การจัดทำ TOR (Term of Reference) - moe.go.th

Term of Reference หรือ TOR TOR ย่อมาจาก Term of Reference...

194 downloads 279 Views 982KB Size
การจ ัดทํา TOR (Term of Reference)

Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing Iformation Science Institute of Sripatum University (ISIS)

Term of Reference หรือ TOR ย่อมาจาก Term of Reference หมายถึงข้ อกําหนดของผู้ว่าจ้ าง ซึง่ จะเป็ น รายละเอียดที่ผ้ วู า่ จ้ างมีความประสงค์จะให้ ผ้ รู ับจ้ างทําอะไรบ้ าง โดย

TOR

• • • • • • • •

การบอกขอบเขตของงานให้ ชดั เจน ระยะเวลาที่ต้องการ คุณสมบัติของผู้รับจ้ างที่ผ้ วู า่ จ้ างต้ องการให้ ทํางานตามขอบเขตดังกล่าว สิ่งที่ผ้ วู า่ จ้ างต้ องการให้ ดําเนินการ มีกี่ขั ้นตอนแต่ละขั ้นตอนประกอบด้ วยอะไรบ้ าง ปฎิบตั ิงานตามสัญญาจะได้ อะไร ผิดสัญญาจะถูกปรับอย่างไร วิธีการดูแลงานของผู้วา่ จ้ าง ว่าเขาจะดูแลงานคุณแบบไหน เขาจะมีที่ปรึกษาดูแลแทน

ความสําค ัญของ TOR • ประการแรก TOR มีความสําคัญมากต่อคุณภาพของผลงานที่จะได้ จากที่ปรึ กษา TOR จะต้ องมี ความชัดเจน และกําหนดประเด็นต่างๆ ที่ที่ปรึ กษาจะต้ องวิเคราะห์ไว้ อ ย่าง ชัดเจน TOR ยิ่งมีความชัดเจนเพียงใด ยิ่งทําให้ การคัดเลือกที่ปรึ กษาง่ายขึ ้น โปร่ งใสมาก ขึ ้น และการประเมินปริ มาณแรงงานของนักวิชาการสาขาต่างๆ ที่ต้องใช้ จะใกล้ เคียงกับ ความจริ งมากยิ่งขึ ้น • ประการที่สอง TOR เป็ นเอกสารอ้ างอิงที่ใช้ เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาว่าจ้ าง ดังนัน้ TOR จึงต้ องมีความชัดเจนเพียงพอต่อการประเมินปริ มาณและคุณภาพงานของที่ปรึกษา นอกเหนือจาก TOR ซึ่งกําหนดขอบเขตและรายละเอียดของภารกิจแล้ ว ผู้ว่าจ้ างจําเป็ นต้ อง กําหนดหลั กเกณฑ์ และวิธีการคัดเลื อกที่ปรึ กษาไว้ ด้วย โดยเสนอแยกต่ างหากไว้ ในเอกสาร ข้ อมูลสําหรั บที่ปรึกษา

โครงสร้างของ TOR โดยทัว่ ไป เอกสาร TOR จะประกอบด้ วยส่วนหรื อหัวข้ อต่างๆ ดังต่อไปนี ้ (1) บทนํา ข้ อมูลเกี่ยวกับโครงการ (2) วัตถุประสงค์ของภารกิจ และผลงานที่ต้องการ (3) ข้ อมูลเกี่ยวกับภารกิจของที่ปรึกษา (4) ขอบเขตการดําเนินงาน (5) ระยะเวลาการดําเนินงาน (6) บุคลากรที่ต้องการ (7) ระยะเวลาการส่งมอบผลงาน (8) การกํากับการทํางานของที่ปรึกษา (9) หน้ าที่ความรับผิดชอบของผู้วา่ จ้ าง

1. บทนํา บทนําจะให้ ข้อมูลความเป็ นมาของโครงการและภารกิจที่ต้องการว่าจ้ าง ที่ปรึกษา เพื่อให้ ที่ปรึกษาเข้ าใจถึงความจําเป็ นหรื อความสําคัญของ ภารกิจนี ้ และความเชื่อมโยงของภารกิจนี ้กับเรื่ องอื่นๆ

