Restaurant Management System - aucc.csit.rru.ac.th

ระบบการจัดการร้านอาหาร เพื่อท ารายการอาหาร การรับ Order...

227 downloads 1225 Views 812KB Size
The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

ระบบการจัดการร้านอาหาร Restaurant Management System พรทิพย์ วรรณสุทธิ์1 และ ณภัทรกฤต จันทวงศ์2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี [email protected] [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุ ประสงค์เพื่อพัฒนา ระบบการ จัดการร้านอาหาร ระบบนี้ครอบคลุม 4 ระบบย่อย ประกอบด้วย ระบบการจองโต๊ะ ระบบการสั่งอาหาร ระบบ การชาระเงิน และ ระบบ รายงานต่างๆ โดยมีขั้นตอนการ พัฒนา 6 ขั้นตอน 1) การกาหนดปัญหาและความต้องการ ของระบบ 2) การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ 3) การวิ เคราะห์ระบบงาน 4) การออกแบบระบบงาน 5) การพัฒนาระบบงาน 6) การติดตั้งและทดสอบ พัฒนาโดย ใช้โปรแกรม VB และฐานข้อมูล Microsoft Office Access 2007 หลังจากพัฒนาระบบเสร็จแล้ว มีการทดลองใช้งาน แล้ว ประเมินการใช้งาน 4 ด้าน ประกอบ ด้วย ด้าน การ ทางานได้ตามฟังก์ชันงานของระ บบ (Functionality) ด้าน ประสิทธิภาพ (Performance) ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ระบบ (Usability) และด้านการรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูลในระบบ (Security) พบว่า ด้านการทางานได้ตาม ฟังก์ชันงานของระบบ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.25 ด้าน ประสิทธิภาพ ได้คะแนนเฉลี่ย 3.90 ด้านความง่ายต่อการ ใช้งานระบบ ได้คะแนนเฉลี่ย 3.85 ด้านการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูลในระบบ ได้คะแนนเฉลี่ย 3.25 และ ความพึงพอใจโดยรวม ได้คะแนนเฉลี่ย 3.81 คาสาคัญ: ระบบ ร้านอาหาร การจัดการร้านอาหาร

Abstract This Research aims to develop a Restaurant Management System. The system covers 4 subsystems: Table reservation, ordering food, bill and payment and reporting. This research has 6 stages: 1) define the problems and needs of the system 2) study the feasibility of developing 3) Analyze the System 4) Design 5 ) Development 6) installation and testing developed using VB and Microsoft Office Access 2007 Database. After development step, the users tested this system and evaluated using answer 4 aspect questionnaires: Functionality, Performance, Usability and Security and found that average score of this evaluation: Functionality is 4.25, Performance is 3.90, Usability is 3.85 and Security is 3.25 and total satisfaction is 3.81. Keywords: System, Management System

Restaurant,

Restaurant

1. บทนา เทคโนโลยี สารสนเทศมีความสาคั ญในการดาเนิน ชีวิต ทั้งการทางานและการดาเนิน ชีวิตประจาวัน

The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

ร้านอาหารทั่วไปส่วนใหญ่จะเป็นร้านยังมีการสั่งอาหาร หรือ การจองโต๊ะอาหาร โดยวิธีการ จดรายการในกระดาษ ซึ่ งทา ให้เกิดปัญหาหลายอย่าง เช่น ปัญหาการจดรายการอาหาร ผิด ปัญหาการจดรายการอาหารไม่ครบ ปัญหาการทา กระดาษจดรายการอาหารหายหรือกระดาษอาจจะเปียกน้า และไม่สามารถดูรายการอาหารที่จดได้ จึงต้องกลับไป สอบถามผู้มาใช้บริการอีกครั้งและทาให้ได้รับอาหารล้าช้า ปัญหากระดาษจดรายการอาหารหมด ปัญหาในการเสิร์ฟ อาหารผิดโต๊ะอาจจะทาให้ผู้มาใช้ บริการไม่พึงพอใจ และทา ให้ยกเลิกรายการอ าหารทั้งหมด ทาให้ทางร้าน อาหาร สูญเสียรายได้ จากปัญหาดังกล่าว ผู้พัฒนาจึงคิดพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์สาหรับใช้บริหารจัดการ ร้านอาหาร เพื่อ อานวยความสะดวกให้กับพนักงาน ละเจ้าของร้าน

