Teaching Vocabulary 1. Thai version

14.2 การร้อยเรียงค าศัพท์และความหมายผ่านเพลง เช่นวิธีการเรียนแบบที่สถาบันกวดวิชา. Enconcept ใช้อยู่. 15. การท่องศัพท์แบบค าคล้องจอง เช่น channel – ช่อ...

5 downloads 566 Views 154KB Size
Teaching Vocabulary KM Team:

Virasuda Vanlee Wanna Panna Vivis

Sribayak Sirihanjanavong Charoenchang Chaturongakul Chinthongprasert

1. Thai version 1. ความสาคัญของการสอน / การเรี ยนคาศัพท์ - ความรู ้ดา้ นคาศัพท์มีบทบาทสาคัญยิง่ ในการอ่านบทความภาษาต่างประเทศ จากงานวิจยั บาง เรื่ องพบว่าคาศัพท์เพียง 1 คาที่ผอู ้ ่านไม่ทราบความหมายสามารถขัดขวางการทาความเข้าใจประโยค ที่คาศัพท์น้ นั ปรากฏอยู่ หรื อ อาจทาให้ผอู ้ ่านไม่เข้าใจเรื่ องนั้น ๆ ทั้งเรื่ อง นักวิจยั ส่ วนหนึ่ง (Krashen, 1989; Nagy, Herman และ Anderson, 1985; Schmitt, 1998) เชื่อว่าการ เรี ยนรู ้คาศัพท์เป็ นกระบวนการที่ค่อย ๆ พัฒนาทีละน้อยจากการเดาคาศัพท์จากปริ บท หรื อ กล่าวอีก นัยหนึ่งก็คือเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญจากการอ่าน (incidental learning) แล้วพบเจอ คาศัพท์น้ นั มากกว่า 1 ครั้ง ดังนั้นเวลาสอนเราจึงควรให้นกั ศึกษาเดาคาศัพท์จากปริ บท - นักวิจยั อีกกลุ่มหนึ่ง (Frantzen, 2003; Kelly, 1990; Schatz และ Baldwin, 1986) มองว่าการเดา คาศัพท์จากปริ บทไม่ได้ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้คาศัพท์ หรื อ สามารถทาให้เดาความหมายของคาศัพท์ ในบทความได้ถูกต้อง ยิง่ ไปกว่านั้นในบางครั้งอาจทาให้ผอู ้ ่านเข้าใจเนื้ อเรื่ องที่อ่านผิดไป ซึ่ งเป็ น เรื่ องที่เกิดขึ้นได้จากประสบการณ์ที่สอนมาโดยตรง โดยเฉพาะในบทอ่านที่เป็ นแบบ authentic นั้น บางครั้งปริ บทไม่ได้เอื้อให้เดาคาศัพท์น้ นั ได้ - ในการอ่านบทความภาษาอังกฤษให้เข้าใจนั้น ผูอ้ ่านจาเป็ นต้องมีพ้นื ความรู ้เรื่ องคาศัพท์ในระดับ หนึ่ง ดังที่ งานวิจยั ของ Laufer (1989 อ้างถึงใน Hu และ Kelly, 2004) พบว่า ผูอ้ ่านควรมีพ้ืนความรู้ ด้านคาศัพท์อย่างน้อย 5,000 คา จึงสามารถอ่านบทความภาษาอังกฤษทัว่ ไปได้เข้าใจ จะเห็นได้วา่ นักศึกษาในวิชา EL 070 ผูซ้ ่ ึ งมีพ้นื ฐานคาศัพท์นอ้ ยมาก จะไม่สามารถใช้เทคนิคการเดาคาศัพท์จาก ปริ บทได้ เนื่องจากปริ บทแวดล้อมไม่ได้เอื้อให้พวกเขาเดาคาศัพท์ได้ เพราะเกือบจะทุกคาเป็ น คาศัพท์ใหม่สาหรับพวกเขา สรุ ป จากข้อมูลด้านบน จะเห็นว่าหากผูเ้ รี ยนมีพ้นื คาศัพท์มากพอสมควรจะทาให้พวกเขาอ่านข้อมูลได้เข้าใจง่ายกว่าการมีพ้นื ฐานคาศัพท์นอ้ ย และทาให้ความเร็ วในการอ่านเร็ วขึ้นด้วย ซึ่ ง สอดคล้องกับแนวคิดของ Grabe (1995) ซึ่งระบุวา่ การระลึกคาศัพท์ได้อตั โนมัติน้ นั มีประสิ ทธิภาพ