2. วัตถุประสงค์ ของการว่ าจ้ างและผลงานที่ต้องการ • วัตถุประสงค์ของภารกิจ คือ สิ่งที่ผ้ วู า่ จ้ างต้ องการจะบรรลุหลังจากที่ ภารกิจเสร็ จสิ ้นลง TOR ตัวอย่างเช่น วัตถุประสงค์ของการว่าจ้ างที่ ปรึกษาเพื่อศึกษาปั ญหาต่างๆ ในการปรับโครงสร้ างของกรมการศึกษา • วัตถุประสงค์ในกรณีนี ้น่าจะเป็ นดังนี ้ เพื่อจัดทําแผนปรับโครงสร้ างของ กรม โดยแผนดังกล่าวจะต้ องมีเนื ้อหาสาระหรื อองค์ประกอบดังต่อไปนี ้ (กําหนดให้ ชดั เจนว่าต้ องการแผนที่มีลกั ษณะอย่างไร) วัตถุประสงค์จะ ใกล้ เคียงกับสิ่งที่ต้องการจะได้ จากที่ปรึกษา แต่สิ่งที่ต้องการจะได้ ใน กรณีนี ้ นอกจากเอกสารรายงานฯ และแผนการปรับโครงสร้ างของกรม แล้ ว อาจรวมสิ่งอื่นๆ อีก เช่น การฝึ กอบรม เอกสารอื่นๆ เป็ นต้ น

3. ข้อมูลเกี่ยวกับภารกิจของที่ปรึ กษา ประมวลเสนอสาระของปั ญหาหรื อเรื่ องที่ ต้ องการให้ ที่ ป รึ ก ษา ดํ าเนิ นการ บ่ง ชี ป้ ระเด็นต่างๆ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกับปั ญ หา ทัง้ นี ้ เพื่ อ สร้ าง พื น้ ฐานสํ าหรั บการทํ าความเข้ าใจในขอบเขตการดํ าเนินงานภายใต้ ภารกิ จของที่ ปรึ กษา ส่วนนี ข้ อง TOR ควรเสนอสรุ ปย่อผลการศึกษา วิเคราะห์ เบื ้องต้ นเพื่อบ่งชี ป้ ั ญหา รายละเอี ยดควรให้ ไว้ ในภาคผนวก หรื อเอกสารแนบ

4. ขอบเขตของการดําเนินงาน • ควรกําหนดชัดเจนว่าการดําเนินงานของที่ปรึกษาต้ องครอบคลุมประเด็นใดบ้ าง และ ละเอียดเพียงใด ทัง้ ในด้ า นลึกและด้ านกว้ าง ทัง้ นี ้ ต้ อ งแน่ใจว่าประเด็นที่จะให้ ที่ ปรึ กษาดําเนินงานมีความจําเป็ นจริ งๆ กับปั ญหาหลักที่เป็ นพืน้ ฐานในการว่าจ้ างที่ ปรึกษา ยิ่งมากประเด็นยิ่งเสียค่าใช้ จ่ายมากขึ ้น • ขอบเขตของการดําเนินงานจะบอกว่าต้ องทําอะไรบ้ าง มิใช่บอกว่าทําอย่างไร แต่งาน บางอย่างอาจจําเป็ นต้ องบอกว่า ควรทําอย่างไร ทังนี ้ ้ เพื่อรักษามาตรฐานของข้ อมูล อาทิเช่น กําหนดวิธีการสํารวจดิน วิธีการเก็บตัวอย่างนํ ้า วิธีวิเคราะห์นํ ้า เป็ นต้ น • ควรแบ่ง การดํ าเนิ นงานเป็ นงานต่ างๆ ตามขัน้ ตอนของการดํ าเนิ นงาน เช่น การ สํ า รวจข้ อ มูล พื น้ ฐาน การศึก ษาวิ เ คราะห์ ข้ อ มูล ที่ ไ ด้ จ ากการสํ า รวจ การจัด ทํ า รายงานฉบับร่ าง การจัดสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นในการปรับแก้ รายงานฉบับ ร่าง เป็ นต้ น