2.วัตถุประสงค์และเป้าหมายของวิจั ย 1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์และออกแบบระบบ การ จัดการร้านอาหาร 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมระบบ การจัดการ ร้านอาหาร

3. ขอบเขตการพัฒนา ระบบนี้มี 5 ระบบย่อย ประกอบด้วย 3.1 ระบบลงบันทึกเข้า เพื่อให้ผู้ดูแลระบบ ตรวจสอบได้ว่าใครเข้าใช้งาน ระบบนี้ 3.2 ระบบการสั่งจองโต๊ะอาหาร เพือ่ ให้ผู้ใช้ระบบบันทึกข้อมูลการจองโต๊ะอาหาร จากลูกค้า 3.3 ระบบการสั่งอาหาร เพื่อให้ผู้ใช้บันทึกรายการสั่งอาหารจากลูกค้า 3.4 ระบบการชาระเงิน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถคิดค่าอาหารและออกใบเสร็จ ค่าอาหารได้ 3.5 ระบบรายงานต่างๆ

เพื่อให้ผู้ใช้หรือเจ้าของร้านสามารถดูรายงานต่างๆ เกี่ยวกับร้านอาหารได้ โดยแต่ละระบบ ผู้ใช้งานสามารถจัดเก็บข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล หรือแก้ไขข้อมูล และ แสดงผลลัพธ์ ของข้อมูลทั้งหมดได้

4. วิธีการวิจัย การพัฒนาระบบการจัดการร้านอาหาร ได้แบ่งวิธีการ ดาเนินการพัฒนาตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 4.1 การกาหนดปั ญหาและความต้ องการของระบบ ใน การพัฒนาระบบการจัดการร้านอาหาร ผู้จัดทาได้ศึกษา ขั้นตอนการทางานของระบบงานปัจจุบัน โดยสังเกตจากการ ปฏิบัติงานจริง ของร้านอาหารต่างๆ การสัมภาษณ์ การ สนทนากับผู้ที่เกี่ยวข้อง และการสืบค้น ข้อมูลการบริหาร ร้านอาหารจากอินเทอร์เน็ต 4.2 การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ จาก การศึกษาถึงค วามเป็นไปได้ของระบบงานใหม่ พบว่า มี ความเป็นไปได้ในทางเทคนิค เพราะ สามารถ ใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ช่วยในการบริหารจัดการได้ และไม่ต้องลงทุน หรือเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เพราะใช้ซอฟต์แวร์ ระบบการจัดการ ฐานข้อมูล Microsoft Office Access 2007 และใช้ ซอฟต์แวร์ด้านการออกแบบ และเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 ซึ่งง่ายต่อการออกแบบและ การพัฒนา ระบบ 4.3 การวิเคราะห์ระบบงาน เมื่อผู้พัฒนาระบบได้ศึกษาระบบงาน ศึกษาขั้นตอน การทางานของระบบ ตลอดจนสภาพปัญหาอุปสรรค เพื่อ การวางแนวทางของลักษณะชุดคาสั่ง ลาดับขั้นตอนการ ดาเนินงาน ข้อมูลนาเข้า และผลลัพธ์ของระบบงานนี้ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อตอบสอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 4.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Information Gathering) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมข้อมูล ทั้งหมดที่มีอยู่ในระบบ ประกอบด้วยกระบวนการทางาน