2

มากกว่าการใช้ปริ บทเพื่อเดาคาศัพท์โดยเฉพาะอย่างยิง่ สาหรับผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะการอ่านที่ดี เนื่องจาก การระลึกคาศัพท์ได้โดยอัตโนมัติน้ นั ใช้ระยะเวลาน้อยกว่ามาก นอกจากประโยชน์ในการช่วยเรื่ องการอ่าน การสอน/ การเรี ยนคาศัพท์สามารถ... - ช่วยให้เข้าใจเนื้ อหาจากการฟัง-อ่านดีข้ ึนและช่วยให้พดู ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น - ช่วยให้การใช้ภาษามีความลึกมากขึ้น ในกรณี ที่รู้คาศัพท์ชนิดเดียวกันแต่มีรายละเอียดในแง่ ของความหมายที่ต่างกัน - ช่วยในการเขียนรวมทั้ง productive skills ทั้งหมด 2. ปัญหาในการสอน / การเรี ยนคาศัพท์ 1.จาคาศัพท์ไม่ได้แม้จะเรี ยนแล้วเพราะไม่ได้ทบทวนและนาไปใช้ 2. คาศัพท์น้ นั เป็ นคาศัพท์แบบ low frequency ทาให้ผเู ้ รี ยนอาจจะไม่พบคาศัพท์น้ นั อีกหรื อ พบน้อยมากหลังจากการเรี ยน ผลคือ ทาให้ยากต่อการจดจาและนาไปใช้ 3. ข้อจากัดในเรื่ องของเวลา ผลคือ ไม่สามารถทากิจกรรมที่กระตุน้ การเรี ยนรู ้คาศัพท์แบบ ระยะยาวได้ 4. ปริ มาณคาศัพท์ที่จะต้องสอนในชั้นเรี ยนมีมาก ผล คือ ให้นกั ศึกษาไปหาศัพท์มาก่อน หรื อเรี ยนรู้คาศัพท์เอง โดยผูส้ อนเน้นเพียงบางคา และเฉลยแบบฝึ กหัด 5. นักศึกษาท่องจาคาศัพท์เพื่อการสอบเท่านั้น ดังนั้นการจาจะเป็ นแบบ short term ผลคือ หลังสอบ จาคาศัพท์ไม่ได้แล้ว 6. มีความสับสนในการจาความหมายของคาที่สะกดคล้ายกัน เช่น wipe-whip นักศึกษาจา ว่า wipe แปลว่า ตี โดยไป เชื่ อมกับคาว่า whipped cream หรื อ คาว่า ban-band โดยผูเ้ รี ยนบางคน แปล คาว่า ban ว่าเป็ นวงดนตรี ผลคือแปลเรื่ องไม่รู้เรื่ อง 7. คาศัพท์หลายคามีมากกว่า 1 ความหมาย และ 1 หน้าที่ ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามปริ บท นักศึกษามักจะแปลความหมายจากความหมายที่เรี ยนมาหรื อใช้บ่อยมากที่สุด ผลคือ อาจแปลผิด หากปริ บทเปลี่ยนไป หรื อหน้าที่ของคาเปลี่ยนไป 8. คาศัพท์ยาก ใหม่ ยาว ตัวสะกด ผูเ้ รี ยนมักจะจาไม่ได้ 9. การสะกดกับการออกเสี ยงไม่ตายตัว ทาให้ผเุ ้ รี ยนงง เช่น to (ทู) du (ดู) so (โซ) 10. นศ.ไม่มีstock คาศัพท์ ชอบคิดคาศัพท์ที่มาจากภาษาไทย ซึ่ งใช้ไม่ได้โดยตรง เช่น เขา อาย นศ. ใช้คา embarrassed ครู จึงต้องอธิ บายเพิ่ม 11. ใช้เทคนิคเดียวกันกับนศ.ไม่ได้ ต้องปรับการสอนให้เข้ากับระดับของนศ. Paribakht & Wesche (1993 อ้างถึงใน Schmitt, 1998: 284) ได้แบ่งระดับความรู ้ดา้ น คาศัพท์ออกเป็ น 5 ระดับ ดังนี้คือ