5. ระยะเวลาการดําเนินงาน • กําหนดระยะเวลาการดําเนินงาน โดยแบ่งเป็ นระยะตามผลงานในช่วงการ ดําเนินงาน เช่น รายงานเริ่ มงาน (Inception Report) รายงานฉบับกลาง รายงานฉบับร่าง รายงานฉบับสุดท้ าย เป็ นต้ น • ระยะเวลาการดําเนินงานที่กําหนดให้ ที่ปรึกษาต้ องมีความเป็ นไปได้ (Realistic) สอดคล้ องกับปริ มาณงาน และข้ อจํากัดอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บข้ อมูลที่ ขึ ้นกับฤดูกาล โดยทัว่ ไป ถ้ าระยะเวลา การทํางานสันจะใช้ ้ คนมาก ถ้ าระยะเวลา ทํางานยาวใช้ คนน้ อย กล่าวคือ ปริ มาณคน-เดือนที่ต้องใช้ จะ ไม่เปลีย่ นแปลง

6. บุคลากรที่ต้องการ • ต้ องกําหนดให้ ชดั เจนว่าบุคลากรที่ต้องการสําหรับภารกิจนี ้ ประกอบด้ วยผู้เชี่ยวชาญหรื อ นักวิชาการด้ านใดบ้ าง แต่ละด้ านจะใช้ แรงงานเท่าใด ปริ มาณแรงงานวัดเป็ นคน-เดือน (Person-Months)

• คนทัว่ ไปมักมีความสับสนในความหมายของคน-เดือน งานที่ถกู กําหนดให้ แล้ วเสร็ จภายใน 6 เดือน โดยใช้ ปริมาณแรงงาน 36 คน-เดือน หมายถึงว่า โดยเฉลี่ยงานนี ้ใช้ คนทํางานเต็มเวลา 6 คน คนละ 6 เดือน รวมเป็ น 36 คน-เดือน อย่างไรก็ตาม งานนี ้อาจใช้ คน 12 คน แต่ละคนมี ปริมาณแรงงานไม่เท่ากัน แต่เมื่อเอาเวลาทํางานของแต่ละคนมารวมกันจะได้ เท่ากับ 36 • จะกําหนดสาขาวิชาหรือความเชี่ยวชาญที่ต้องการได้ จากโครงร่างของปั ญหาที่ต้องการให้ มี การศึกษาวิเคราะห์ ส่วนข้ อกําหนดในเรื่ องประสบการณ์ของบุคลากรจะขึ ้นกับระดับความยาก ง่ายของประเด็นปั ญหาทีจ่ ะศึกษา ควรใช้ คนให้ เหมาะสมกับงาน • การประมาณปริมาณแรงงานที่ต้องใช้ ขึ ้นกับประสบการณ์ของผู้จดั ทํา TOR และขึ ้นกับความ คาดหวังถึงระดับความสามารถของที่ปรึกษา คนเก่งมากจะใช้ เวลาทํางานน้ อยกว่าคนเก่งน้ อย กว่า ถึงแม้ คา่ จ้ าง ต่อเดือนของคนที่เก่งกว่าจะสูงกว่าของคนที่เก่งน้ อยกว่า แต่วงเงินรวมของคน ที่เก่งกว่าน่าจะตํ่ากว่าของคนที่เก่งน้ อยกว่า และได้ ผลงานที่มีคณ ุ ภาพดีกว่า

บุคลากรที่ต้องการ (ต่ อ) • วิธีที่ดีที่สุดสําหรับผู้จัดทํา TOR ในการประมาณจํานวนคน-เดือนสําหรับที่ปรึ กษา คือ การ ประมาณการว่า ถ้ าผู้จดั ทํา TOR เป็ นผู้ทํางานเองจะต้ องใช้ กี่คน-เดือน ถ้ าผู้จดั ทํา TOR คิดว่า ที่ปรึกษาเก่งกว่าผู้จดั ทํา TOR ก็ควรกําหนดปริ มาณคน-เดือนให้ ตํ่ากว่าที่ประมาณการไว้ ใน การประมาณการปริมาณแรงงานควรใช้ ตวั เลขพื ้นฐานชัว่ โมงทํางาน 176 ชัว่ โมงต่อคน-เดือน • กําหนดคุณวุฒิและประสบการณ์ของที่ปรึกษาและความสามารถพิเศษอื่นๆ ที่ต้องการ เช่น ต้ อง มี ค วามสามารถในการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ไ ด้ การคิ ด และพิ ม พ์ ไ ด้ และความสามารถด้ าน ภาษาอังกฤษ เป็ นต้ น • อย่างไรก็ต าม ปริ มาณแรงงานที่เอกสาร TOR กํา หนดไว้ เป็ นเพียงตัว เลขคร่ าวๆ ตามการ ประเมินของผู้จดั ทํา TOR เท่านัน้ เพื่อใช้ ในการประมาณราคาค่าจ้ าง ตัวเลขปริ มาณแรงงานที่ที่ ปรึกษาเสนอ อาจต่างจากตัวเลขของผู้จดั ทํา TOR ได้ ในกรณีเช่นนีฝ้ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจเข้ าใจ ปั ญหาที่ต้องศึกษาไม่เพียงพอ • TOR ที่ไม่มีตวั เลขปริ มาณแรงงาน จะทําให้ มีความยุง่ ยากในการประเมินข้ อเสนอด้ านเทคนิคที่ ที่ปรึกษาเสนอมา • ปริมาณแรงงานกับวงเงินค่าจ้ างทังหมด ้ จะชี ้คร่าวๆ ถึงระดับความสามารถของที่ปรึกษา