The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

(Processes) ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (Data) และกลุ่มคนที่มี อิทธิพลส่งผลกระทบ โดยตรงต่อระบบ (Boundaries) 4.3.2 แบบจาลองเชิงตรรกะของระบบ (Logical Modeling)เป็นขั้นตอนของการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาเป็น แนวทางในการสร้างแผน ผังกระแส ข้อมูล (Data Flow Diagram)เพื่อแสดงความสัม พันธ์ระหว่างข้อมูลกับ กระบวนการทางาน เป็นการนาข้อมูลที่รวบรวมได้จาก ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล มาจัดเป็นกลุ่มข้อมูลที่

เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอยู่ในชุดเดียวกัน จัดกลุ่มของ กระบวนการทางานรวมทั้งขอบเขตของระบบงาน เพื่อ นามาใช้สาหรับการสร้าง แผนภาพการไหลของข้อมูล ซึ่ง แสดงขั้นตอนทางานของระบบที่ปรับปรุงใหม่ จะได้ระดับที่ 0 (Level 0) เป็นแผนผังบริบท (Context Diagram) แสดง ในรูปที่ 1 มีเอนทิตี้ 4 เอนทิตี้ ประกอบด้วย ลูกค้า ห้องครัว พนักงาน และเจ้าของร้าน ดังนี้

รูปที่ 1 แผนผังบริบท

ระบบการจัดการร้านอาหาร มี ทั้งสิ้น 9 กระบวนการด้วยกัน ได้แก่ กระบวนการส มัคร สมาชิก กระบวนการจองโต๊ะอาหาร กระบวนการรับ บริการ กระบวนการ สั่งอาหาร กระบวนการ ปรับ สถานะรายการอาหาร กระบวนการยกเลิกรายการ อาหาร กระบวนการชาระเงิน กระบวนการจัดการ

ข้อมูลพื้นฐาน ของร้าน และ กระบวนการ พิมพ์ รายงานสามารถแสดงด้วยแผนผังกระแสข้อมูล ดัง แสดงในรูปที่ 2 มีกระบวนการสาคัญที่ แสดงใน ระดับที่ 2 ได้แก่ กระบวนการจองโต๊ะอาหาร กระบวนการสั่งอาหาร และกระบวนการ ชาระเงิน ชา ระเงิน ดังแสดงในรูปที่ 3 ถึงรูปที่ 5

The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

รูปที่ 3 ผังแสดงกระแสข้อมูล ระดับที่ 2 ของกระบวนการจอง โต๊ะอาหาร

รูปที่ 2 แผนผังกระแสข้อมูล

รูปที่ 4 ผังแสดงกระแสข้อมูล ระดับที่ 2 ของกระบวนการสั่ง อาหาร

The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

รูปที่ 5 ผังแสดงกระแสข้อมูล ระดับที่ 2 ของกระบวนการ ชาระเงินชาระเงิน

การจัดการฐานข้อมูลออกแบบโดยสร้าง ตาราง 11 ตาราง ประกอบด้วย ตารางลูกค้า ตาราง ประวัติ การใช้ระบบ ตารางโต๊ะอาหาร ตาราง พนักงาน ตารางการสั่งสินค้า ตารางรายการอ าหาร ตารางรายละเอียดอาหาร ตารางหัวรายการอาหาร ตาราง รายละเอียดการชาระเงิน ตารางหัวใบชาระ เงิน และ ตารางรายการวัตถุดิบ

วัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่ โดยผู้พัฒนาระบบเป็น ผู้ควบคุมการทดสอบ นอกจากนี้มีการประเมินความ พอใจ 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการทางานได้ตาม ฟังก์ชันงานของระบบ (Functionality) ด้าน ประสิทธิภาพ (Performance) ด้านความง่ายต่อการ ใช้งานระบบ (Usability) และด้านการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security) โดยให้ ผู้ใช้งานที่เป็นนักศึกษา สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราช ภัฏธนบุรี จานวน 20 คน ทดลองใช้งานแล้วทา แบบสอบถามประเมินคว ามพึงพอใจ ระดับคะแนน การประเมิน อยู่ระหว่าง 1 ถึง 5 โดย 1 = ปรับปรุง 2 = พอใช้ 3 = ปานกลาง 4 = ดี 5 = ดีมาก แล้ว คานวณหาค่าเฉลี่ยแต่ละด้าน และค่าเฉลี่ยโดยรวม