3

ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 4 ระดับที่ 5

ไม่คุน้ เคยกับคาศัพท์น้ นั เลย คุน้ เคยกับคาศัพท์น้ นั แต่ ไม่รู้ความหมาย สามารถให้ความหมายหรื อ คาเหมือนของคาศัพท์น้ นั ได้ ใช้คาศัพท์น้ นั ได้ในแง่ความหมายได้อย่างถูกต้องในประโยค ใช้คาศัพท์น้ นั ได้ในแง่ความหมายและไวยากรณ์ได้อย่างถูกต้องใน ประโยค วิสาข์ จัติวตั ร์ (2543) กล่าวว่าการรู ้คาศัพท์สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ระดับ ประกอบด้วย 1. ศัพท์ที่ผอู ้ ่านไม่มีความรู ้เกี่ยวกับคานั้นมาก่อน (Unknown Words) คือ เป็ นคาที่ไม่ เคยเห็น ไม่รู้ความหมาย หรื อ ไม่ได้อยูใ่ นความทรงจา 2. ศัพท์ที่ผอู ้ ่านคุน้ เคยมาก่อน (Acquainted Words) คือ ศัพท์ที่ผอู ้ ่านเคยเห็น หรื อ เคยเรี ยน และ สามารถระลึกความหมายได้หลังจากใช้เวลาพิจารณาหาความหมาย 3. ศัพท์ที่อยูใ่ นความทรงจา (Established Words) คือ คาที่ผอู ้ ่านสามารถจา ความหมายได้โดยทันทีแบบอัตโนมัติ McCarthy & O’Dell, 1999 ระบุวา่ การรู ้คาศัพท์ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การรู ้ความหมายของ คานั้น ๆ แต่ตอ้ งมีความรู ้เกี่ยวกับคาที่ศพั ท์น้ นั เกี่ยวข้อง รู ้คุณลักษณะทางไวยากรณ์ และรู ้วา่ คานั้น ออกเสี ยงอย่างไร โดยสรุ ปคือไม่วา่ เราจะแบ่งระดับความรู ้ดา้ นคาศัพท์ออกเป็ น 3 ระดับหรื อ 5 ระดับก็ตาม สิ่ งที่ท้ งั ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนมุ่งหวัง คือ จะทาอย่างไรให้เราสามารถพัฒนาความรู ้จากระดับที่ 1 เป็ น ระดับสุ ดท้ายได้ หากจะมองไปแล้วระดับการรู ้คาศัพท์ที่แท้จริ งอาจจะไม่ได้ช่วยผูเ้ รี ยนในแง่ของ การเรี ยนการอ่านเท่านั้น แต่สามารถไปสนับสนุนใน skills ด้านอื่นด้วย ทั้งการเขียน การฟังและการ พูด 3. เทคนิคในการสอน / การเรี ยนคาศัพท์ 1. เรี ยนรู ้คาศัพท์ผา่ นการทากิจกรรมในชั้นเรี ยน เช่นการใช้เกมส์ในการเรี ยนรู ้คาศัพท์ 2. ฝึ กให้ ผเู้ รี ยนเรี ยนคาศัพท์จากปริ บท โดยอาจให้เดาความหมายศัพท์จากปริ บท และ ให้อ่าน คาศัพท์น้ นั ในปริ บทที่หลากหลาย 3. ฝึ กการใช้พจนานุกรมระหว่างการอ่าน ซึ่งอาจมีขอ้ เสี ยคือทาให้การอ่านช้าลง พจนานุกรม ที่ดีจะมีขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ เช่น การให้คาเหมือน, การออกเสี ยง, การลงพยางค์หนักเบา, การให้ ตัวอย่างประโยค เป็ นต้น นอกเหนือไปจากการให้ความหมาย ซึ่งหากเป็ นผูเ้ รี ยนทางด้านภาษาแล้ว การใช้พจนานุกรมแบบภาษาเดียว เช่น English-English Dictionary จะมีประโยชน์มากกว่า 4. แบ่งคาศัพท์ออกเป็ นส่ วนสั้น ๆ หากคานั้นยาวเกิน 2 พยางค์ ถึงแม้วา่ วิธีน้ ีจะไม่ช่วยในเรื่ อง ของความหมาย แต่ช่วยในเรื่ องของการสะกดคา