7. ระยะเวลาการส่ งมอบผลงานของที่ปรึกษา • ผลงานของที่ปรึ กษา ได้ แก่ รายงาน คู่มือ การฝึ กอบรม การจัดสัมมนา เป็ นต้ น TOR จะต้ องกํ าหนด อย่างชัดเจนว่าต้ องการผลงานอะไรบ้ าง ข้ อกํ าหนดของผลงานเป็ นอย่างไร (เช่น รายงานแต่ละฉบับ จะต้ องมีเนื ้อหาสาระอะไรบ้ าง) รู ปร่ างหน้ าตาของผลงานควรเป็ นอย่างไร (Format) กํ าหนดส่งมอบ เมื่อไร จํานวนเท่าใด ควรกําหนด Software ที่ที่ปรึกษาจะใช้ และให้ ที่ปรึกษาส่ง Diskette ด้ วย • โดยทัว่ ไป รายงานที่ต้องการจากทีป่ รึกษา ได้ แก่  รายงานเริ่ มงาน (Inception Report) หลังจากเริ่ มงานแล้ วประมาณ 1-2 เดือน วัตถุประสงค์เพื่อทบทวนปรับแก้ แผนงานให้ เหมาะสมยิ่งขึ ้น หลังจากที่ได้ ศกึ ษาวิเคราะห์เบื ้องต้ นแล้ ว  รายงานฉบับกลาง (Interim Report) ประมาณกึ่งกลางช่วงเวลาการดําเนินงาน ถ้ าช่วงเวลาการดําเนินงานสั ้น เช่น 4-6 เดือน อาจไม่จําเป็ นต้ องมีรายงานฉบับกลาง  รายงานฉบับสุดท้ าย ฉบับร่ าง (Draft Final Report) ประมาณ 1 เดือน ก่อนสิ ้นสุด การดําเนินงาน  รายงานฉบับสุดท้ าย ฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ประมาณ 1 เดือน หลังจากที่ได้ รับข้ อคิดเห็นจากผู้ว่าจ้ างแล้ ว  รายงานการเสร็ จสิน้ ภารกิจ (Assignment or Project Completion Report) ในกรณีที่มีการ ว่าจ้ างที่ปรึ กษาให้ ดําเนินภารกิจที่ไม่ใช่เป็ นการศึกษาจัดทําแผน เช่น ว่าจ้ างที่ปรึ กษาเป็ นผู้เชี่ยวชาญประจําโครงการ ว่าจ้ างที่ปรึ กษาให้ จัดการ โครงการ ว่าจ้ างที่ปรึกษาให้ ควบคุมงานก่อสร้ าง เป็ นต้ น  รายงานความก้ าวหน้ า จะขึ ้นอยูก่ บั ความจําเป็ นและความต้ องการของผู้ว่าจ้ าง โดยอาจจะมีเป็ นรายเดือนหรื อรายไตรมาสก็ได้ รายงานนี ้จะรายงานถึงความก้ าวหน้ าของการปฏิบตั ิงานของที่ปรึกษาเป็ นระยะๆ