5. ผลการพัฒนา การพัฒนาระบบการจัดการร้านอาหาร ผู้พัฒนา ได้ดาเนินการตามกระบวนการและขั้นตอนต่างๆ แสดงตัวอย่างผลการพัฒนาต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้

4.4 การออกแบบระบบงาน การออกแบบหน้าจอสาหรับติด ต่อกับผู้ใช้ แบ่งการออกแบบออกเป็น 2 ส่วน คือ การออกแบบ ข้อมูลนาเข้า (Input Design) และการ ออกแบบ ผลลัพธ์ (Output Design) รูปที่ 6 แสดงหน้าจอการเข้าใช้งาน

4.5 การพัฒนาระบบงาน สาหรับขั้นตอนการพัฒนาระบบนี้ ผู้พัฒนาใช้ โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 และใช้ Microsoft Office Access 2007 เป็นฐานข้อมูล 4.6 การติดตั้งและทดสอบ ผู้พัฒนาระบบใช้วิธีการทดสอบ โดยให้กลุ่ม ตัวอย่าง (พนักงาน) ทดสอบการทางานของระบบ ทั้งหมดว่ามีกระบวนการทางานถูกต้องตาม

รูปที่ 7 แสดงหน้าจอหลัก

The 3rd ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2015

รายการประเมิน (Functionality) ประสิทธิภาพ (Performance) ความง่ายต่อการใช้งาน (Usability) การรักษาความปลอดภัย (Security) ความพึงพอใจโดยรวม

รูปที่ 8 แสดงหน้าจอการสั่งอาหาร

ค่าเฉลี่ย 3.90 3.85 3.25 3.81

6. สรุปผลการพัฒนา

รูปที่ 9 แสดงหน้าจอการจองโต๊ะอาหาร

ผลจากการพัฒนา ระบบการจัดการร้านอาหาร พบว่าระบบสามารถใช้งานได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ไม่ได้เชื่อมต่ออยู่กับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และมีผู้ใช้ 2 ส่วนดังนี้ 6.1 ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้ที่สามา รถ จัดการกับ ระบบงานทั้งหมดที่อยู่ในส่วนบริหารจัดการ ระบบ การจัดการร้านอาหาร ได้ อย่างเช่น การเพิ่มลบแก้ไข ข้อมูล เมนูอาหาร หรือ รายการต่างๆ ที่ เกี่ยวกับการ จัดการบุคคล เป็นต้น 6.2 ผู้ใช้งานระบบ (พนักงาน) สามารถเข้าใช้งาน ระบบการจัดการร้านอาหาร เพื่อ ทารายการอาหาร การรับ Order หรือการยกเลิกรายการอาหารได้

7. เอกสารอ้างอิง รูปที่ 10 แสดงปฎิทินการจองโต๊ะอาหาร

[1] กิตินันท์ พลสวัสดิ์ Visual Basic 2008 ฉบับโปรแกรมเมอร์ สานักพิมพ์ ไอดีซี อินโฟ ดิสทริ บิวเตอร์ เซ็นเตอร์ 2009. [2] นันทนี แขวงโสภา คู่มือ Access 2007 ฉบับสมบูรณ์ สานักพิมพ์ โปรวิชั่น 2007

[3] “ระบบสารสนเทศเพื่อการ รูปที่ 11 แสดงหน้าจอการชาระเงิน

ส่วนผลการประเมินการใช้งานของผู้ใช้งาน 20 คน แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการประเมินการใช้ระบบ

รายการประเมิน การทางานได้ตามฟังก์ชันงาน

ค่าเฉลี่ย 4.25

จัดการ.”[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาเข้าถึงได้ http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledg e/Management%20Information%20Systems/ mis1.htm [4] ยศพิชา คชาชีวะ กลยุทธ์ร้านอาหารมือ อาชีพ ฉบับเขียนใหม่ สานักพิมพ์ ซีเอ็ด 2556.