a bi

จํานวนเชิงซ อน (complex number) เป นจํานวนที่ไม มีอยู จริงในธรรมชาติ แต ได ถูกกํา หนดขึ้นมาเพื่อใช ในการ. แก ไขป ญหาทางคณิตศาสตร เช น การแก สมการ 2. 0...

199 downloads 797 Views 443KB Size
บทที่ 1 การวิเคราะหเชิงซอน จํานวนเชิงซอน (complex number) เปนจํานวนที่ไมมีอยูจริงในธรรมชาติ แตไดถูกกําหนดขึ้นมาเพื่อใชในการ แกไขปญหาทางคณิตศาสตร เชน การแกสมการ x 2 + n = 0 เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก ดังนั้นจํานวนเชิงซอน จึงมีประโยชนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานวิศวกรรมที่ตองหาผลเฉลยดวยวิธีที่เกี่ยวของกับจํานวนเชิงซอน และฟงกชันเชิงซอน ไดแก แบบจําลองของวงจรไฟฟา, ระบบกลศาสตรของการสั่นสะเทือน, ทฤษฎีของความ รอน, พลศาสตรของไหล, และไฟฟาสถิตย เปนตน ดังนั้นในบทนี้จะอธิบายจํานวนเชิงซอนและคุณสมบัติ ตางๆ ที่จําเปนสําหรับการนําไปใชในการแกไขปญหาทางคณิตศาสตรที่จะศึกษาในบทตอไป

1.1 จํานวนจินตภาพ โดยทั่วไปการแกสมการ x 2 + n = 0 เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไมสามารถหาคาของตัวแปร x ที่เปนเลข จํานวนจริงได เนื่องจากไมมีจํานวนจริง x ใดที่ยกกําลังสองแลวมีคาเทากับคา −n ดังนั้นจึงไดมีการสราง สัญลักษณใหมเพื่อใชหาคําตอบของสมการดังกลาว นั่นคือถา x 2 + n = 0 แลว จะไดวาคําตอบของสมการนี้ คือ x = −n เชน ถา x 2 + 2 = 0 จะไดวา x = − 2 เปนตน ในทางปฏิบัติคา −n จะถูกเรียกวา “จํานวน จินตภาพ (imaginary number)” และเรียกคา − 1 วา “หนวยจินตภาพ (imaginary unit)” ซึ่งโดยทั่วไปจะใช สัญลักษณ i = −1 แทนหนวยจินตภาพ ตัวอยางเชน −2 = i 2 , −4 = i 4 = 2i , และ −9 = i 9 = 3i เปนตน คาของหนวยจินตภาพ i ยกกําลังดวยจํานวนเต็มบวกที่สําคัญมีดังนี้ 1)

i = −1

2)

i 2 = −1

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

1-2

สั ญ ญาณและระบบ

3)

i 3 = i 2i1 = −i

4)

i 4 = i 2i 2 = ( −1)( −1) = 1

5)

i =i i =i

6)

i = i i = i = −1

7)

i 7 = i 4i 3 = i 3 = i 2i = −i

8)

i 8 = i 4i 4 = 1

5

6

สรุปเมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไดวา i 4n = 1

4 1

4 2

i 4 n +1 = i

2

i 4 n + 2 = i 2 = −1

i 4 n +3 = i 3 = −i

ตัวอยางที่ 1.1 จงหาคาของ i57 , i83 , i100 , และ i 250 วิธีทํา

i 57 = i 4(14)+1 = i

i

83

=i

4 ( 20 )+ 3

SCILAB:

= i = −i 3

i100 = i 4( 25) = 1

-->[(%i)^57, (%i)^83, (%i)^100, (%i)^1250] ans = i - i 1. - 1.

i 1250 = i 4(312 )+ 2 = i 2 = −1

1.2 จํานวนเชิงซอน จํานวนเชิงซอนคือจํานวนที่สามารถเขียนอยูในรูปของ i = −1 ดังนั้นถากําหนดให

a + bi

z = a + bi

เมื่อ a และ b เปนเลขจํานวนจริง และ (1.1)

โดยที่ a เรียกวาสวนจริง (real part) ของ z ซึ่งเขียนแทนดวย Re { z} = a ในขณะที่ b เรียกวาสวนจินตภาพ (imaginary part) ของ z ซึ่งเขียนแทนดวย Im { z} = b ตัวอยางเชนถา z = 2 − 4i จะไดวา Re { z} = 2 และ Im { z} = −4 นอกจากนี้จํานวนเชิงซอน z = a + bi สามารถที่จะแสดงใหอยูในรูปของจุดพิกัด z = ( a, b ) ใน ระนาบพิกัดฉาก xy ดังแสดงในภาพที่ 1.1 โดยที่แกน x เรียกวาแกนจริง (real axis), แกน y เรียกวาแกน จินตภาพ (imaginary axis), และระนาบ xy เรียกวาระนาบเชิงซอน (complex plane)

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

1-3 y = Im { z} z = ( a, b ) = a + bi

y =b

x=a

ภาพที่ 1.1 จํานวนเชิงซอน

z = a + bi

x = Re { z}

ในระนาบพิกัดฉาก

1.2.1 การเทากัน การบวก และการลบ กําหนดให

z1 = a + bi

และ

z2 = c + di

เมื่อ a, b, c, และ d เปนเลขจํานวนจริง ดังนัน้

1) การเทากัน z1 = z2

ก็ตอเมื่อ a = c และ b = d

(1.2)

2) การบวก z1 + z2 = (a + bi ) + (c + di ) = (a + c) + (b + d )i

(1.3)

z1 − z2 = (a + bi ) − (c + di ) = (a − c) + (b − d )i

(1.4)

3) การลบ

ตัวอยางที่ 1.2 กําหนดให วิธีทํา คา

z1 + z2

z1 = 2 + 3i

และ

หาไดโดย

z1 + z2 = ( 2 + ( −3) ) + ( 3 + 2 ) i = −1 + 5i

และคา

z1 − z2

หาไดจาก

z1 − z2 = ( 2 − ( −3) ) + ( 3 − 2 ) i = 5+i

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

z2 = −3 + 2i

จงหาคาของ

z1 + z2

และ

z1 − z2

SCILAB: -->z1 = 2 + 3*%i; -->z2 = -3 + 2*%i; -->z1 + z2 ans = - 1. + 5.i -->z1 – z2 ans = 5. + i

1-4

สั ญ ญาณและระบบ

1.2.2 เอกลักษณและอินเวอรสการบวก เอกลักษณการบวก (additive identity) คือจํานวนที่นํามาบวกกับจํานวน z แลวไดผลลัพธเปนจํานวน z เหมือนเดิม ในขณะที่อินเวอรสการบวก (additive inverse) คือจํานวนที่นํามาบวกกับจํานวน z แลวไดผลลัพธ เปนคา 0 หรือ ( 0, 0 ) ถากําหนดให z = a + bi ซึ่งเขียนแทนดวยจุดพิกัด ( a, b ) จะไดวาจํานวนเชิงซอน ( 0, 0 ) เปน เอกลักษณการบวก เนื่องจาก ( a, b ) + ( 0, 0 ) = ( a + 0, b + 0 ) = ( a, b )

(1.5)

และอินเวอรสการบวกของจํานวนเชิงซอน ( a, b ) คือ ( −a, −b ) เพราะวา ( a, b ) + ( −a, −b ) = ( a − a, b − b ) = ( 0, 0 ) = 0

(1.6)

เชนอินเวอรสการบวกของ ( 3, 2 ) คือ ( −3, −2 ) และอินเวอรสการบวกของ 2 − 3i คือ −2 + 3i

1.2.3 การคูณ กําหนดให z1 = a + bi และ z2 มีคาเทากับ

z2 = c + di

เมื่อ a, b, c, และ d เปนเลขจํานวนจริง ดังนั้นผลคูณของ

z1 z2 = (a + bi )(c + di ) = (ac − bd ) + (bc + ad )i

z1

และ (1.7)

ตัวอยางที่ 1.3 จงหาผลคูณ 3 + 4i กับ 2 + i วิธีทํา ( 3 + 4i )( 2 + i ) = 6 + 3i + 8i + 4i

SCILAB: 2

= 6 + 11i + 4 ( −1) = 2 + 11i

-->(3+4*%i)*(2+%i) ans = 2. + 11.i

1.2.4 เอกลักษณและอินเวอรสการคูณ เอกลักษณการคูณ (multiplicative identity) คือจํานวนที่นํามาคูณกับจํานวน z แลวไดผลลัพธเปน z เหมือนเดิม ในขณะที่อินเวอรสการคูณ (multiplicative inverse) คือจํานวนที่นํามาคูณกับจํานวน z (เมื่อ z ≠ 0 ) แลวได ผลลัพธเปนคา 1 หรือ (1, 0 ) ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

1-5 ถากําหนดให เนื่องจาก

z = a + bi

หรือเขียนแทนดวยจุดพิกัด ( a, b ) จะไดวา (1, 0 ) เปนเอกลักษณการคูณ

( a, b )(1, 0 ) = ( a (1) − b ( 0 ) , a ( 0 ) + b (1) ) = ( a, b )

(1.8)

สํ า หรั บ อิ น เวอร ส การคู ณ ของจํ า นวนเชิ ง ซ อ น ( a, b ) หาได ดั ง นี้ ถ า ให จํ า นวนเชิ ง ซ อ น ( x, y ) เป น อินเวอรสการคูณของ ( a, b ) โดยที่ ( a, b ) ≠ ( 0, 0 ) จะไดวา ( a, b )( x, y ) = (1, 0 ) ( ax − by, ay + bx ) = (1, 0 )

นั่นคือ ax − by = 1 และ ay + bx = 0 ซึ่งจะได x=

a a + b2 2

และ

y=−

b a + b2 2

ดังนั้นอินเวอรสการคูณของ ( a, b ) หรือเขียนเปนสัญลักษณไดวา ( a, b )−1 คือ ( a, b )

−1

b ⎞ ⎛ a ,− 2 =⎜ 2 ⎟ 2 a + b2 ⎠ ⎝ a +b

(1.9)

ตัวอยางที่ 1.4 จงหาคาอินเวอรสการคูณของ 2 + 3i และ −3 + 4i วิธีทํา อินเวอรสการคูณของ 2 + 3i หรือ ( 2,3) คือ ( 2,3)

−1

⎛ ⎞ 2 3 ,− 2 = ⎜ 2 2 2 ⎟ (2 ) + (3 ) ⎠ ⎝ (2) + (3) 3⎞ ⎛ 2 = ⎜ , − ⎟ = 0.1538462 − 0.2307692i ⎝ 13 13 ⎠

ในขณะที่อินเวอรสการคูณของ −3 + 4i หรือ ( −3, 4 ) คือ ( −3, 4 )