8. การกํากับการดําเนินงานของที่ปรึกษา • เอกสาร TOR ควรให้ ข้อมูลแก่ที่ปรึกษาในเรื่ องการจัดองค์กรของผู้ว่าจ้ าง เพื่อการ กํากับการดําเนินงานของที่ ปรึ กษา กลไกที่จะใช้ ในการประสานงานกับที่ ปรึ กษา โดยทั่วไป ผู้ว่าจ้ างจะมีเจ้ าหน้ าที่ร่วม (Counterpart Staff) เพื่อประโยชน์ในการ เรี ยนรู้ จากที่ปรึกษา (มักต้ องเรี ยนรู้ เอาเอง เพราะที่ปรึกษาจะให้ ความสําคัญแก่การ ทํ า งานตามภารกิ จ ของตนก่ อ น) ผู้ป ระสานงานโครงการหรื อ ผู้จัด การโครงการ คณะกรรมการกํากับการดําเนินงานของที่ปรึกษา (คณะกรรมการกํากับโครงการ) • ระเบียบการจัดซื ้อจัดจ้ างของทางราชการกําหนดให้ มีคณะกรรมการตรวจการจ้ าง ซึง่ ทางปฏิ บัติ ส่ ว นราชการมั ก จะแต่ ง ตั ง้ กรรมการตรวจการจ้ า งเป็ น คนละชุด กั บ คณะกรรมการคัดเลือกที่ปรึกษา จึงมีปัญหา คือ คณะกรรมการตรวจการจ้ างต้ องใช้ เวลาในการทําความเข้ าใจกับข้ อเสนอด้ านเทคนิคของที่ปรึกษา รวมทังอาจไม่ ้ ทราบ รายละเอียดผลการเจรจาที่ทงั ้ สองฝ่ ายได้ ตกลงกันไว้ โดยเฉพาะการทําความเข้ าใจ ระหว่างกัน ในขอบเขตการปฏิบตั ิงานและความลึกของข้ อมูลที่ต้องการให้ ศกึ ษาและ วิเคราะห์ ดังนัน้ คณะกรรมการทังสองชุ ้ ดควรใช้ บคุ ลากรหลักร่วมกัน

9. หน้ าที่ความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้ าง • เอกสาร TOR จะต้ องกําหนดชัดเจนว่า ผู้วา่ จ้ างจะให้ อะไรหรื อทําอะไร ให้ แก่ที่ปรึกษาได้ บ้าง จะคิดค่าใช้ จา่ ยหรื อไม่คดิ ถ้ าคิดจะคิดอย่างไร • รายการที่ควรพิจารณา ได้ แก่

 สถานที่ทํางาน เฟอร์ นิเจอร์ สาํ นักงาน เครื่ องใช้ สาํ นักงาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเครื่ องพิมพ์ เครื่ องถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ โทรสาร ยานพาหนะ วัสดุ สิ ้นเปลืองต่างๆ  ข้ อมูลต่างๆ ที่จําเป็ นสําหรับการทํางานของที่ปรึกษา ถ้ าเป็ นข้ อมูลของหน่วย ราชการต่างๆ ผู้วา่ จ้ างควรรับหน้ าที่ในการเก็บรวบรวมให้ ที่ปรึกษาจะ ประหยัดเวลาและเงินค่าจ้ างได้ มาก  ค่าใช้ จ่ายอื่นๆ เช่น การจัดสัมมนา การพิมพ์เอกสารต่างๆ

แนวทาง/ต ัวอย่างการเขียน TOR ทีถ ่ ก ู ต้อง

Source: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

รายละเอียดข้ อกําหนดสํ าหรั บการจัดซื้อ/จัดจ้ าง ( TOR ) • เอกสารแสดงข้ อมูล รายการ รายละเอียด ที่ประกาศ หรื อแจ้ งให้ ผ้ ขู ายทราบถึง ความต้ องการและเงื่อนไขของผู้ซื ้อ • ประกาศแจ้ งล่วงหน้ า อย่างเปิ ดเผย • หากมีการเปลีย่ นแปลง ต้ องแจ้ งให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องทังหมดทราบ ้ • สําหรับการจัดซื ้อคอมพิวเตอร์ ของภาครัฐ ต้ องเป็ นไปตามที่กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารประกาศแจ้ งไว้ ที่หน้ าเว็บไซด์ของกระทรวง (ทังนี ้ ้เป็ นไป ตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2547) • การกําหนด TOR ที่แตกต่างต้ องแจงเหตุผล เป็ นครัง้ ๆไป

TOR ทีด่ ีจะช่ วยให้ ท่านได้ พสั ดุ ตรงตามวัตถุประสงค์ การใช้ งาน ประหยัด เกิดประโยชน์ สูงสุด •