4

5. ใช้ความรู้เรื่ องคาอุปสรรค และ คาปัจจัย (root, prefix, suffix) 6. การเชื่อมโยงคาศัพท์ดว้ ยเสี ยง (acoustic link) เช่น คาศัพท์ภาษาสเปนคาว่า “pato” หมายถึง “duck” ในภาษาอังกฤษ ดังนั้นเราจะใช้คาสาคัญคือ “pot” ซึ่งมีเสี ยงคล้าย “pato” หรื อ อาจจะใช้การ เชื่อมโยงเสี ยงในสองภาษาที่คล้ายกันก็ได้ เช่น คาว่า sherbet อาจสร้างประโยคว่า Shirley likes sherbet. 7. ใช้จินตภาพ (mnemonic use) ร่ วมกับ การเชื่อมโยงเสี ยง (acoustic link) ดังนั้นผูเ้ รี ยนใช้จินตภาพ เชื่อมโยงคาสาคัญกับกับคาแปลในภาษาต่างประเทศ โดยเรี ยกขั้นตอนนี้ วา่ การเชื่อมโยงจินตภาพ เราเชื่ อมโยงจินตภาพกับคาสาคัญ โดยนึกถึง “duck sitting in a pot” (เป็ ดนัง่ อยูใ่ นหม้อ) หรื อ สาหรับคาว่า sherbet ผูเ้ รี ยนอาจจะสร้างภาพว่าเห็น Shirley กาลังทานเชอร์ เบทอยู่ 8. ใช้บตั รคาจดบันทึกคาศัพท์อย่างเป็ นระบบแทนที่การจดเป็ นรายการยาว ๆ โดยมีการแบ่งกลุ่ม ความหมาย ระบุหน้าที่ของคา จดคาศัพท์ที่มีความหมายคล้ายคลึง หรื อ คาศัพท์ที่มีความหมาย ตรงกันข้าม 9. การทางานซ้ า ๆ เช่น การอ่านคาที่เกี่ยวข้องซ้ า การท่องคาศัพท์น้ นั ซ้ า การเขียนคาศัพท์และ ความหมายซ้ า การท่องซ้ าแบบสะสมคาไปเรื่ อย ๆ และ การทดสอบความจาซ้ า 10. การวิเคราะห์คา เช่น การดูตวั สะกด การระบุหน้าที่ของคา และ การใช้ปัจจัย 11. การแปลประโยคตัวอย่าง 12. การจัดประเภทของกลุ่มคาศัพท์ ได้แก่ 12. 1 คาที่มีความหมายเกี่ยวข้องกัน เช่น cat, paw, kitten ทั้งหมดเกี่ยวข้องกับแมว 12.2 คาที่ทาหน้าที่เดียวกัน เช่น child, tooth, foot เป็ นคานาม 12.3 คาที่มาจากรากศัพท์เดียวกัน เช่น price, priceless, overpriced 13. การใช้รูปภาพหรื อแผนภูมิช่วย เช่น ใช้ภาพร่ างกายเพื่อเรี ยนเรื่ องอวัยวะส่ วนต่าง ๆ 14. การเรี ยนคาศัพท์โดยการฟังเพลง 14.1 เมื่อผูเ้ รี ยนชอบฟังเพลง หรื อประทับใจเพลงใด จะมีส่วนให้อยากรู ้ความหมายของคาศัพท์ ในเพลงนั้น ๆ 14.2 การร้อยเรี ยงคาศัพท์และความหมายผ่านเพลง เช่นวิธีการเรี ยนแบบที่สถาบันกวดวิชา Enconcept ใช้อยู่ 15. การท่องศัพท์แบบคาคล้องจอง เช่น channel – ช่อง, ท่อง- recite, tight-แน่น ซึ่ งมีหนังสื อ คาศัพท์ประเภทนี้ขายอยู่ 16.คาศัพท์ที่คล้ายๆกันจะถูกจัดกลุ่ม แล้วให้นศ. หาความหมายมาเป็ นการบ้าน เช่น innate/ inmate/ initiate/ intimidate/ intimate/ imitate และถามคาศัพท์ขา้ งต้นซ้ าเมื่อ มีโอกาส