−1

⎛ ⎞ −3 4 ⎟ =⎜ − , ⎜ ( −3)2 + 42 ( −3)2 + 42 ⎟ ⎝ ⎠

4 ⎞ ⎛ 3 = ⎜ − , − ⎟ = −0.12 − 0.16i ⎝ 25 25 ⎠ ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

SCILAB: -->inv(2 + 3*%i) ans = 0.1538462 - 0.2307692i -->(2/13) + (-3/13)*%i ans = 0.1538462 - 0.2307692i -->inv(-3+4*%i) ans = - 0.12 - 0.16i

1-6

สั ญ ญาณและระบบ

1.2.5 การหาร การหาผลหารของจํานวนเชิงซอนจะอาศัยคุณสมบัติการคูณจํานวนเชิงซอนเขามาชวย เพราะวาการหารจํานวน เชิงซอนก็คือการคูณดวยอินเวอรสการคูณของตัวหารนั่นเอง ดังนั้นจํานวนเชิงซอน a + bi หารดวย c + di จะมีคาเทากับ ( a , b ) = a , b c , d −1 = a , b ⎛ c , − d ⎞ ( )( ) ( ) ⎜ 2 2 2 2 ⎟ c +d ⎠ ( c, d ) ⎝c +d

= ⎛⎜ ac2 + bd2 , bc2 − ad2 ⎞⎟ ⎝c +d

c +d ⎠

(1.10)

ตัวอยางเชน 3, 4 ก) ( ) = ( 3, 4 ) ⎛⎜ 2 , − 3 ⎞⎟ = ⎛⎜ 18 ,− 1 ⎞⎟ ( 2,3) ⎝ 13 13 ⎠ ⎝ 13 13 ⎠

-->(3+4*%i)/(2+3*%i) ans = 1.3846154 - 0.0769231i

= 1.3846 − 0.0769i

ข)

SCILAB:

2−i ⎛ 1 3 ⎞ = (2 − i)⎜ + i ⎟ 1 − 3i ⎝ 10 10 ⎠

-->(2-%i)/(1-3*%i) ans = 0.5 + 0.5i

= 0.5 + 0.5i

1.3 สังยุคของจํานวนเชิงซอน สังยุค (conjugate) ของจํานวนเชิงซอน z = a + bi คือจํานวนเชิงซอน z = a + bi = a − bi เชน สังยุคของ 2 + 3i คือ 2 − 3i หรือสังยุคของ −2 − 3i คือ −2 + 3i เปนตน ดังนั้นการหาสังยุคของจํานวนเชิงซอนทําได งายโดยการเปลี่ยนเครื่องหมาย (จากบวกเปนลบ หรือจากลบเปนบวก) ของจํานวนจินตภาพเทานั้น

1.3.1 คุณสมบัติของสังยุคของจํานวนเชิงซอน สังยุคของจํานวนเชิงซอนมีคณ ุ สมบัติที่สําคัญดังนี้ 1) ถา z เปนจํานวนเชิงซอน แลว

z=z

2) ถา z เปนจํานวนจินตภาพแท แลว 3) ถา z เปนจํานวนเชิงซอน แลว ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

ก็ตอเมื่อ z เปนจํานวนจริง

z = −z

z=z

1-7 4) ถา

z1

และ

z2

เปนจํานวนเชิงซอน แลว

4.1)

z1 + z2 = z1 + z2

4.2)

z1 − z2 = z1 − z2

4.3)

z1 z2 = ( z1 )( z2 )

5) ถากําหนดใหจาํ นวนเชิงซอน

z = a + bi

a=

โดยที่ a และ b เปนเลขจํานวนจริง จะไดวา z+z 2

และ

b=

z−z 2i

(1.11)

นอกจากนี้การหารจํานวนเชิงซอนสามารถใชคุณสมบัติของสังยุคของจํานวนเชิงซอนเขามาชวยใน การหารจํานวนเชิงซอนไดโดยการนําสังยุคของตัวหารมาคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร ดังแสดงในตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 1.5 จงหาคาของ 1 + i และ 1− i

วิธีทํา คาของ 1+ i 1− i

และคาของ

=

1+ i 1− i

SCILAB:

หาไดจาก

-->(1+%i)/(1-%i) ans = i

1 + i ⎛ 1 + i ⎞ 1 + 2i + i 2 2i = =i ⎜ ⎟= 1+1 1− i ⎝ 1+ i ⎠ 2

3 + 4i 1 + 2i

3 + 4i 1 + 2i

3 + 4i 1 + 2i

=

-->(3+4*%i)/(1+2*%i) ans = 2.2 - 0.4i

หาไดจาก 3 + 4i ⎛ 1 − 2i ⎞ ⎜ ⎟ 1 + 2i ⎝ 1 − 2i ⎠

ตัวอยางที่ 1.6 ถา

z = x + yi

วิธีทํา เนื่องจาก

x=

z+z 2

=

3 − 2i − 8i 2 1+ 4

= 11 − 2i 5

= 2.2 − 0.4i

และ f ( z ) = ( x 2 − y 2 ) + 2 xyi จงเขียนฟงกชัน f ( z ) ใหอยูในรูปตัวแปร และ

y=

z−z 2i

ดังนั้นแทนคา x และ

y

⎡⎛ z + z ⎞ 2 ⎛ z − z ⎞ 2 ⎤ ⎛ z + z ⎞⎛ z − z f ( z ) = ⎢⎜ ⎟ −⎜ ⎟ ⎥ + 2⎜ ⎟⎜ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2i ⎢⎣⎝ 2 ⎠ ⎝ 2i ⎠ ⎥⎦

ลงใน f ( z ) จะได ⎞ ⎟i ⎠

⎛ z 2 + 2 zz + z 2 ⎞ ⎛ z 2 − 2 zz + z 2 ⎞ z 2 − z 2 =⎜ ⎟+⎜ ⎟+ 4 4 2 ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

2z2 + 2z 2 + 2z2 − 2z 2 = z2 = 4 ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

z

1-8

สั ญ ญาณและระบบ y = Im { z}

z = ( a, b )

b 2

2

z=

a

+b

⎛b⎞ ⎝ ⎠

θ = tan −1 ⎜ ⎟ a

θ

a

x = Re { z}

ภาพที่ 1.2 คาสัมบูรณและมุมเฟสของจํานวนเชิงซอน

z

1.4 คาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน คาสัมบูรณ (absolute value) ของจํานวนเชิงซอน

z = a + bi

หาไดโดย (1.12)

z = a + bi = a 2 + b 2

ตามที่แสดงในภาพที่ 1.2 ซึ่งเห็นไดวาคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน ไปยังจุด ( a, b ) นั่นเอง ตัวอยางที่ 1.7 จงหาคาสัมบูรณของ 3 + 4i ,

z = ( a, b )

ก็คือระยะทางจากจุด ( 0, 0 )

3 1 − i , และ 3i 2 2

วิธีทํา คาสัมบูรณของ 3 + 4i คือ 3 + 4i = 3 2 + 4 2 = 25 = 5 SCILAB:

คาสัมบูรณของ

3 1 − i 2 2

คือ

-->abs(3+4*%i) ans = 5. 2

⎛ 3 ⎞ ⎛ 1 ⎞2 3 1 3 1 − i = ⎜⎜ + =1 ⎟⎟ + ⎜ − ⎟ = 2 2 4 4 ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2⎠

และคาสัมบูรณของ 3i คือ 3i = 02 + 32 = 9 = 3

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

-->abs(sqrt(3)/2 - %i/2) ans = 1. -->abs(3*%i) ans 3.

1-9

1.4.1 คุณสมบัติของคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน คุณสมบัติของคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอนที่สําคัญมีดังนี้ 1) ถา z เปนจํานวนเชิงซอน แลว

z = z = −z

2) ถา z เปนจํานวนเชิงซอน แลว

z = zz

3) ถา

z1

และ

z2

เปนจํานวนเชิงซอนแลว

พิสูจน ถากําหนดให

z1 = a + bi

และ

หรือ

z = zz 2

z1 z2 = z1 z2

z2 = c + di

จะไดวา

z1 z2 = ( a + bi )( c + di ) = ( ac − bd ) + ( ad + bc ) i

ดังนั้น

z1 z2 =

( ac − bd ) + ( ad + bc ) 2

2

= ( a 2c 2 − 2abcd + b2 d 2 ) + ( a 2 d 2 + 2abcd + b 2c 2 ) = ( a 2c 2 + a 2 d 2 ) + ( b2 d 2 + b2c 2 ) =

(

)

(

a 2 c2 + d 2 + b2 c2 + d 2

)

= ( a 2 + b 2 )( c 2 + d 2 ) = 4) ถา

z1

และ

z2

a 2 + b 2 c 2 + d 2 = z1 z2

เปนจํานวนเชิงซอน และ

พิสูจน ถากําหนดให

z1 = a + bi

z1 a + bi = z2 c + di

และ

z2 ≠ 0

แลว

z2 = c + di

= (a + bi )(c + di )−1

= (a + bi )⎛⎜

c d − 2 2 c +d2 ⎝c +d

= ดังนั้น

z1 z2

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

2

⎞ i⎟ ⎠

ac + bd ( bc − ad ) + 2 i c2 + d 2 c + d2

=

⎛ ac + bd ⎞ ⎛ bc − ad ⎞ +⎜ 2 ⎜ 2 2 ⎟ 2 ⎟ ⎝ c +d ⎠ ⎝ c +d ⎠

=

a 2c 2 + b 2 d 2 + a 2d 2 + b 2c 2

2

(c

2

+d2

)

2

2

z z1 = 1 z2 z2

จะไดวา

ซ.ต.พ.