ที่ดี จะระบุความจําเป็ นและคุณลักษณ์ที่ต้องการนําไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่างชัดเจน

TOR

ที่ดี จะระบุข้อความที่ไม่กํากวม ตรวจสอบ วัด ได้ • TOR ที่ดี ไม่ระบุรายการที่เกินความจําเป็ น • สเปกกลาง ของ ICT จะช่วยให้ ทา่ นจัดซื ้อคอมพิวเตอร์ ที่ตรงตาม วัตถุประสงค์การใช้ งาน ประหยัด รวดเร็ ว •

TOR

แนวทางในการระบุข้อกําหนดสําหรั บการจัดซื้อ/จัดหา คอมพิวเตอร์ มี 3 ส่ วน • มาตรฐาน คุณภาพ การรับประกัน • สเปก/ความสามารถ ที่จําเป็ น ต้ องการ • ซอฟต์แวร์ สิทธิการใช้ และลิขสิทธิ์

ส่ วนที่ 1 ระดับคุณภาพ มาตรฐาน/ การรับประกันและเงื่อนไข • • • •

ใช้ มาตรฐานไทย/เครื่ องหมายรับรองไทย เป็ นหลัก ได้ รับเครื่ องหมายรับรอง มอก.1561 และมอก.1956 หรื อ ได้ รับเครื่ องหมายรับรอง เนคเทค การรับประกันขึ ้นตํ่า 3 ปี / ประกันอายุการใช้ งาน 5 ปี

ส่ วนที่ 2 สเปก คุณลักษณะ หรื อ ขีดความสามารถที่ต้องการ • • • • •

ระบุตามสเปก ระบุตามความสามารถที่ต้องการ ระบุผสมกัน ปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสม โดย กท. กท. ดูสเปกกลางได้ ที่....................

ส่ วนที่ 3 ซอฟต์ แวร์ และลิขสิ ทธิ์ • ระบุซอฟต์แวร์ พื ้นฐานสําหรับการทํางานที่ต้องการ • ระบุลขิ สิทธิ์ สิทธิการใช้ จํานวนสิทธิ ระยะเวลาสนับสนุนการถ่ายโอน สิทธิให้ ครบถ้ วน • แยกราคา ออกจากตัวฮาร์ ดแวร์

เลือกสเปกแตกต่ างได้ หรื อไม่ ต้ องทําอย่ างไรบ้ าง • เลือกสเปกดีกว่า สเปกกลางได้ ตราบที่งบประมาณยังไม่เกินกรอบราคา ที่ตงไว้ ั้ • หากงบประมาณเกินรอบ ต้ องส่งเรื่ องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า เพื่อ พิจารณาเป็ นรายๆ • พึงระวัง การเลือกอุปกรณ์ขนาดใหญ่ / บริ โภคทรัพยากรเยอะจะเป็ น ภาระในการใช้ งาน

คอมพิวเตอร์ ที่ดี ควรมีคณ ุ สมบัติพนื้ ฐานอย่ างไร • • • • • • •

ปลอดภัยไม่เป็ นอันตราย (มอก.1561) ไม่มีสญ ั ญาณรบกวนมากเกินไป (มอก. 1956) ทนทาน มีความน่าเชื่อถือสูง อายุการใช้ งานยาวนาน มีประสิทธิภาพ และความสามารถเหมาะสม ตามการใช้ งาน ประหยัดพลังงาน/มีคา่ ใช้ จา่ ยในการใช้ งานตํ่า เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม ดีกบั ผู้ใช้ (สุขภาพ) ราคาเหมาะสม

วิธี ระบุความสามารถของคอมพิวเตอร์ • ระบุผา่ นสเปก

CPU Clock Speed

FSB Speed L1/L2 cache Size Memory Type / Memory Speed Memory Capacity HDD Type / Capacity Lan Speed VGA/GPU Type VGA Memory Capacity

