Audit Technique เทคนิคการตรวจสอบ

1. การสอบถาม การสอบถามเป นหลักการเบื้องต นที่ใช ใน...

102 downloads 417 Views 164KB Size
Audit Technique เทคนิคการตรวจสอบ เมื่อกลาวถึงคําวา เทคนิค มักหมายถึง วิธีการที่ผูทํางานนํามาใชเพื่อใหงาน นั้นไดผลสําเร็จ เมื่อนําคําวา”เทคนิค” มาใชกับ “การตรวจสอบ” หรือ เรียกวา “เทคนิคการตรวจสอบ” จึงหมายถึง วิธีการที่ใชในการตรวจสอบเพื่อใหไดมา ซึ่งหลักฐานการตรวจสอบที่ผูตรวจสอบนํามาใช เพื่อใหงานตรวจสอบนั้นได ผลสําเร็จ และเปนที่ยอมรับ ซึ่งเทคนิคการตรวจสอบที่ดี จะประกอบดวยวิธีการ ตรวจสอบตามหลักการ และการนําหลักมนุษยสัมพันธ มาประยุกตใชพรอมกับวิธีการตรวจสอบตามหลักการ นั้น ในทุกระยะขั้นตอนของกระบวนการตรวจสอบ โดยสรุปเทคนิคการตรวจสอบ ( Audit Technique ) เปนวิธีการตรวจสอบสําคัญที่ผูตรวจสอบเลือก ใชในการรวบรวมขอมูลหลักฐานตางๆ เพื่อใหได หลักฐานที่ดีและเสียคาใชจายนอยที่สุด โดยการตรวจ เปนไปตามวัตถุประสงคการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบที่กําหนดขึ้น ประเภทของเทคนิคการตรวจสอบภายใน แบงเปน 2 ประเภท 1. เทคนิคดานมนุษยสัมพันธและการสื่อสาร 2. เทคนิคการรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ ปจจุบันนิยมนําเทคนิคดานคอมพิวเตอรมาชวยในการตรวจสอบดวย เทคนิคดานมนุษยสัมพันธและการสื่อสาร มาตรฐาน การตรวจสอบภายในหมวด 260 เนนความสําคัญของการมีทักษะในการติดตอสื่อสารและ มนุษยสัมพันธ เพื่อประโยชนในการประสานงานและจูงใจผลงานตรวจสอบ เทคนิคที่นิยมนํามาใชในการตรวจสอบภายใน มีดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

การสอบถาม การสังเกตการณ การตรวจเยี่ยม การสุมทดสอบ การวิเคราะหเปรียบเทียบ

1. การสอบถาม การสอบถามเปนหลักการเบื้องตนที่ใชใน การตรวจสอบภายใน เพราะการสอบถาม ทําใหผูต รวจสอบภายในไดทราบในสิ่ง ที่ ต อ งการทั้ ง ในเรื่ อ งเอกสาร ระบบงาน แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ตั ว ข อ ง ผู ที่ เ ร า สอบถาม รูปแบบของการสอบถามมีดังตอไปนี้ 1) การใชแบบสอบถาม 2) การสอบถามดวยวาจา 2. การสังเกตการณ การสังเกตการณตรวจสอบ เปนเทคนิคการตรวจสอบอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใช เชน การสังเกตการณปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในเพื่อหาขอสรุปวา มีการไม ปฏิบัติตามระบบที่วางไวหรือไม การสังเกตการณการตรวจนับสินคา การสังเกต การณการปฏิบัติงานของเครื่องจักรวามีประสิทธิภาพแคไหน การสังเกตการณ ความพอใจของลูกคาจากการมาใชบริการขององคกร เปนตน

3. การตรวจเยี่ยม การตรวจเยี่ยมจะใชในกรณีที่มีสาขาอยูมาก ผูตรวจสอบภายในอาจใชเทคนิค การตรวจเยี่ยมสาขาตาง ๆ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสาขา การตรวจเยี่ยมอาจใชวิธีนัดหมายลวงหนา หรือแบบไมไดนัดหมายก็ได 4. การสุมทดสอบ โดยทั่วไปแลวผูต  รวจสอบภายในไมสามารถตรวจสอบ รายการไดทุกรายการ การสุมตรวจสอบจึงเปนเทคนิคที่นิยมกันเปนอยาง แพรหลาย เชน การสุมตัวอยางลูกหนี้ เพื่อทําหนังสือยืนยันยอดลูกหนี้ และ พิสูจนความมีตัวตนของลูกหนี้ เปนตน 5. การวิเคราะหเปรียบเทียบ การวิเคราะหเปรียบเทียบจะทําใหคนพบความ ผิดปกติของรายการไดเร็วกวากรณีอื่น โดยทั่วไป ผูต  รวจสอบภายในจะใชวิธีวิเคราะหเปรียบเทียบ รวมกับเทคนิคอื่นๆ กรณีที่ใชเทคนิคการวิเคราะห เปรียบเทียบแลวเกิดผลตางที่มีนัยสําคัญ ผูต  รวจสอบภายในจึงจะใชเทคนิคอื่นๆ ตอไป

แหม!! เสียดายจัง...หนากระดาษหมดพอดี...เอาไวติดตามตอชวงหนานะคะ