1-10

สั ญ ญาณและระบบ (a = (a = (c

5) ถา

z1

และ

z2

2

)(

)

+ b2 c2 + d 2

(c

2

+ d2

2

+ b2

2

+d

2

)

2

)= )

a 2 + b2 c2 + d 2

z1

=

เปนจํานวนเชิงซอน แลว Re { z1 z2 } ≤

พิสูจน กําหนดให

และ

z1 = a + bi

z2 = c + di

ซ.ต.พ.

z2 z1 z2

จะไดวา

z2 = c − di

และ

z1 z2 = ( a + bi )( c − di ) = ( ac + bd ) + ( bc − ad ) i

ดังนั้น Re { z1 z2 } = ( ac + bd ) และ จากขอกําหนด Re { z1 z2 } ≤

z1 z2

z1 z2 =

( ac + bd ) + ( bc − ad ) 2

2

ซึ่งหมายความวา

( ac + bd ) ≤ ( ac + bd ) + ( bc − ad ) 2

2

≤ ( ac + bd ) + ( bc − ad )

2

ยกกําลังสองทั้งสองขางของสมการนี้จะได ( ac + bd )

2

2

0 ≤ ( bc − ad )

ซึ่งเปนจริงเสมอ ดังนั้นสามารถสรุปไดวา Re { z1 z2 } ≤ 6) ถา

z1

และ

z2

เปนจํานวนเชิงซอน แลว

พิสูจน เนื่องจาก

z1 + z 2

2

2

ซ.ต.พ.

z1 z2

z1 + z 2 ≤ z1 + z 2

= ( z1 + z2 ) ( z1 + z2 )

(จากคุณสมบัติขอ 2 ที่วา

= ( z1 + z2 )( z1 + z2 )

ถากําหนดให

z1 = x1 + iy1

=

z1 z1 + z1 z2 + z2 z1 + z2 z2

=

z1 + z2 + z1 z2 + z1 z2

และ

2

2

z 2 = x 2 + iy 2

จะไดวา

z1 z2 = ( x1 + iy1 )( x2 − iy2 ) = x1 x2 + y1 y2 + i ( − x1 y2 + x2 y1 ) z1 z2 = ( x1 − iy1 )( x2 + iy2 )

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

=

x1 x 2 + y1 y 2 + i ( x1 y 2 − x 2 y1 )

z = zz ) 2

11 ดังนั้น z1 z2 + z1 z2 = 2 ( x1 x2 + y1 y2 ) = 2 Re { z1 z2 } ≤ 2 z1 z2 และเนื่องจาก จะไดวา

z1 z2 = z1 z2 = z1 z2

z1 z2 + z1 z2 ≤ 2 z1 z2

เพราะฉะนั้น z1 + z2 ≤ z1 + z2 + 2 z1 z2 2

2

2

z1 + z2 ≤ ( z1 + z2 2

นั่นคือ

2

ซ.ต.พ.

z1 + z 2 ≤ z1 + z 2

7) ถา z เปนจํานวนเชิงซอน แลว พิสูจน

)

ถากําหนดให

1 1 = z z

z = a + bi

แลวจะไดวา

1 1 1 ⎛ a − bi ⎞ a − bi = = ⎜ ⎟= z a + bi a + bi ⎝ a − bi ⎠ a 2 + b 2

ดังนั้น

a − bi a 2 + b2 1 1 1 = 2 = = = 2 2 2 z a +b a +b z a 2 + b2

ซ.ต.พ.

1.5 จํานวนเชิงซอนในระบบพิกัดเชิงขั้ว จากภาพที่ 1.2 จํานวนเชิงซอน z = a + bi สามารถเขียนแทนไดดวยจุดพิกัด ( a, b ) ในระนาบเชิงซอน โดยที่ เสนแกน x แสดงคาจํานวนจริง และเสนแกน y แสดงคาจํานวนจินตภาพ นอกจากนี้ยังสามารถแสดงจํานวน เชิงซอนใหอยูในรูปของเวกเตอร (vector) ไดโดยมีจุด ( 0, 0 ) เปนจุดตั้งตน และจุด ( a, b ) เปนจุดสุดทาย เมื่อ θ เปนมุมระหวางเวกเตอรที่เขียนแทนจํานวนเชิงซอน a + bi กับแกน x ในทิศทวนเข็มนาฬิกามีหนวยเปน เรเดียน (radian) ซึ่งหาไดจาก tan (θ ) =

b a

หรือ

⎛b⎞ ⎝ ⎠

θ = tan −1 ⎜ ⎟ a

(1.13)

เมื่อ a ≠ 0 โดยที่คา a และ b หาไดจาก

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

a = z cos (θ )

(1.14)

b = z sin (θ )

(1.15)

12

สั ญ ญาณและระบบ Im { z}

(

z = 1, 3

3

)

z =2

θ

Re { z}

1

ภาพที่ 1.3 จํานวน

z = 1 + 3i

ในระนาบเชิงซอน

เมื่อ z = a 2 +b 2 คือคาสัมบูรณหรือขนาดของ z ดังนั้นจํานวนเชิงซอน รูปของระบบพิกัดเชิงขัว้ (polar coordinate) ไดดังนี้

z = a + bi

z = a + bi = z {cos (θ ) + i sin (θ )} = z eiθ

สามารถเขียนใหอยูใ น (1.16)

เนื่องจาก eiθ = cos (θ ) + i sin (θ )

(1.17)

ตามความสัมพันธของออยเลอร (Euler’s relation) [1] ตัวอยางที่ 1.8 จงเขียนจํานวนเชิงซอน

z = 1 + 3i

ในระบบพิกัดเชิงขั้ว

วิธีทํา การเขียนจํานวนเชิงซอน z = 1 + 3i = (1, 3 ) ใหอยูในระบบพิกัดเชิงขั้วตามสมการ (1.16) จะตอง ทราบขนาด z และมุม θ ของ z กอน จากภาพที่ 1.3 มุมของ z หาไดจากสมการ (1.13) นั่นคือ tan (θ ) =

ซึ่งจะไดวา θ =

π 3

3 ⎛π ⎞ = tan ⎜ ⎟ 1 ⎝3⎠ = 1.047

เรเดียน และ

ขนาดของ z หาไดจากสมการ (1.12) นั่นคือ z = 1 + 3i = 1 + 3 = 2

z = 1 + 3i = z e = 2e ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

-->[r, theta] = polar(1 + sqrt(3)*%i) theta = 1.0471976 + 5.551D-17i r = 2. -->clean(theta) ans = 1.0471976

ดังนั้นจากสมการ (1.16) จะไดวา iθ

SCILAB:

⎛π ⎞ i⎜ ⎟ ⎝3⎠

13 Im { z}

θ

Re { z}

1

z =2

− 3

(

z = 1, − 3

ภาพที่ 1.4 จํานวน

z = 1 − 3i

)

ในระนาบเชิงซอน

ในระบบพิกัดเชิงขั้ว

ตัวอยางที่ 1.9 จงเขียนจํานวนเชิงซอน

z = 1 − 3i

วิธีทํา จํา นวนเชิ งซ อ น

อยู ใ นระบบเชิ ง ซ อ นตามภาพที่ 1.4

z = 1 − 3i

เนื่อ งจาก

(1, − 3 ) อยูใน

จตุภาคที่ 4 จะไดวามุมของ z คือ tan (θ ) =

ซึ่งจะไดวา θ = 5π 3

− 3 π⎞ ⎛ ⎛ 5π ⎞ = tan ⎜ 2π − ⎟ = tan ⎜ ⎟ 1 3⎠ ⎝ ⎝ 3 ⎠ = −1.047

เรเดียน และ

SCILAB:

ขนาดของ z คือ

-->[r, theta] = polar(1 - sqrt(3)*%i) theta = - 1.0471976 + 5.551D-17i r = 2.

z = 1 − 3i = 1 + 3 = 2

ดังนั้นจากสมการ (1.16) จะไดวา iθ

z = 1 − 3i = z e = 2e

-->clean(theta) ans = - 1.0471976

⎛ 5π ⎞ i⎜ ⎟ ⎝ 3 ⎠

1.5.1 การคูณจํานวนเชิงซอน กําหนดให

z1 = z1 eiθ1

และ

z2 = z2 eiθ2

(

ผลคูณของ

z1 z2 = z1 eiθ1

)( z

2

z1

และ

z2

จะมีคา เทากับ

)

eiθ2 = z1 z2 ei(θ1 +θ2 )

= z1 z2 {cos (θ1 + θ 2 ) + i sin (θ1 + θ 2 )} ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

(1.18)

14

สั ญ ญาณและระบบ

ตัวอยางที่ 1.10 กําหนดให วิธีทํา

(

และ

z1 = 2ei(π / 3)

)(

จงหาคาของ

z2 = 3ei(π / 4)

)

z1 z2 = 2ei(π / 3) 3ei(π / 4) = 6ei(π / 3+π / 4 )

z1 z2

SCILAB:

= 6ei( 7π /12 )

-->z1 = 2 * exp(%i * %pi/3);

⎧ ⎛ 7π = 6 ⎨cos ⎜ ⎩ ⎝ 12

⎞ ⎛ 7π ⎟ + i sin ⎜ ⎠ ⎝ 12

-->z2 = 3 * exp(%i * %pi/4);

⎞⎫ ⎟⎬ ⎠⎭

-->z1 * z2 ans = - 1.5529143 + 5.795555i

= −1.553 + 5.796i

1.5.2 การหารจํานวนเชิงซอน กําหนดให

z1 = z1 eiθ1

และ

z2 = z2 eiθ2

ผลลัพธของ

z1 / z2

จะมีคาเทากับ

z1 eiθ1 z z1 = = 1 ei(θ1 −θ2 ) iθ 2 z2 z2 e z2

=

ตัวอยางที่ 1.11 กําหนดให วิธีทํา

z1 = 4ei( 7π / 4)

และ

z1 z2

{cos (θ

1

z 2 = 2e i ( π / 4 )

z1 4ei( 7π / 4) = i(π / 4) = 2ei( 7π / 4−π / 4) z2 2e = 2e

− θ 2 ) + i sin (θ1 − θ 2 )}

จงหาคาของ

(1.19)

z1 / z2

SCILAB: -->z1 = 4*exp(%i*7*%pi/4);

i ( 3π / 2 )

-->z2 = 2*exp(%i*%pi/4);

= 2 {cos ( 3π / 2 ) + i sin ( 3π / 2 )}

-->clean(z1/z2) ans = - 2.i

= −2i

1.5.3 จํานวนเชิงซอนยกกําลัง n กําหนดให

z = z eiθ

และ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไดวา

(

z n = z eiθ

)

n

n

= z einθ = z

ตามทฤษฎีบทเดอมัวฟวร (De Moivre’s theorem) [1] ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

n

{cos ( nθ ) + i sin ( nθ )}

(1.20)

15 ตัวอยางที่ 1.12 จงเขียน (1 + วิธีทํา จัด

3i

)

ในรูป a + bi

5

ใหอยูในรูปของพิกัดเชิงขั้ว

z = 1 + 3i

z = 1+ 3 = 2

ดังนั้นจะไดวา

z = 1 + 3i = 2ei(π / 3)

z = z eiθ

และ

โดยที่ ⎛ 3⎞ π ⎟⎟ = ⎝ 1 ⎠ 3

θ = tan −1 ⎜⎜

และ SCILAB:

(

z 5 = 2ei(π / 3)

)

5

= 25 ei(5π / 3)

-->z = 1 + sqrt(3)*%i;

⎧ ⎛ 5π ⎞ ⎛ 5π = 32 ⎨cos ⎜ ⎟ + i sin ⎜ ⎝ 3 ⎩ ⎝ 3 ⎠

-->z^5 ans = 16. - 27.712813i

⎞⎫ ⎟ ⎬ = 16 − 27.712813i ⎠⎭

1.5.4 รากที่ n ของจํานวนเชิงซอน กําหนดให

เมือ่ k คือจํานวนเต็ม และ n คือจํานวนเต็มบวก จะไดวา

z = z eiθ = z ei(θ + 2π k )

n

1

(

z = z n ei(θ + 2π k )