การเลือกสเปก เผื่อ....ความสิ้นเปลืองที่ควรระวัง การเลือกสเปกเผื่อ หมายถึง การเลือกสเปกที่มีความสามารถมากกว่าที่ต้องการใช้ งาน ในปั จจุบนั ซึง่ เกิดได้ จากหลายเหตุผล แต่มกั จะเป็ นการเผื่อไว้ สาํ หรับการขยายระบบ เพิ่มเติมในอนาคต  ต้ องมีช่องเสียบแบบ PCI ไม่น้อยกว่า 4 ช่อง (ปั จจุบนั ใช้ 1 ช่อง)  หน่วยจ่ายกําลังไฟฟ้า (PSU) จ่ายไฟได้ ไม่ตํ่ากว่า 485 วัตต์ (ปั จจุบนั ใช้ 225 วัตต์) หน่วยความจําหลักขยายได้ ไม่น้อยกว่า 16 จิกะไบต์ (ปั จจุบนั ใช้ 1 จิกะไบต์) ข้ อควรระวัง  ราคาที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากสเปกเผื่อ (แต่ยงั ไม่ได้ ใช้ งาน) – ของฟรี ไม่มีในโลก  ค่าใช้ จ่ายในการใช้ งาน อาทิ ค่าไฟฟ้า ค่าซ่อมบํารุง  ความคุ้มค่าในการขยายระบบ ในอนาคต  อาจเป็ นการ ล็อก สเปก และทําให้ ถกู ร้ องเรี ยนได้

มอก.1561-2548

มอก.1561-2548 • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3468 (พ.ศ.2549) • ประกาศ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ออกประกาศกําหนด มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม บริ ภณ ั ฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศเฉพาะ ด้ านความปลอดภัย : ข้ อกําหนดทัว่ ไป มาตรฐานเลขที่ มอก.1561-2548 • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ประกาศและงานทัว่ ไป เล่ม 123 ตอนที่ 600 วันที่ 22 มิถนุ ายน พ.ศ.2549 • มีผลเมื่อพ้ นกําหนด 180 วัน นับแต่วนั ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มอก.1561 -2548 • อ้ างอิง IEC 60950 • Information technology • Equipment-Safety-Part1: • General Requirement

มอก.1561-2548 ขอบข่ าย • บริภณ ั ฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ • บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทางธุรกิจ • บริ ภณ ั ฑ์ที่เกี่ยวเนื่องที่ใช้ กําลังไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน หรื อ ใช้ กําลังไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ที่มีแรงดันไฟฟ้าที่กําหนดไม่เกิน 600 โวลต์

มอก.1561-2548 • เพื่อให้ ผ้ อู อกแบบบริ ภณ ั ฑ์เข้ าใจพื ้นฐานของข้ อกําหนดตามมาตรฐาน และสามารถออกแบบบริ ภณ ั ฑ์ให้ มีระดับของความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ที่ระบุไว้ ในหลักการของความปลอดภัย

มอก.1561-2548 ลําดับความสําคัญในการพิจารณา

1. มาตรฐานที่จะกําจัด ลด หรื อป้องกันอันตราย 2. มาตรการที่จะระบุการใช้ วิธีการป้องกันที่ไม่ขึ ้นกับบริ ภณ ั ฑ์ 3. มาตรการที่จะระบุในการทําเครื่ องหมายและข้ อแนะนําเกี่ยวกับความเลีย่ งที่ มีอยู่

มอก.1561-2548 อันตราย ช็อกไฟฟ้า อันตรายที่สมั พันธ์กบั พลังงาน ไฟ อันตรายที่สมั พันธ์กบั ความร้ อน อันตรายทางกล การแผ่รังสี อันตรายทางเคมี

มอก.1561-2548 การเลือกวัสดุและส่ วนประกอบ • การเลือกและจัดวางวัสดุและส่วนประกอบในการสร้ างบริ ภณ ั ฑ์ • การเลือกวัสดุและส่วนประกอบที่จะไม่ช่วยเสริ มในการเกิอนั ตรายจากไฟที่ รุนแรง • การเลือกวัสดุและส่วนประกอบที่คงไว้ สาํ หรับค่าพิกดั ภายใต้ ภาวะปกติและ ภาวะผิดพร่อง

มอก. 1956 - 2548

มอก. 1956 - 2548 • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3431 (พ.ศ.2548) ประกาศ ณ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ออกประกาศกําหนด มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมบริ ภณ ั ฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ:ขีด กําจัดสัญญาณรบกวนวิทยุมาตรฐานเลขที่ มอก. 196-2548 • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไปเล่มที่ 123 ตอนที่ 60 วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2549 • มีผลเมื่อพ้ นกําหนด 90 วัน นับแต่วนั ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มอก. 1956 - 2548 • CISPR 22