5

17. การให้ synonym เพื่อขยายวงศัพท์ อธิ บาย ยกตัวอย่าง 18.ให้ทา exercise หลากหลายประเภท เพราะผูเ้ รี ยนมีความสนใจและความถนัด 19. ลาดับความสาคัญของศัพท์วา่ ควรจะสอนคาศัพท์ไหนก่อน หรื อไม่จาเป็ นต้องสอน 20. ใช้ท่าทาง หรื อสื่ ออื่นๆเพื่อ ช่วยอธิ บายความหมาย 21. ให้นศ.มีส่วนร่ วมอธิ บายความหมายให้เพื่อน โดยครู จากัดเวลา 22. ให้โอกาสแก่นศ.ในการใช้คาศัพท์น้ นั ร่ วมกับทักษะด้านต่างๆ 23. ควรสอนคาศัพท์ในสาขาของนศ. (50% ของคาศัพท์ท้ งั หมด) 24. ครู แลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั นศ.เพื่อให้นศ.มีกาลังใจ ไม่ทอ้ ถอย

2. English Version 1. How important do you think it is for students to learn vocabulary? - Students need vocabulary to communicate. - Students need vocabulary to read materials for their subjects. - Having a strong vocabulary helps them - in a master's program / in their future careers.

2. What are problems you have encountered when teaching vocabulary? - It is difficult to make students retain vocabulary. - It is challenging to make new vocabulary words interesting and desirable. - It is hard to help students see the value of learning these new words besides being necessary to do well on an exam. - Teachers sometimes lack accurate understanding of meaning. - Eliciting the meaning is good sometimes but can be frustrating and not practical if you haven't the time.

6

3. What are problems you think students encounter when learning vocabulary? - There is a problem in accurate understanding and use; it's difficult for students to use new words in a proper context. - Students have difficulty distinguishing the different forms of a word based on the part of speech and tend to repeatedly use a wrong form. - Students cannot spot the difference(s) between two words with similar meanings and therefore cannot use them properly. - Students do not actively participate in their own learning and are really quite passive as they require it to be fed to them. - Students worry too much about spelling.

4. What are your techniques for teaching vocabulary? - Go over key vocabulary first when learning a new passage. - Use pictures. - Use synonyms and antonyms. - Use the white board a lot and break a word into its syllables, noting the stressed one. - Say each syllable aloud and students must repeat. Then say the whole word and students repeat. - Have students write their own sentences using selected vocabulary. - Have students rephrase sentence samples with new words to check their comprehension. - Use vocabulary quizzes where they have to fill in the blank with the correct vocabulary words. - Have students try to explain the meanings of the words in class (in English). - Use games & exercises. Word searches and crossword puzzles work well, but it takes

7

some preparation. Games are some of better ways because students are more engaged. - Have students use new words in role play. - Explain new words through examples. -Draw on other uses of the word after students understand the main meaning previously taught. - Before making a transition to the next unit, ask students about key vocabulary they have learnt.

5. What are your techniques for learning vocabulary? - Repetition promotes word retention. [One gets a good sense of a vocabulary word from "repetitive listening, reading, and speaking".] - Try to find an excuse to use a new word in a sentence. - Learn new words when looking them up in a dictionary. - Use mnemonic devices. - Learn and remember more advanced vocabulary through reading high-level magazines. - One said he has not developed a conscious and systematic technique for learning vocabulary words. He felt that he simply went to his language classes. - One picks up what s/he can from here and there in the “real world”. - One directly studied words and phrases from his notebook after class. - First decide if the word is one worth retaining. if it is, write it down in a vocabulary log book. - Make a small flashcard with a Thai equivalent on one side and English on the other. [You can then carry them around and use them whenever you want. Flashcards are very portable, very inconspicuous.]