)

1 n

1

= zne

i

(θ + 2π k ) n

1 ⎧ ⎛ θ + 2π k ⎞ ⎛ θ + 2π k ⎞ ⎫ = z n ⎨cos ⎜ ⎟ + i sin ⎜ ⎟⎬ n ⎠ n ⎠⎭ ⎝ ⎩ ⎝

(1.21)

เมื่อ k = 0,1, 2,… , n − 1 นั่นคือรากที่ n ของจํานวนเชิงซอนจะมีจํานวนคําตอบมากที่สุด n คําตอบ โดยที่ แตละคําตอบสามารถหาไดโดยการแทนคา k = 0,1, 2,… , n − 1 ตัวอยางที่ 1.13 จงหารากที่ 2 ของ วิธีทํา จัด

z = 2 + 2 3i

z = 2 + 2 3i

ใหอยูในรูปของพิกัดเชิงขั้ว

(

z = 22 + 2 3

ดังนั้น

z = 2 + 2 3i = 4ei(π / 3)

2

= 4 + 12 = 4

และ

โดยที่ ⎛2 3⎞ π ⎟⎟ = 2 ⎝ ⎠ 3

θ = tan −1 ⎜⎜

และ

z = ( 4)

1/ 2

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

)

z = z eiθ

⎛ (π / 3) + 2π k ⎞ ⎪⎫ ⎪⎧ ⎛ (π / 3) + 2π k ⎞ ⎨cos ⎜ ⎟ + i sin ⎜ ⎟⎬ 2 2 ⎪⎩ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎪⎭

16

สั ญ ญาณและระบบ

สําหรับ k = 0 และ 1 โดยที่เมื่อ k = 0 จะได SCILAB:

⎧ ⎛π ⎞ ⎛ π ⎞⎫ z = 2 ⎨cos ⎜ ⎟ + i sin ⎜ ⎟ ⎬ = 3 + i ⎝ 6 ⎠⎭ ⎩ ⎝6⎠

-->z = 2 + 2*sqrt(3)*%i z = 2. + 3.4641016i

และเมื่อ k = 1 จะได ⎧ ⎛ 7π z = 2 ⎨cos ⎜ ⎩ ⎝ 6

เพราะฉะนั้นรากที่ 2 ของ

⎞ ⎛ 7π ⎟ + i sin ⎜ ⎠ ⎝ 6

z = 2 + 2 3i

-->(sqrt(3)+%i)^2 ans = 2. + 3.4641016i

⎞⎫ ⎟⎬ = − 3 − i ⎠⎭

คือ

และ −

3 +i

-->(-sqrt(3)-%i)^2 ans = 2. + 3.4641016i

3 −i

1.6 ฟงกชันพื้นฐานของจํานวนเชิงซอน ถากําหนดใหจาํ นวนเชิงซอน (1.22)

z = a + bi = reiθ

โดยที่ r = z = a 2 + b2

และ

⎛b⎞ ⎝ ⎠

θ = tan −1 ⎜ ⎟ a

(1.23)

เมื่อ a และ b เปนเลขจํานวนจริง ดังนั้นฟงกชันพื้นฐานตางๆ ของจํานวนเชิงซอนมีดังตอไปนี้

1.6.1 ฟงกชันเลขชีก้ าํ ลัง ฟงกชันเลขชี้กาํ ลัง (exponential function) ของ

z = a + bi

หาไดจากความสัมพันธดังนี้

e z = e a +bi = e a ebi = e a {cos ( b ) + i sin ( b )} = ea cos ( b ) + ie a sin ( b )

เมื่อ b เปนมุมทีม่ ีหนวยเปนเรเดียน ตัวอยางเชนถา

z = 2 + 3i

จะไดวา

e 2+3i = e 2 {cos ( 3) + i sin ( 3)} = −7.32 + 1.04i

นอกจากนี้คาของฟงกชันเลขชี้กําลังเชิงซอนที่พบมากในการคํานวณมีดังนี้ ƒ

e ± i( nπ ) = −1

เมื่อ n เปนเลขจํานวนเต็มคี่

ƒ

e ± i( 2 nπ ) = 1

เมื่อ n เปนเลขจํานวนเต็มใดๆ

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

(1.24)

17 ƒ

e ± i( nπ / 2) = ±i

เมื่อ n = 1,5,9,13,...

ƒ

e ± i( nπ / 2) = ∓ i

เมื่อ n = 3, 7,11,15,...

ในทางปฏิบัตฟิ งกชันเลขชี้กาํ ลังของจํานวนเชิงซอนสามารถแบงออกเปนไดหลายกรณีดังนี้ 1) ตัวฐาน (base) เปนจํานวนจริง x และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเชิงซอน

(

x z = x a +bi = x a x bi = x a eln ( x )

)

ib

z = a + bi

จะไดวา

{

}

= x a eib ln ( x ) = x a cos ( b ln ( x ) ) + i sin ( b ln ( x ) )

= x a cos ( b ln ( x ) ) + ix a sin ( b ln ( x ) )

(1.25)

เมื่อ ln ( x ) คือลอการิทึมธรรมชาติ (natural logarithm) ของ 2) ตัวฐานเปนจํานวนเชิงซอน

z = a + bi = reiθ

x

และเลขชี้กําลังเปนจํานวนจริง x จะไดวา

z x = ( a + bi ) = ( reiθ ) = r x {cos ( xθ ) + i sin ( xθ )} x

x

= r x cos ( xθ ) + ir x sin ( xθ )

เมื่อ r =

a 2 + b2

(1.26)

และ θ = tan −1 ( b / a )

3) ตัวฐานเปนจํานวนเชิงซอน = r2 eiθ จะไดวา

z1 = a1 + b1i = r1eiθ1

และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเชิงซอน

z2 = a2 + b2i

2

( z1 )

z2

(

= r1eiθ1

)

a2 + ib2

(

= r1eiθ1

) (r e ) a2

iθ1 ib2

1

= ( r1 cos (θ1 ) + ir1 sin (θ1 ) )

a2

(r

ib2 −θ1b2 1

e

)

เนื่องจาก

(

r1ib2 = eln ( r1 )

)

ib2

= eib2 ln ( r1 ) = cos ( b2 ln ( r1 ) ) + i sin ( b2 ln ( r1 ) )

ดังนั้น ( z1 )

z2

= e −θ1b2 ( r1 cos (θ1 ) + ir1 sin (θ1 ) )

a2

( cos ( b ln ( r ) ) + i sin ( b ln ( r ) ) ) 2

1

2

1

(1.27)

ตัวอยางที่ 1.14 จงหาคา z จากสมการ cos ( z ) − 5 = 0

วิธีทํา แทนคา cos ( z ) = e ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

iz

+ e − iz 2

ในสมการ (1.28) จะได

(1.28)

18

สั ญ ญาณและระบบ eiz + e − iz −5 = 0 2

(1.29)

คูณทั้งสองขางของสมการ (1.29) ดวย 2eiz จะได ei 2 z + 1 − 10eiz = 0

(e )

iz 2

− 10 ( eiz ) + 1 = 0

(1.30)

ผลเฉลยของสมการ (1.30) คือ e = zi

ดังนั้น

(

zi = ln 5 ± 24

10 ± 102 − 4 (1)(1) 2

) นั่นคือ z = −i ln (5 +

24

=

10 ± 96 = 5 ± 24 2

) หรือ −i ln (5 −

24

)

1.6.2 ฟงกชันลอการิทึมธรรมชาติ ฟงกชันลอการิทึมธรรมชาติ (natural logarithm function) ของเลขจํานวนเชิงซอน หาไดจากความสัมพันธดังนี้

( )

z = a + bi = reiθ

( )

ln ( z ) = ln reiθ = ln ( r ) + ln eiθ = ln ( r ) + iθ

สามารถ (1.31)

ตัวอยางที่ 1.15 จงหาคาของ ln ( 3 + 4i ) วิธีทํา เนื่องจาก

z = 3 + 4i = 5e0.9273i

(

ln ( 3 + 4i ) = ln 5e0.9273i

ดังนั้น

-->log(3 + 4*%i)

) (

SCILAB:

)

= ln ( 5 ) + ln e0.9273i = 1.61 + 0.93i

ans = 1.6094379 + 0.9272952i

1.7 ปริพนั ธเชิงซอน การหาปริพันธเชิงซอน (complex integration) มีประโยชนมากสําหรับการแกไขปญหาทางดานวิศวกรรม เนื่องจากปญหาสวนใหญจะอยูในรูปของฟงกชันเชิงซอน โดยทั่วไปการหาปริพันธของฟงกชันจริง (real function) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

19 1) การหาปริพันธจํากัดเขต (definite integral) หรือปริพันธแบบกําหนดลิมิต 2) การหาปริพันธไมจํากัดเขต (indefinite integral) หรือปริพันธแบบไมกาํ หนดลิมิต ในสวนนี้จะอธิบายเฉพาะการหาปริพันธจํากัดเขตของฟงกชันเชิงซอน f ( z ) เมื่อ z = x + yi เปน จุดในระนาบเชิงซอน ถากําหนดให z ( t ) = x ( t ) + iy ( t ) เปนฟงกชันเชิงซอนในชวงคาจริง D = [α , β ] เมื่อ x ( t ) และ y ( t ) เปนฟงกชันจริง และ α และ β เปนเลขจํานวนจริง ดังนั้นปริพันธจํากัดเขตของฟงกชัน เชิงซอน z ( t ) บนชวง [α , β ] หาไดจาก β

β

β

α

α

α

∫ z ( t ) dt = ∫ x ( t ) dt + i ∫ y ( t ) dt

(1.32)

2

ตัวอยางที่ 1.16 จงหาคาของ ∫ ⎡⎣( t + 2 ) + it 2 ⎤⎦ dt 0

วิธีทํา เนื่องจาก

SCILAB:

2

2

2

0

0

-->function y = f(t), y = (t+2)+... -->%i*t^2, endfunction

2 ∫ ⎡⎣( t + 2 ) + it ⎤⎦ dt = ∫ ( t + 2 ) dt + i ∫ t dt 2

0

=

2 2

t 2

t =0

+ 2 t t =0 + i 2

-->y = intc(0, 2, f) y = 6. + 2.6666667i

3 2

t 3

t =0

8 ⎛4 ⎞ ⎛8 ⎞ = ⎜ − 0 ⎟ + 2 ( 2 − 0) + i ⎜ − 0 ⎟ = 6 + i 3 ⎝2 ⎠ ⎝3 ⎠

อยางไรก็ตามถาชวง D = [α , β ] เปนเซตยอย (subset) ในระนาบเชิงซอนแลว การหาปริพันธจํากัดเขต จะแตกตางจากที่กลาวมาขางตน กลาวคือถา f เปนฟงกชันเชิงซอนที่นิยามบนเซตยอยของระนาบเชิงซอน และ a และ b เปนเลขจํานวนเชิงซอนภายในโดเมน f การหาปริพันธของ f ตองกําหนด “เสนทาง (path)” ที่จะทําการหาปริพันธในระนาบเชิงซอนกอน นั่นคือถากําหนดให C เปนเสนทางจากจุด a ไปยังจุด b โดยที่ a ไมจําเปนตองมีคาเทากับ b แลว C จะตองเปนเซตยอยภายในโดเมน f ดวย ถาให P เปนการแบงสวนของเสนโคง C นั่นคือ P = { z0 , z1 ,… , zn } เปนเซตยอยของ C โดยที่ z0 = a , zn = b , และ z j มาหลังจาก z j −1 ทันทีในระหวางเสนทางเดินบนเสนโคง C จากจุด a ไปจุด b ตามภาพที่ 1.5 ดังนั้นผลรวมรีมันน (Reimann sum) [2] ที่สอดคลองกับการแบงสวน P คือ n

S ( P ) = ∑ f ( z j ) Δz j j =1

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

(1.33)

20

สั ญ ญาณและระบบ Im

b = zn z1

z2

zn −1

C

z j −1

zj

a = z0 Re

ภาพที่ 1.5 ภาพแสดงเสนทางเดินบนเสนโคง C จาก a และ b

เมื่อ z j คือจุดใดๆ บนเสนโคงระหวาง z j −1 และ z j และ Δz j = z j − z j −1 ถาความยาวของเสน Δz j มีคาเขา ใกลคา 0 จะไดวา n มีคาเขาใกลคาอนันต เพราะฉะนั้นสมการ (1.33) สามารถเขียนไดเปน n

lim S ( P ) = lim ∑ f ( z j ) Δz j = ∫ f ( z ) dz n →∞

n →∞

C

j =1

(1.34)

ซึ่งเรียกวาปริพันธตามเสน (line integral) ของ f ( z ) ตามเสนโคง C โดยคุณสมบัติที่สําคัญของปริพันธ ตามเสนมีดังนี้ 1) ∫C α f ( z ) dz = α ∫C f ( z ) dz เมื่อ α คือคาคงตัว 2) ∫C { f ( z ) + g ( z )} dz = ∫C f ( z ) dz + ∫C g ( z ) dz หมายเหตุ ในกรณีที่เสนโคง C เปนเสนโคงปด นั่นคือเมื่อ a = b จะเรียกการหาปริพันธตามเสนโคงปดนี้วา การหาปริพันธครบรอบทางเดินปด หรือปริพันธคอนทัวร (contour integral) และใชสัญลักษณ ∫ C f ( z ) dz โดยที่เสนทางในการหาปริพันธมีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

1.7.1 วิธีการหาปริพันธเชิงซอน ถากําหนดให

คือฟงกชันเชิงซอนที่นิยามบนเสนโคง C จากจุด a ไปจุด b ซึ่งถูกแบงสวนออกเปน α = t0 < t1 < … < tn −1 < tn = β ดั ง นั้ น {a = γ (α ) , γ ( t1 ) ,… , γ ( tn −1 ) , γ ( β ) = b} คื อ การแบ ง ส ว นของ เสนโคง C โดยที่อนุพันธของ γ จะตองไมเทากับคาศูนย นั่นคือ γ ′ ( t ) ≠ 0 สําหรับทุกคา t ดังนั้นผลรวม รีมันนตามสมการ (1.33) สามารถเขียนไดเปน [2] γ

n n ⎧⎪ γ ( t j ) − γ ( t j −1 ) ⎫⎪ S ( P ) = ∑ f γ ( t j ) γ ( t j ) − γ ( t j −1 ) = ∑ f γ ( t j ) ⎨ ⎬ {t j − t j −1} t j − t j −1 j =1 j =1 ⎪⎩ ⎪⎭

(

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

){

}

(

)

(1.35)

21 Im

Im

C1

1

1

Im

C2

C3

1

C32

1

Re

Re

1

C31

1

Re

ภาพที่ 1.6 เสนทางปริพันธที่แตกตางกันจาก a = 0 ไปยัง b = 1 + i

เมื่อ

z j = γ (t j )

คือจุดใดๆ บนเสนโคง C สําหรับ t j −1 ≤ t j ≤ t j และเมื่อ n เขาใกลคาอนันต จะไดวา β

lim S ( P ) = ∫ f ( z ) dz = ∫ f ( γ ( t ) ) γ ′ ( t ) dt n →∞

C

(1.36)

α

ดังนั้นการหาปริพันธเชิงซอนตามเสนโคง C สามารถทําตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) หาสมการของเสนโคง C ที่ใชในการหาปริพนั ธจากจุด a ไปยังจุด b โดยจัดใหอยูใ นรูป

z = γ (t )

เมื่อ

a≤t ≤b

2) หาอนุพันธ γ ′ ( t ) = 3) แทนคา

z = γ (t )

dγ (t ) dt

ในฟงกชันเชิงซอน f ( z )

4) คํานวณหาปริพันธของ f (γ ( t ) ) γ ′ ( t ) เทียบกับ t จาก a ถึง b พิจารณาตัวอยางตอไปนี้จะไดเขาใจวิธีการหาปริพันธเชิงซอนมากขึ้น ตัวอยางที่ 1.17 จงหาปริพันธของ f ( z ) = ( x 2 + y ) + i ( xy ) จากจุด a = ( 0, 0 ) ไปยังจุด b = (1,1) ตาม เสนทางปริพันธ C1 , C2 , และ C3 ที่แสดงในภาพที่ 1.6 วิธีทํา วิธีการหาปริพันธของฟงกชันเชิงซอน f ( z ) ตามเสนทางปริพันธตางๆ สามารถทําไดดังนี้ เสนทางที่ 1: กําหนดให C1 เปนสวนของเสนพาราโบลา y = x 2 ที่เชื่อมระหวางจุด a และ b ดังนั้นถาให x = t จะได y = t 2 และฟ ง ก ชั น เชิ ง ซ อ นของเส น โค ง C1 คื อ γ 1 ( t ) = t + it 2 (จาก z = x + iy ) สํ า หรั บ 0 ≤ t ≤ 1 เพราะฉะนั้น

(

) ( )

f ( γ 1 ( t ) ) = t 2 + t 2 + i t 2t = 2t 2 + it 3

จากสมการ (1.36) ปริพันธของ f ( z ) ตามเสนทาง C1 หาไดโดย ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

และ

γ 1′ ( t ) = 1 + 2ti

22

สั ญ ญาณและระบบ



C1

1

(

)

f ( z ) dz = ∫ 2t 2 + it 3 (1 + 2ti ) dt

SCILAB:

0

1

(

-->function y = f(t), y = 2*t^2 - ... -->2*t^4 + 5*t^3*%i, endfunction

)

= ∫ 2t 2 − 2t 4 + 5t 3i dt

-->y = intc(0, 1, f) y = 0.2666667 + 1.25i

0

4 5 + i 15 4

=

เสนทางที่ 2: กําหนดให C2 เปนสวนของเสนตรง y = x ที่เชื่อมระหวางจุด a และ b ดังนั้นถาให จะได y = t และฟงกชันเชิงซอนของเสนโคง C2 คือ γ 2 ( t ) = t + it เมื่อ 0 ≤ t ≤ 1 เพราะฉะนั้น

(

)

f ( γ 2 ( t ) ) = t 2 + t + i ( tt ) = t 2 + t + it 2

x=t

γ 2′ ( t ) = 1 + i

และ

จากสมการ (1.36) ปริพันธของ f ( z ) ตามเสนทาง C2 หาไดโดย



C2

1

(

)

SCILAB:

( (

2

-->function y = f(t), y = t + ... -->%i*(t + 2*t^2), endfunction

f ( z ) dz = ∫ t 2 + t + it 2 (1 + 2ti ) dt 0

1

= ∫ t + i t + 2t

) ) dt

-->y = intc(0, 1, f) y = 0.5 + 1.1666667i

0

=

1 7 + i 2 6

เสนทางที่ 3: กําหนดให C3 เปนเสนทางจากจุด a ไปยังจุด b ซึ่งประกอบไปดวยสวนของเสนตรง 2 สวน คือเสนตรง C31 เชื่อมตอจุด ( 0, 0 ) ไปยังจุด (1, 0 ) และเสนตรง C32 เชื่อมตอจุด (1, 0 ) ไปยังจุด (1,1) ดังนั้น ปริพันธของ f ( z ) ตามเสนทาง C3 มีคาเทากับผลรวมของปริพันธตามเสนทาง C31 และ C32 นั่นคือ f ( z ) dz + ∫

f ( z ) dz

สํ า หรั บ เส น ทาง C31 ถ า ให x = t และ y = 0 จะได ′ ( t ) = 1 จากสมการ (1.36) จะไดวา f ( γ 31 ( t ) ) = t 2 และ γ 31

γ 31 ( t ) = t



C3





f ( z ) dz = ∫

C31



C31

1

f ( z ) dz = ∫ 0

C32

t3 t (1) dt = 3

( )

1

=

2

t =0

1 3

(1.37) เมื่ อ

0 ≤ t ≤1

เพราะฉะนั้ น

(1.38)

สํ า หรั บ เส น ทาง C32 ถ า ให x = 1 และ y = t จะได γ 32 ( t ) = 1 + ti เมื่ อ 0 ≤ t ≤ 1 เพราะฉะนั้ น ′ ( t ) = i จากสมการ (1.36) จะไดวา f ( γ 32 ( t ) ) = (12 + t ) + i (1)( t ) = t + 1 + it และ γ 32

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

23 ∫

C32

1

f ( z ) dz = ∫ ( t + 1 + it )( i ) dt 0

1

1 3 = ∫ ( it + i − t ) dt = − + i 2 2 0

(1.39)

แทนคาสมการ (1.38) และ (1.39) ลงในสมการ (1.37) จะไดวาปริพันธของ f ( z ) ตามเสนทาง C3 มีคา เทากับ



C3

1 ⎛ 1 3 ⎞ 1 3 f ( z ) dz = + ⎜ − + i ⎟ = − + i 3 ⎝ 2 2 ⎠ 6 2

จากตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวาการหาปริพันธของฟงกชันเชิงซอน f ( z ) ตามเสนทางปริพันธที่แตกตางกัน จะทําใหไดผลลัพธที่ตางกันดวย จงแสดงวาปริพันธคอนทัวร ∫ C 1 dz = 2π i เมื่อ C เปนเสนรอบวงของวงกลมที่มีรัศมี z 1 หนวย และมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด ( 0, 0 ) ตัวอยางที่ 1.18