Information Technology equipment – Radio disturbance characteristics Limits and Methods of measurement

• CISPR 22 มอก.1441-2545

มอก. 1956 - 2548 จุดประสงค์ : เพื่อกําหนดระดับสัญญาณรบกวนวิทยุของบริ ภณ ั ฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ เป็ นแบบเดียวกัน กําหนดขีดจํากัดของสัญญาณรบกวน อธิบายวิธีการ วัดและกําหนดภาวการณ์ทํางานและการตีความผลการทดลอบให้ เป็ น มาตรฐานในแนวทางเดียวกัน

มอก. 1956 - 2548 ขอบข่ าย มอก. 1956-2548 ครอบคลุมถึงขีดจํากัดสัญญาณรบกวนวิทยุของ บริ ภณ ั ฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีดําเนินการต่างๆ กําหนดไว้ สาํ หรับ การวัดระดับสัญญาณที่เกิดจากบริ ภณ ั ฑ์ฯและขีดจํากัดที่ระบุไว้ ใช้ สําหรับพิสยั ความถี่ 9 กิโลเฮิรตซ์ ถึง 400 กิโลเฮิรตซ์ สําหรับบริ ภณ ั ฑ์ฯ ประเภท A และประเภท B

มอก. 1956 - 2548 ประเภท ITE

ITE ประเภท A หมายถึง กลุม่ ที่ ITE อื่นๆ ทังหมดซึ ้ ง่ เป็ นไปตามขีดกําจัดสําหรับ ITE ประเภท A แต่ไม่เป็ นไปตามขีดจํากัดสําหรับ ITE ประเภท B ITE ประเภท B หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ เป็ นไปตามขีดกําจัดสัญญาณรบกวนสําหรับ ITE ประเภท B และบริ ภณ ั ฑ์ที่มีจดุ ประสงค์หลักสําหรับใช้ งานในสิง่ แวดล้ อมพัก อาศัย รัศมี 10 เมตร

มอก. 1956 - 2548 มอก. 1956-2548 กําหนดขีดกําจัดสัญญาณรบกวน ดังนี ้ 1. ขีดจํากัดสําหรับสัญญาณรบกวนที่นําตามสาย • •

ช่องทางแหล่งจ่ายกําลังไฟฟ้าประธาน ช่องทางโทรคมนาคม

2. ขีดจํากัดสําหรับสัญญาณรบกวนที่แผ่กระจายเป็ นคลื่น

ระเบียบพัสดุ ที่ควรทราบ • ข้ อ 16(1) ห้ ามกําหนดรายละเอียด หรื อคุณลักษณะเฉพาะ ซึง่ อาจมีผล กีดกันไม่ให้ ผ้ ผู ลิตหรื อผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศไทย หรื อเป็ นกิจการ ของคนไทยสามารถเข้ าแข่งขันในการเสนอราคากับทางราชการ

พรบ. ว่ าด้ วยความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐ มาตรา 11 จนท.ในหน่วยงานของรัฐผู้ใด ..................โดยทุจริ ตทําการ ออกแบบ กําหนดราคา กําหนดเงื่อนไข..............อันเป็ นมาตรฐานใน การเสนอราคา โดยมุง่ หมายมิให้ มีการแข่งขันในการเสนอราคาอย่าง เป็ นธรรม หรื อช่วยเหลือ.......หรื อเพื่อกีดกัน ผู้เสนอราคารายใด มิให้ มี โอกาสเข้ าแข่งขันในการเสนอราคาอย่างเป็ นธรรม ต้ องระวางโทษจําคุก ตังแต่ ้ 5 ปี ถึง 20 ปี หรื อจําคุกตลอดชีวิต และปรับตังแต่ ้ 100,000 – 400,000

มติ ครม. เมื่อ 21 มีนาคม 2520 “ ห้ ามมิให้ กาํ หนดลักษณะเฉพาะของสิ่งของ ที่จะซือ้ ให้ ใกล้ เคียงกับ ยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง และห้ ามระบุย่ หี ้ อของที่ต้องการจะซือ้ ทุกชนิด เว้ นแต่ มีข้อยกเว้ นไว้ เช่ น ยารั กษาโรค เครื่ องอะไหล่ เป็ นต้ น ซึ่ง กําหนดให้ ระบุย่ หี ้ อได้ “