วิธีทํา เนื่ อ งจากเส น รอบวง 0 ≤ t ≤ 2π ซึ่งจะไดวา f (γ ( t ) ) =

สามารถแทนได ด ว ยฟ ง ก ชั น เชิ ง ซ อ น γ ( t ) = cos ( t ) + i sin ( t ) เมื่ อ

C

1 cos ( t ) + i sin ( t )

และ

γ ′ ( t ) = − sin ( t ) + i cos ( t )

ดังนั้น



C

f ( z ) dz =





0





∫ ⎜⎜ cos ( t ) + i sin ( t ) ⎟⎟ ( − sin ( t ) + i cos ( t ) ) dt 1



⎛ − sin ( t ) + i cos ( t ) ⎞ ⎛ cos ( t ) − i sin ( t ) ⎞ ∫0 ⎜⎜ cos ( t ) + i sin ( t ) ⎟⎟ ⎜⎜ cos ( t ) − i sin ( t ) ⎟⎟ dt ⎝ ⎠⎝ ⎠



=



=

∫ idt 0

= 2π i = 6.2831853i

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

SCILAB: -->function y = f(z), y = 1/z, ... -->endfunction -->y = clean(intl(0,2*%pi,0,1,f)) y = 6.2831853i

24

สั ญ ญาณและระบบ Im

γ (t )

C

r

z0

Re

ภาพที่ 1.7 เสนทางปริพันธในตัวอยางที่ 1.19

ตัวอยางที่ 1.19 จงหาคาของ ∫ C 1 n+1 dz เมื่อ n คือจํานวนเต็ม, z0 คือคาคงตัว, และ C เปนเสน ( z − z0 ) รอบวงของวงกลมที่มีรัศมีเทากับ r และมีจุดศูนยกลางอยูที่ z0 ดังแสดงในภาพที่ 1.7 วิธีทํา ฟงกชนั เชิงซอนของเสนโคง C หาไดจาก γ ( t ) − z0 = r ( cos ( t ) + i sin ( t ) )

สําหรับ 0 ≤ t ≤ 2π

(1.40)

จากความสัมพันธของออยเลอร eit = cos ( t ) + i sin ( t ) สมการ (1.40) สามารถเขียนไดเปน γ ( t ) = z0 + reit

(1.41)

ซึ่งจะไดวา f (γ ( t ) ) =

1

(z

0

+ reit − z0 )

n +1

=

1 r e

n +1 i ( n +1)t

และ γ ′ ( t ) = ireit เพราะฉะนั้น



C

f ( z ) dz =





∫ ⎜⎝ r

1 e

n +1 i ( n +1)t

0



=

i

∫re

n nti

⎞ it ⎟ ( ire ) dt ⎠

dt

0

=

โดยที่ถา n = 0 จะได ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

i rn



∫e 0

− nti

dt

(1.42)

25 2π

1 ∫C ( z − z0 ) dz = i ∫0 (1) dt = 2π i = 6.283i

SCILAB: -->function y = f(z,z0,n), ... -->y = 1/(z - z0)^n, endfunction

และถา n ≠ 0 จะได i ∫C ( z − z )n+1 dz = r n 0 1

i = n r

-->z0 = 2; -->r = 1;



∫ ( cos ( nt ) − i sin ( nt ) ) dt

-->n = 1;

0

-->y =clean(intl(0,2*%pi,z0,r,f)) y = 6.2831853i

2π ⎡ sin ( nt ) 2π cos ( nt ) ⎤ ⎢ ⎥ +i n ⎢⎣ n t =0 ⎥ t =0 ⎦

-->n = 3; -->y = lean(intl(0,2*%pi,z0,r,f)) y = 0

=0

ดังนั้นสรุปไดวา 1

∫ (z − z ) C

0

n +1

⎧2π i, n = 0 dz = ⎨ ⎩ 0, n ≠ 0

(1.43)

1.7.2 การหาปริพันธไมจํากัดเขตของฟงกชันวิเคราะห กําหนดใหฟงกชันจริง F ( x ) เปนปริพันธไมจํากัดเขตของฟงกชัน f ( x ) นั่นคือ F ( x ) = ∫ f ( x ) dx

(1.44)

ดังนั้นถากําหนดลิมิตของการหาปริพันธจาก a ไปหา b ใหกับสมการ (1.44) จะไดวา b

∫ f ( x ) dx = F ( x ) a

b a

= F (b ) − F ( a )

(1.45)

วิธีการนี้สามารถนํามาใชในการปริพันธของฟงกชันเชิงซอนไดเชนกันตามทฤษฎีบทตอไปนี้

ทฤษฎีบท การหาปริพันธแบบไมจํากัดเขตของฟงกชันวิเคราะห1 กําหนดใหฟงกชันเชิงซอน f ( z ) เปน “ฟงกชันวิเคราะห (analytic function)” [2] ภายในโดเมน D และมี ปริพันธไมจํากัดเขตของ f ( z ) คือ F ( z ) เกิดขึ้นภายในโดเมน D และตลอดทางเดินทั้งหมดที่เชื่อมระหวาง จุด z0 และจุด z1 ภายใน D ดังนั้น 1

ฟงกชันวิเคราะห f ( z ) คือฟงกชันที่สามารถหาอนุพันธไดสําหรับทุกคา

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

z

26

สั ญ ญาณและระบบ z1

∫ f ( z ) dz = ∫ f ( z ) dz = F ( z ) − F ( z ) 1

C

(1.46)

0

z0

สมการ (1.46) แสดงใหเห็นวาปริพันธของ f ( z ) สําหรับทุกเสนทางปริพันธจากจุด z0 ไปยังจุด z1 มีคาเทากัน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือผลลัพธจากการหาปริพันธของ f ( z ) จะไมขึ้นอยูกับเสนทางปริพันธ แตจะขึ้นกับจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของเสนทางปริพันธ ดังนั้นวิธีการหาปริพันธของฟงกชันวิเคราะห f ( z ) ใหทําตามขั้นตอนดังนี้ 1) หาฟงกชัน F ( z ) ที่มีอนุพันธเทากับ f ( z ) นั่นคือ F ′ ( z ) = f ( z ) 2) หาปริพันธของฟงกชันเชิงซอน f ( z ) ตามสมการ (1.46) พิจารณาตัวอยางตอไปนี้จะไดเขาใจการหาปริพันธแบบไมจํากัดเขตของฟงกชันวิเคราะห 2+i

ตัวอยางที่ 1.20 จงหาคาของ ∫

zdz

0

วิธีทํา เนื่องจากฟงกชัน f ( z ) = z เปนฟงกชันวิเคราะห เพราะวา f ′ ( z ) = 1 สําหรับทุกคา ปริพันธที่โจทยกําหนดจึงสามารถคํานวณหาไดโดยใชสมการ (1.46) จากสูตรการหาปริพันธ n ∫ u du =

ถากําหนดให c = 0 จะไดวา 2+i

∫ 0

z2 F ( z) = 2

z

ดังนั้นคา

u n +1 +c n +1

เพราะฉะนัน้

2+i

⎛ z2 ⎞ zdz = ⎜ ⎟ ⎝ 2 ⎠0

SCILAB:

(

1 2 = ( 2 + i ) − 02 2 3 = + 2i 2

)

-->function y=f(z), y=z, endfunction -->y = intc(0, 2+%i, f) y = 1.5 + 2.i

πi

ตัวอยางที่ 1.21 จงหาคาของ ∫ cos ( z ) dz −π i

วิธีทํา ในที่นี้ f ( z ) = cos ( z ) เปนฟงกชันวิเคราะห เพราะวา f ′ ( z ) = − sin ( z ) สําหรับทุกคา z ดังนั้น คาปริพันธที่โจทยกําหนดจึงสามารถคํานวณหาไดจากสมการ (1.46) นั่นคือ ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

27 3

Im

( 2, 3) C2

2

1

(1,1)

( 2,1)

C1 1

3

2

Re

ภาพที่ 1.8 เสนทางปริพันธในตัวอยางที่ 1.22 πi

∫π cos ( z ) dz = sin ( z )

− i

πi −π i

= sin (π i ) − sin ( −π i )

= 2sin (π i ) ⎛ e (π i ) i − e − (π i ) i ⎞ = 2⎜ ⎟ 2i ⎝ ⎠ ⎛ eπ − e −π ⎞ = 2i ⎜ ⎟ 2 ⎠ ⎝ = 2i sinh (π ) = 23.097i

∵ sin ( − x ) = − sin ( x ) SCILAB: -->function y = f(z), y = cos(z), ... -->endfunction -->y = intc(-%pi*%i, %pi*%i, f) y = 23.097479i

จงหาคาของ ∫C ( 3z 2 − iz ) dz เมื่อ C คือเสนทางปริพันธที่เชื่อมระหวางจุด (1,1) และ โดยวิธีการดังตอไปนี้

ตัวอยางที่ 1.22 (2,3)

ก) การหาปริพนั ธตามเสนทางปริพันธ C ในภาพที่ 1.8 ข) การหาปริพนั ธตามเสนทางปริพันธ C ที่กาํ หนดโดยสมการ

y = x2 − x + 1

ค) การหาปริพนั ธจํากัดเขต วิธีทํา ก) การหาปริพนั ธตามเสนทางปริพนั ธ C ในภาพที่ 1.8 เสนทางปริพันธในภาพที่ 1.8 ประกอบไปดวยสวนของเสนตรง 2 เสนที่เชื่อมตอกัน นั่นคือเสนตรง C1 ที่เชื่อมจุด (1,1) และ (2,1) และเสนตรง C2 ที่เชื่อมจุด (2,1) และ (2,3) •

เสนทาง C1 สามารถกําหนดไดดวยสมการ γ 1 ( t ) = t + i เมื่อ 1 ≤ t ≤ 2 และ γ 1′ ( t ) = 1 ดังนั้น

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

28

สั ญ ญาณและระบบ ∫ ( 3z

2

2

C1

{

}

2

− iz ) dz = ∫ 3 ( t + i ) − i ( t + i ) (1) dt = ∫ {3t 2 + 5it − 2} dt 2

1

1

2

2

2 ⎛ t3 ⎞ ⎛ t2 ⎞ = 3 ⎜ ⎟ + 5i ⎜ ⎟ − 2 ( t ) 1 ⎝ 3 ⎠1 ⎝ 2 ⎠1

SCILAB: -->function y = f(t), y = 3*t^2 + ... -->5*%i*t-2, endfunction

5 = ( 23 − 13 ) + i ( 22 − 12 ) − 2 ( 2 − 1) 2 = 5+ •

-->y = intc(1, 2, f) y = 5. + 7.5i

15 i 2

เสนทาง C2 ที่เชื่อมระหวางจุด (2,1) และ (2,3) สามารถกําหนดไดดวยสมการ γ 2 ( t ) = 2 + it เมื่อ 1 ≤ t ≤ 3 และ γ 2′ ( t ) = i เพราะฉะนั้น

∫ ( 3z C2

3

2

{

}

− iz ) dz = ∫ 3 ( 2 + it ) − i ( 2 + it ) ( i ) dt 2

SCILAB:

1

-->function y = f(t), y = ... -->-3*%i*t^2 + (%i - 12)*t + ... -->12*%i + 2, endfunction

3

= ∫ {−3it 2 + ( i − 12 ) t + 12i + 2} dt 1

3

3

3 ⎛t ⎞ ⎛t ⎞ = −3i ⎜ ⎟ + ( i − 12 ) ⎜ ⎟ + (12i + 2 )( t ) 1 ⎝ 3 ⎠1 ⎝ 2 ⎠1 3

2

-->y = intc(1, 3, f) y = - 44. + 2.i

⎛ i − 12 ⎞ 2 2 = −i ( 33 − 13 ) + ⎜ ⎟ ( 3 − 1 ) + (12i + 2 )( 3 − 1) ⎝ 2 ⎠ = −44 + 2i

ดังนั้นจะไดวา

∫ (z C

2

− iz ) dz = ∫

C1

(z

2

− iz ) dz + ∫

C2

(z

2

− iz ) dz

⎛ 15 ⎞ = ⎜ 5 + i ⎟ + ( −44 + 2i ) = −39 + 9.5i 2 ⎠ ⎝

ข) การหาปริพันธตามเสนทางปริพนั ธ เมื่อ C คือ ถาให

x=t

จะได

y = x2 − x + 1

y = t 2 − t + 1 ดังนั้นฟงกชันเชิงซอนของเสนโคง C

(

)

คือ

z = γ ( t ) = x + yi = t + t 2 − t + 1 i ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

29 สําหรับ 1 ≤ t ≤ 2 ดังนัน้ γ ′ ( t ) = 1 + ( 2t − 1) i และจาก f ( z ) = 3z 2 − iz จะไดวา

( (

))

( (

))

f ( z ) = f (γ ( t ) ) = 3 t + t 2 − t + 1 i − i t + t 2 − t + 1 i

(

2

) (

)

= −3t 4 + 6t 3 − 5t 2 + 5t − 2 + 6t 3 − 6t 2 + 5t i

จากสมการ (1.36) ปริพันธของ f ( z ) ตามเสนทาง C หาไดโดย 2

∫ f ( z ) dz = ∫ ⎣⎡( −3t C

1

2

4

) (

)

+ 6t 3 − 5t 2 + 5t − 2 + 6t 3 − 6t 2 + 5t i ⎦⎤ ⎡⎣1 + ( 2t − 1) i ⎤⎦ dt

(

)

2

(

)

= ∫ −15t 4 + 24t 3 − 21t 2 + 10t − 2 dt + i ∫ −6t 5 + 15t 4 − 10t 3 + 9t 2 − 4t + 2 dt 1

1

= −39 + 9.5i SCILAB:

(ตัวอยางที่ 1.22)

-->t = poly(0,'t'); -->fz = 3*(t+(t^2-t+1)*%i)^2 - %i*(t+(t^2-t+1)*%i) fz = real part 2 3 4 - 2 + 5t - 5t + 6t - 3t imaginary part 2 3 5t - 6t + 6t -->A = fz*(1+(2*t-1)*%i) A = real part 2 3 4 - 2 + 10t - 21t + 24t - 15t imaginary part 2 3 4 5 2 - 4t + 9t - 10t + 15t - 6t -->RealPart = integrate('-15*t^4+24*t^3-21*t^2+10*t-2', 't', 1, 2) RealPart = - 39. -->ImagePart = integrate('-6*t^5+15*t^4-10*t^3+9*t^2-4*t+2', 't', 1, 2) ImagePart = 9.5

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

30

สั ญ ญาณและระบบ

ค) การหาปริพนั ธจํากัดเขต การหาปริพันธจํากัดเขตของฟงกชันวิเคราะห f ( z ) ตามเสนทางจากจุด (1,1) ไปยังจุด ( 2,3) ทําไดโดยใช สมการ (1.46) เมื่อจุด (1,1) ก็คือคาขอบเขตลาง 1 + i และจุด ( 2,3) ก็คือคาขอบเขตบน 2 + 3i ดังนั้น

∫ ( 3z C

2

− iz ) dz =

2 + 3i

∫ ( 3z

2

SCILAB:

− iz ) dz

-->function y = f(z), y = ... -->3*z^2 - %i*z, endfunction

1+ i

2 + 3i

2 + 3i

⎛ z3 ⎞ ⎛ z2 ⎞ = 3⎜ ⎟ −i⎜ ⎟ ⎝ 3 ⎠ 1+i ⎝ 2 ⎠ 1+i =

{( 2 + 3i ) − (1 + i ) } − 2i {( 2 + 3i ) 3

3

-->y = intc(1+%i, 2+3*%i, f) y = - 39. + 9.5i 2

− (1 + i )

2

}

= −39 + 9.5i

จากผลลัพธที่ไดในขอ (ก) – (ค) พบวามีคาเทากัน ทั้งนี้เปนเพราะวา f ( z ) เปนฟงกชันวิเคราะห เนื่องจาก f ′ ( z ) = 6 z − i สําหรับทุกคา z ภายในบริเวณที่หาปริพันธ ดังนั้นตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวาผลลัพธจาก การหาปริพันธของฟงกชันวิเคราะหจะไมขึ้นอยูกับเสนทางปริพันธ แตจะขึ้นอยูกับจุดเริ่มตนและจุดสุดทาย ของการหาปริพันธ หมายเหตุ ฟงกชัน f ( z ) = ( x 2 + y ) + i ( xy ) ในตัวอยางที่ 1.17 ไมเปนฟงกชันวิเคราะหในชวง [0,1 + i ] [3] จึงทําใหผลลัพธที่ไดจากการหาปริพันธตามเสนทางปริพันธที่ไมเหมือนกันมีคาตางกัน

1.7.3 ทฤษฎีปริพันธของโคชี ถา f ( z ) เปนฟงกชันวิเคราะหภายในโดเมนเชื่อมโยงเชิงเดียว2 D ดังนั้นทฤษฎีปริพันธของโคชี (Cauchy’s integral theorem) [2] กลาววาสําหรับทางเดินปดเชิงเดียว3 C ทุกๆ แบบที่อยูภายในโดเมน D จะไดวา

∫ f ( z ) dz = 0 C

(1.47)

ตัวอยางที่ 1.23 กําหนดให f ( z ) = z 2 จงแสดงวา ∫ C z 2 dz = 0 เมื่อ C เปนเสนรอบรูปของสามเหลี่ยมที่มี ดานทั้งสามดานคือ C1 , C2 , และ C3 ตามภาพที่ 1.9 โดยใช โดเมน D จะเรียกวาเปนโดเมนเชื่อมโยงเชิงเดียว (simple connected domain) ถาทางเดินปดเชิงเดียวทุกรูปแบบที่อยูภายใน D ลอมรอบจุดตางๆ ของ D 3 เสนโคง C ถูกเรียกวาเปนทางเดินปดเชิงเดียว (simple closed curve) ถาเสนโคง C ไมตัดกันหรือสัมผัสกับตัวมันเอง 2

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

31 Im

C2

1

C3

C1 Re

2

ภาพที่ 1.9 เสนทางปริพันธในตัวอยางที่ 1.23

ก) วิธกี ารหาปริพันธตามเสนทางปริพันธ ข) ทฤษฎีของโคชี วิธีทํา ก) วิธีการหาปริพันธตามเสนทางปริพันธ จากโจทยจะไดวา



C

z 2 dz =



C1

z 2 dz +



C2

z 2 dz +



C3

z 2 dz

(1.48)

โดยที่เสนทาง C1 สามารถแทนไดดวยสมการ γ 1 ( t ) = 2t + it เมื่อ 0 ≤ t ≤ 1 และ γ 1′ ( t ) = 2 + i จากสมการ b

(1.36) นั่นคือ ∫C f ( z ) dz = ∫ f (γ ( t ) ) γ ′ ( t ) dt จะไดวา a

1

∫ f ( z ) dz = ∫ ( 2t + it ) ( 2 + i ) dt 2

C1

0

SCILAB:

1

= ∫ ( 2t + 11it ) dt 2

2

-->function y = f(t), y = ... -->2*t^2 + 11*%i*t^2, endfunction

0

1

-->y = intc(0, 1, f) y = 0.6666667 + 3.6666667i

⎛ t3 ⎞ = ( 2 + 11i ) ⎜ ⎟ ⎝ 3 ⎠0 =

2 11 + i = 0.667 + 3.667i 3 3

สําหรับเสนทาง C2 สามารถแทนไดดว ยสมการ γ 2 ( t ) = 2t + i เมื่อ 0 ≤ t ≤ 1 และ γ 2′ ( t ) = 2 ดังนั้น



C2

0

0

f ( z ) dz = ∫ ( 2t + i ) ( 2 ) dt = ∫ ( 8t 2 + 8ti − 2 ) dt

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

2

1

1

32

สั ญ ญาณและระบบ 0

0

0 ⎛ t3 ⎞ ⎛ t2 ⎞ = 8 ⎜ ⎟ + 8i ⎜ ⎟ − 2 ( t ) 1 ⎝ 3 ⎠1 ⎝ 2 ⎠1

=

8 ( 0 − 1) + 4i ( 0 − 1) − 2 ( 0 − 1) 3

2 = − − 4i = −0.667 − 4i 3

SCILAB: -->function y = f(t), y = ... -->8*t^2 + 8*%i*t - 2, endfunction -->y = intc(1, 0, f) y = - 0.6666667 - 4.i

และเสนทาง C3 สามารถแทนไดดวยสมการ γ 3 ( t ) = 0 + ti เมื่อ 0 ≤ t ≤ 1 และ γ 3′ ( t ) = i ดังนั้น



C3

0

0

f ( z ) dz = ∫ ( ti ) ( i ) dt = − ∫ t 2idt 2

1

SCILAB:

1

-->function y = f(t), y = ... -->-%i*t^2, endfunction

0

⎛t ⎞ = −i ⎜ ⎟ ⎝ 3 ⎠1 3

-->y = intc(1, 0, f) y = 0.3333333i

1 = i = 0.333i 3

เพราะฉะนั้นจากสมการ (1.48) จะไดวา



C

⎛ 2 11 ⎞ ⎛ 2 ⎞ ⎛1 ⎞ z 2 dz = ⎜ + i ⎟ + ⎜ − − 4i ⎟ + ⎜ i ⎟ = 0 ⎝3 3 ⎠ ⎝ 3 ⎠ ⎝3 ⎠

ข) ทฤษฎีของโคชี เนื่องจากฟงกชัน f ( z ) = z 2 เปนฟงกชันวิเคราะหที่สามารถหาอนุพันธไดทุกจุดบนระนาบเชิงซอน และ C = C1 + C2 + C3 เปนทางเดินปดเชิงเดียว ดังนั้นจากทฤษฎีปริพันธของโคชีจะไดวา



C

z 2 dz = 0

เชนเดียวกับคําตอบที่ไดในขอ (ก)

1.7.4 สูตรปริพันธของโคชี ถากําหนดให f ( z ) เปนฟงกชันวิเคราะหภายในโดเมนเชื่อมโยงเชิงเดียว D [2] ดังนั้นสําหรับจุด ภายใน D และมีทางเดินปดเชิงเดียว C ที่อยูภายใน D ลอมรอบอยู จะไดวา

∫ ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

C

f ( z) dz = ( 2π i ) f ( z0 ) z − z0

z0

ที่อยู

(1.49)

33 สูตรปริพันธของโคชีมีประโยชนมากในการหาคาปริพันธตางๆ นอกจากนี้ยังสามารถนํามาใชในการพิสูจน ตางๆ ได เชน การพิสูจนวาฟงกชันวิเคราะหมีอนุพันธทุกๆ อันดับหรือไม เปนตน ตัวอยางที่ 1.24 จงหาคาของ ∫C 12 dz เมื่อ z ( z − 1) และมีรัศมี 0.25 หนวย วิธีทํา เนื่องจาก f ( z ) =

1 z −1 2

เปนเสนรอบวงของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่

z=0

เปนฟงกชันวิเคราะหของทุกจุดภายในวงกลม C ที่มีจุดศูนยกลางที่

z=0

C

และมีรัศมี 0.25 หนวย ดังนัน้ จากสูตรปริพันธของโคชีจะไดวา



C

1 ⎛ 1 ⎞ ⎜ ⎟ dz = ( 2π i ) f ( 0 ) z − 0 ⎝ z2 −1 ⎠

SCILAB:

-->function y = f(z), ... -->y = 1/z/(z^2 - 1), endfunction

⎛ 1 ⎞ = 2π i ⎜ 2 ⎟ ⎝ 0 −1 ⎠

-->y = clean(intl(0,2*%pi,0,0.25,f)) y = - 6.2831853i

= −6.2832i

ตัวอยางที่ 1.25 จงหาคาของ ∫C g ( z ) dz = ∫ C z 2 + 1 dz ตามเสนทางทวนเข็มนาฬิการอบวงกลมรัศมีหนึ่ง z −1 หนวย และมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด 2

ก)

ข)

z =1

z = 0.5

ค)

ง)

z = −1 + 0.5i

z =i

ตามที่แสดงในภาพที่ 1.10 วิธีทํา จากโจทยพบวา g ( z ) = z 2 + 1 ไมเปนฟงกชันวิเคราะหทจี่ ุด 2

z −1

z = 1 และ z = −1

ก) เมื่อ C เปนเสนทางทวนเข็มนาฬิการอบวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ z = 1 เทานั้นที่อยูภายในวงกลมที่หาปริพันธ ดังนั้น g ( z) =

z2 +1 1 ⎛ z2 +1 ⎞ 1 f ( z) = ⎜ ⎟= 2 z −1 z −1 ⎝ z + 1 ⎠ z −1

จากสูตรปริพันธของโคชีจะไดวา

∫ ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

C

f ( z) ⎛ 12 + 1 ⎞ dz = ( 2π i ) f (1) = ( 2π i ) ⎜ ⎟ = 2π i = 6.2832i z −1 ⎝ 1+1 ⎠

z =1

แสดงวามีจุด

34

สั ญ ญาณและระบบ Im

i

−1

1

Re

ภาพที่ 1.10 เสนทางปริพันธแบบตางๆ ในตัวอยางที่ 1.25

ข) เมื่อ C เปนเสนทางทวนเข็มนาฬิการอบวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ z = 0.5 แสดงวามีจุด z = 1 เทานั้นที่อยูภายในวงกลมที่หาปริพันธ ดังนั้นการหาปริพันธจะมีลักษณะเหมือนกับขอ (ก) นั่นคือ



C

z2 +1 dz = z2 −1



C

⎛ 12 + 1 ⎞ 1 ⎛ z2 +1 ⎞ π dz i = 2 ( )⎜ ⎜ ⎟ ⎟ = 2π i = 6.2832i z −1 ⎝ z +1 ⎠ ⎝ 1+1 ⎠

ค) เมื่อ C เปนเสนทางทวนเข็มนาฬิการอบวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ มีจุด z = −1 เทานั้นที่อยูภายในวงกลมที่หาปริพันธ ดังนั้นจะไดวา g ( z) =

z = −1 + 0.5i

แสดงวา

z2 +1 1 ⎛ z2 +1 ⎞ 1 = f ( z) ⎜ ⎟= 2 z −1 z + 1 ⎝ z −1 ⎠ z + 1

จากสูตรปริพันธของโคชี



C

⎛ ( −1)2 + 1 ⎞ f ( z) dz = ( 2π i ) f ( −1) = ( 2π i ) ⎜ ⎟ = −2π i ⎜ ( −1) − 1 ⎟ z +1 ⎝ ⎠

ง) เมื่อ C เปนเสนทางทวนเข็มนาฬิการอบวงกลมรัศมี 1 หนวยที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ พบวาในกรณีนี้ฟงกชัน

g ( z) =

z2 +1 z2 −1

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

C

จากภาพที่ 1.10

เปนฟงกชันวิเคราะหของทุกจุดภายในวงกลม ดังนั้นจากทฤษฎี

ปริพันธของโคชีจะไดวา



z =i

f ( z ) dz =



C

z2 +1 dz = 0 z2 −1

35 SCILAB:

(ตัวอยาง 1.25)

-->function y = f(z), y = (z^2 + 1)/(z^2 - 1), endfunction

//สําหรับขอ (ก)

-->y1 = clean(intl(0, 2*%pi, 1, 1, f)) y1

= 6.2831853i

//สําหรับขอ (ข)

-->y2 = clean(intl(0, 2*%pi, 0.5, 1, f)) y2

= 6.2831853i

//สําหรับขอ (ค)

-->y3 = clean(intl(0, 2*%pi, -1 + 0.5*%i, 1, f)) y3 = - 6.2831853i

//สําหรับขอ (ง)

-->y4 = clean(intl(0, 2*%pi, %i, 1, f)) y4

= 0

1.7.5 อนุพันธของฟงกชันวิเคราะห ในบางครั้งฟงกชันจริงที่สามารถหาอนุพันธอันดับหนึ่งได อาจไมสามารถหาอนุพันธอันดับสูงได อยางไรก็ตาม สําหรับฟงกชันเชิงซอนแลว ถาฟงกชันเชิงซอนใดสามารถหาอนุพันธอันดับหนึ่งภายในโดเมน D ได ฟงกชัน เชิงซอนนั้นก็จะยังคงสามารถหาอนุพันธทุกๆ อันดับภายใน D ได ถา f ( z ) เปนฟงกชันวิเคราะหภายในโดเมน D แลว f ( z ) จะมีอนุพันธไดทุกๆ อันดับภายใน D โดยที่อนุพันธอันดับ n ณ จุด z0 ซึ่งอยูภายใน D สามารถหาไดจาก [2] f ( n ) ( z0 ) =

เมื่อ C เปนทางเดินปดเชิงเดียวที่อยูภ ายใน

D

n! 2π i

f ( z)

∫ (z − z ) C

n +1

0

และลอมรอบจุด

z0

z

e ตัวอยางที่ 1.26 จงหาคาของ ∫C g ( z ) dz = ∫ C 2 ( z − 1) z 2 + 4

(

z=0

และมีรัศมี 1.5 หนวย

วิธีทํา

เนื่องจาก g ( z ) =

วงกลม C

ez

)

dz

เมื่อ C คือวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่

ไมเปนฟงกชันวิเคราะหที่จุด 2 ( z − 1) ( z 2 + 4 ) จะมีเพียงจุด z = 1 เทานั้นที่อยูภายในวงกลมที่หาปริพันธ ดังนั้น

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

(1.50)

dz

z =1

และ

z = ±2i

เพราะวา

36

สั ญ ญาณและระบบ ez

ez 1 g ( z) = = = f ( z) 2 2 2 2 2 ( z − 1) ( z + 4 ) ( z − 1) ( z + 4 ) ( z − 1) 1

จากสูตรอนุพนั ธของฟงกชนั วิเคราะห (สําหรับ n = 1 ) ในสมการ (1.50) จะไดวา 1 2π i ∫ ( z − 1) f ( z ) dz = 1! f ′ (1)

(1.51)

2 z z d ⎛ e z ⎞ ( z + 4 ) e − e ( 2 z ) z 2 e z + 4e z − 2 ze z f ′( z) = ⎜ 2 = ⎟= 2 2 dz ⎝ z + 4 ⎠ ( z2 + 4) ( z 2 + 4)

(1.52)

2

C

โดยที่

f ′( z)

แทนคา

มีคาเทากับ

z = 1 ลงในสมการ (1.52) จะได f ′ (1)

แทนคา

f ′ (1)

(1) =

2

SCILAB:

e1 + 4e1 − 2 (1) e1

(1

2

+ 4)

3e = 25

2

-->function y = f(z), y = ... -->exp(z)/(z-1)^2/(z^2+4), ... -->endfunction -->y = clean(intl(0,2*%pi,0,1.5,f)) y = 2.0495362i

ลงในสมการ (1.51) จะได

1 ez 2π i ⎛ 3e ⎞ 6π ei ∫C ( z − 1)2 ( z 2 + 4 ) dz = 1! ⎜⎝ 25 ⎟⎠ = 25 = 2.05i

e2 z

ตัวอยางที่ 1.27 จงหาคา ∫C dz เมื่อ C คือวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ 3 ( z + 1) วิธีทํา เนื่องจาก f ( z ) = e2 z เปนฟงกชันวิเคราะหภายใน C และจุด สูตรอนุพันธของฟงกชันวิเคราะหจะได 1

∫ (z − z ) C

n +1

0

เมื่อ

z0 = −1 , n = 2 , และ f ′′ ( z ) = 4e 2 z e2 z

∫ ( z + 1) C

3

2π i f ( z ) dz = f ′′ ( −1) 2! =

2π i 4e 2( −1) 2!

(

= 1.7007i

ผศ.ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน

)

f ( z ) dz =

z = −1

z=0

และมีรัศมี 3 หนวย

เปนจุดที่อยูภายใน C จาก

2π i ( n ) f ( z0 ) n!

ดังนั้น SCILAB: -->function y = f(z), y = ... -->exp(2*z)/(z+1)^3, endfunction -->y = clean(intl(0, 2*%pi, 0, 3, f)) y = 1.7006733i